SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
ชุดความรู้ การบริหารจัดการโซ่
อุปทานอย่างบูรณาการ
ชุดความรู้ “การบริหารจัดการโซ่อุปทานอย่างบูรณาการ”
ชุดความรู้ดังกล่าวได้มาจากแนวคิดและกระบวนการทํางานในการเชื่อมโยงเครือข่าย
คุณค่าของชุดโครงการ และนํามาประยุกต์กับแนวคิดการบริหารจัดการโซ่อุปทานเชิงบูรณาการ
(Integrated Supply Chain Management) ของ Donald J. Bowersox David J. Class และ M.
Bixby Cooper, 2007 โดยจะแบ่งเป็นขั้นตอนการดําเนินการ เป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่
1) การวางกรอบทิศทางของเครือข่ายโดยส่วนใหญ่จะใช้กระบวนการเทคนิคการประชุม
ระดมความคิดเพื่อสร้างอนาคตร่วมกัน (Future Search Conference: F.S.C.) เทคนิคเชิง
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม (Appreciation influence Control: AIC) เทคนิคการประเมิน
สถานการณ์แบบมีส่วนร่วม (Participatory Rapid Appraisal: PRA) และการจัดทําแผนที่กลยุทธ์
(Strategy Map) ภายใต้การสนับสนุนของทีมประสานงานกลา
2) การขับเคลื่อนแผนงานของภาคีเครือข่าย
การขับเคลื่อนแผนงานของภาคีเครือข่ายจะใช้กลไกของคณะกรรมการบริหาร
เครือข่ายตามรูปแบบองค์กรเครือข่ายที่ออกแบบตามโมเดลของการบูรณาการโซ่อุปทาน (The
Integrated Supply Chain Framework) ของ Donald J. Bowersox and other (2007) ซึ่งเป็น
ลักษณะของการเชื่อมโยงพันธมิตรทางธุรกิจเข้าสู่รูปแบบของความร่วมมือของธุรกิจต่างๆ ภายใต้โซ่
อุปทาน บริบทดังกล่าวจะก่อให้เกิดเป็นโครงสร้างของโมเดลการจัดการธุรกิจของโซ่อุปทาน ซึ่งเป็น
ผลลัพธ์ของกลยุทธ์ความร่วมมือ (Cooperative Strategy) ที่จะส่งผลต่อศักยภาพการทําธุรกิจเพื่อนํา
สินค้าจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค
คุณค่าที่เกิดจากการผนึกกําลังระหว่างพันธมิตรธุรกิจ (Strategy partners) ภายใต้โซ่
อุปทานดังกล่าวจะประกอบไปด้วยความร่วมมือในเรื่องข้อมูลข่าวสาร ผลิตภัณฑ์ บริการ การเงิน
นวัตกรรม / ความรู้ โดยพันธมิตรธุรกิจจะร่วมมือกันในการดําเนินกิจกรรมจากกระบวนการในระดับต้น
น้ํา กลางน้ํา สู่ปลายน้ํา เพื่อลําเลียงผลิตภัณฑ์และบริการพร้อมๆ กับการสร้างคุณค่า และมูลค่าเพิ่ม
ให้กับผลิตภัณฑ์และบริการไปด้วยในตัวด้วยวิธีนี้ จึงคล้ายกับเป็นการสร้างกระบวนการร่วมมือกัน
ภายใต้โซ่อุปทาน (Supply Chain Collaboration)

Contenu connexe

Plus de ThailandCoop

การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองการปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองThailandCoop
 
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่ThailandCoop
 
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ThailandCoop
 
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ThailandCoop
 
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shopนวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shopThailandCoop
 
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพนวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพThailandCoop
 
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรมนวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรมThailandCoop
 
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพรานนวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพรานThailandCoop
 
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่าชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่าThailandCoop
 

Plus de ThailandCoop (10)

Farmers market
Farmers marketFarmers market
Farmers market
 
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองการปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
 
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
 
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
 
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
 
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shopนวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
 
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพนวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
 
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรมนวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
 
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพรานนวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
 
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่าชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
 

ชุดความรู้ การบริหารจัดการโซ่อุปทานอย่างบูรณาการ

  • 2. ชุดความรู้ “การบริหารจัดการโซ่อุปทานอย่างบูรณาการ” ชุดความรู้ดังกล่าวได้มาจากแนวคิดและกระบวนการทํางานในการเชื่อมโยงเครือข่าย คุณค่าของชุดโครงการ และนํามาประยุกต์กับแนวคิดการบริหารจัดการโซ่อุปทานเชิงบูรณาการ (Integrated Supply Chain Management) ของ Donald J. Bowersox David J. Class และ M. Bixby Cooper, 2007 โดยจะแบ่งเป็นขั้นตอนการดําเนินการ เป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การวางกรอบทิศทางของเครือข่ายโดยส่วนใหญ่จะใช้กระบวนการเทคนิคการประชุม ระดมความคิดเพื่อสร้างอนาคตร่วมกัน (Future Search Conference: F.S.C.) เทคนิคเชิง กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม (Appreciation influence Control: AIC) เทคนิคการประเมิน สถานการณ์แบบมีส่วนร่วม (Participatory Rapid Appraisal: PRA) และการจัดทําแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) ภายใต้การสนับสนุนของทีมประสานงานกลา 2) การขับเคลื่อนแผนงานของภาคีเครือข่าย การขับเคลื่อนแผนงานของภาคีเครือข่ายจะใช้กลไกของคณะกรรมการบริหาร เครือข่ายตามรูปแบบองค์กรเครือข่ายที่ออกแบบตามโมเดลของการบูรณาการโซ่อุปทาน (The Integrated Supply Chain Framework) ของ Donald J. Bowersox and other (2007) ซึ่งเป็น ลักษณะของการเชื่อมโยงพันธมิตรทางธุรกิจเข้าสู่รูปแบบของความร่วมมือของธุรกิจต่างๆ ภายใต้โซ่ อุปทาน บริบทดังกล่าวจะก่อให้เกิดเป็นโครงสร้างของโมเดลการจัดการธุรกิจของโซ่อุปทาน ซึ่งเป็น ผลลัพธ์ของกลยุทธ์ความร่วมมือ (Cooperative Strategy) ที่จะส่งผลต่อศักยภาพการทําธุรกิจเพื่อนํา สินค้าจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค คุณค่าที่เกิดจากการผนึกกําลังระหว่างพันธมิตรธุรกิจ (Strategy partners) ภายใต้โซ่ อุปทานดังกล่าวจะประกอบไปด้วยความร่วมมือในเรื่องข้อมูลข่าวสาร ผลิตภัณฑ์ บริการ การเงิน นวัตกรรม / ความรู้ โดยพันธมิตรธุรกิจจะร่วมมือกันในการดําเนินกิจกรรมจากกระบวนการในระดับต้น น้ํา กลางน้ํา สู่ปลายน้ํา เพื่อลําเลียงผลิตภัณฑ์และบริการพร้อมๆ กับการสร้างคุณค่า และมูลค่าเพิ่ม ให้กับผลิตภัณฑ์และบริการไปด้วยในตัวด้วยวิธีนี้ จึงคล้ายกับเป็นการสร้างกระบวนการร่วมมือกัน ภายใต้โซ่อุปทาน (Supply Chain Collaboration)