SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
การออกกาลังกายเพื่อการบาบัดรักษา
Therapeutic Exercise
อาจารย์ ดร.ธนากร ธนวัฒน์
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การออกกาลังกายเพื่อการบาบัดรักษา
• หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกายตามรูปแบบที่กาหนดเพื่อการบาบัดรักษา
ความผิดปกติด้านสรีรวิทยา (Impairment)
• เพิ่มสมรรถภาพของร่างกายให้ดีขึ้น
• ป
้ องกันการเกิดโรคและภาวะทุพพลภาพ
2
Exercise prescription
หลักการ FITT
F=frequency
I= intensity
T= Time
T = Type
3
In normal person
กิจกรรมที่จะตัดสินใจว่าร่างกาย
exercise แล้ว ???
 ถูบ้าน ล้างรถ รดน้าต้นไม้ เดินไปซื้อกับข้าว
 กิจวัตรประจาวัน (activities in daily life)
4
Heart rate (HR) คือ..................................
ค่าปกติ............................ครั้ง/นาที
maximal HR (HRmax) คือ...........................
สูตร....................................................
Target HR (THR) คือ.................................
โดยปกติอยู่ในช่วง......%-……..% ของ HRmax
หลักการพิจารณา !!!
ข้อห้ามทั่วไปสาหรับการออกกาลังกาย
• ภาวะความดันโลหิตสูงที่ยังไม่ได้รับการควบคุมโดยมีระดับ SBP>200
mmHg หรือ DBP >110 mmHg
• ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะทั้งแบบ Tachyarrhythmia และ Bradyarrthymia
• Unstable angina ที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัยหรือรักษา
• กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (ภายใน 2 วัน)
• ภาวะมีลิ่มเลือดอุดตันในเส้นเลือด
5
Exercise prescription for rehabilitation
• ประเภท (Mode)
• ความหนักเบา (Intensity)
• ระยะเวลา (Duration)
• ความถี่ (Frequency)
• การเพิ่มระดับของการออกกาลังกาย (Rate of progression)
• ข้อควรระวัง (Precaution)
6
นอกจากนี้จาเป
็ นต้องพิจารณาถึง
สุขภาพเบื้องต้น ความเสี่ยงต่อหัวใจ
เป
้ าหมายในการออกกาลังกาย
ความชอบส่วนบุคคล
ประเภทของการออกกาลังกายเพื่อการบาบัดรักษา
1.การออกกาลังกายเพื่อคงหรือเพิ่มพิสัยของข้อ
(Range of Motion exercise)
2.การออกกาลังกายเพื่อความแข็งแรง (Strengthening exercise)
3.การออกกาลังกายเพื่อความคงทนในการใช้ออกซิเจน
(Aerobic exercise)
4.การออกกาลังกายเพื่อการประสานงานของกล้ามเนื้อ
(Co-ordination exercise)
5.การออกกาลังกายเพื่อฝึกการทรงตัว (Balance Training)
6.การออกกาลังกายเพื่อการผ่อนคลาย (Relaxation exercise)
7
การออกกาลังกายเพื่อคงหรือเพิ่มพิสัยของข้อ
[Range of motion (ROM) exercise]
• พิสัยของข้อ (ROM exercise) มีความสาคัญต่อการดาเนินกิจวัตร
ประจาวัน ภาวะข้อติด (joint contracture) รบกวนการดาเนิน
กิจกรรมดังกล่าวและเสียพลังงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ภาวะข้อติดยังทา
ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ดังนี้ เกิดแผลกดทับ (pressure sore)
ในบริเวณที่มี bony prominence การเกิดแรงกระทาต่อข้อที่ผิดไป
จากเดิมทาให้ข้อเสื่อม
8
ปัจจัยที่มีผลต่อพิสัยของข้อ
• เนื้อเยื่อรอบข้อ ได้แก่ กล้ามเนื้อ ผิวหนัง เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เยื่อหุ้มข้อ
• ปัจจัยที่ทาให้พิสัยของข้อลดลง ได้แก่ กล้ามเนื้อที่มีความยาวลดลง
จากภาวะขาดการเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อที่มีการเกร็งตัวเพิ่มมากกว่า
ปกติ (spasticity) แผลเป
็ นบริเวณผิวหนังรอบข้อซึ่งขาดความ
ยืดหยุ่น กระดูกที่ผิดรูป
• ปัจจัยที่ทาให้พิสัยของข้อเพิ่มขึ้น ได้แก่ อุณหภูมิของเนื้อเยื่อรอบข้อที่
สูงขึ้นจะเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับข้อ
• อายุและเพศ คนอายุน้อยจะมีพิสัยข้อมากกว่าผู้สูงอายุ
ผู้หญิงจะมีพิสัยข้อมากกว่าเพศชาย
9
ข้อบ่งชี้ในการออกกาลังกายเพื่อคงหรือเพิ่มพิสัยของข้อ
• ภาวะอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ ทาให้เกิดภาวะขาดการ
เคลื่อนไหวของข้อ
• พิสัยของข้อจากัด
• กล้ามเนื้อขาดความยืดหยุ่น
• กลุ่มเป
้ าหมาย: ผู้สูงอายุ คนไข้ใส่เฝือกกระดูกหัก ผู้ป
่ วย
อัมพาต
10
ข้อห้ามในการออกกาลังกายเพื่อคงหรือเพิ่มพิสัยของข้อ
• หลังจากกระดูกหักใหม่ๆ ทาให้ alignment ของกระดูกเปลี่ยนไป
• บริเวณข้อที่จะดัดมีการอักเสบหรือมีการติดเชื้อ
• มีก้อนเลือด (Hematoma)
11
หลักการการออกกาลังเพื่อเพิ่มพิสัยของข้อ
• ความถี่หากต้องการออกกาลังเพื่อคงสภาพข้อ แนะนาว่าควรทาอย่าง
น้อยข้อละ 3 ครั้ง วันละ 2 เวลา (เช้า-เย็น) แต่หากต้องการเพิ่มพิสัย
ของข้อ ควรทาบ่อยๆ โดยยึดหลักทาแต่ละครั้งควรยืดอย่างช้าๆและ
นานๆ เพื่อป
้ องกันเนื้อเยื่อเจ็บจากการเพิ่มพิสัยของข้อ
12
วิธีการออกกาลังกายเพื่อคงหรือเพิ่มพิสัยของข้อ
• Passive Range of Motion exercise (PROM exercise) เป็นการ
เคลื่อนไหวของข ้อ โดยอาศัยแรงจากภายนอกซึ่งมาจากผู้บาบัดหรือเครื่องมือ
• Active Assistive Range of Motion exercise (AAROM exercise)
เป็นการเคลื่อนไหวของข ้อ โดยอาศัยอาศัยแรงจากภายนอกซึ่งมาจากผู้บาบัด
หรือเครื่องมือมาช่วยเหลือผู้ป่ วยให ้เคลื่อนไหวจนครบพิสัยข ้อ โดยผู้ป่ วยยังมี
ความสามารถในการขยับข ้อได ้บ ้างแต่ไม่ครบพิสัย
13
PROM
AAROM
วิธีการออกกาลังกายเพื่อคงหรือเพิ่มพิสัยของข้อ (ต่อ)
• Active Range of Motion exercise (AROM exercise) เป็นการเคลื่อนไหวของ
ข ้อที่ผู้ป่ วยทาได ้ตลอดพิสัยของข ้อ มักใช ้เพื่อการออกกาลังเพื่อคงพิสัยข ้อ
• Passive Stretching Range of Motion exercise; PSROM (การดัดยืด
ค้าง) เป็นการเคลื่อนไหวของข ้อโดยอาศัยแรงจากภายนอกซึ่งมาจากผู้บาบัดช่วยดัดหรือ
ยืดเพื่อเพิ่มพิสัยของข ้อซึ่งมักใช ้ในกรณีข ้อติด
14
PSROM
AROM
การออกกาลังกายเพื่อความแข็งแรง
(Strengthening exercise)
• การออกกาลังกายเพื่อความแข็งแรง
มีความสาคัญในการคงความสามารถในการทางานของกล ้ามเนื้อใช ้การ
ประกอบกิจกรรมประจาวัน ป้องกันและฟื้นสภาพจากการบาดเจ็บ และเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการเล่นกีฬา
• ภาวะที่มีทาให้กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเสื่อมถอยลง
ได ้แก่ อายุที่เพิ่มขึ้น , การบาดเจ็บและความเจ็บป่ วย
15
การออกกาลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงแบ่งออกเป
็ น 3 วิธี
 lsometric exercise เป
็ นการออกกาลังกายเพื่อความแข็งแรงโดยไม่มีการ
เคลื่อนไหวของข้อเหมาะสาหรับการเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ
ภายหลังการบาดเจ็บ หรือขณะที่ผู้ป
่ วยไม่สามารถเคลื่อนไหวได้มาก
 lsotonic exercise เป
็ นการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อต้านน้าหนักที่คงที่
ตลอดพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อโดยแรงต้านอาจมาจากแรงโน้มถ่วง แรงที่ผู้
บาบัดออกแรงต้าน
 lsokinetic exercise เป
็ นการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อโดยมีองศาการ
เคลื่อนไหวคงที่
16
วิธีการออกกาลังกายเพิ่มความแข็งแรง
 ความหนักเบาของการออกกาลังกายเพื่อความแข็งแรง กาหนดได ้จาก
น้าหนักที่ใช ้ในการฝึก จานวนครั้งที่มีการเคลื่อนไหว หรือความเร็วในการ
เคลื่อนไหว การฝึกเพื่อความแข็งแรง ได ้แก่
Progressive Resistance Exercise (PRE) มี 2 เทคนิค
 DeLorme Technique เป็นการเพิ่มความหนักของการฝึกโดยการค่อยๆ
เพิ่มน้าหนักที่ยกโดยใช ้10 – RM แต่โปรแกรมการฝึกที่นิยมใช ้กันคือ เริ่มต ้น
ที่ร ้อยละ 50 ของ 10 ROM และ เพิ่มขึ้นเป็นร ้อยละ 75 และร ้อยละ 100 ของ
10 RM ตามลาดับ
 Oxford Technique เป็นการเพิ่มความหนักของการฝึกในทางตรงข ้าม
โดยเริ่มจากร ้อยละ 100 ของ 10-RM ก่อนแล ้วค่อยลดน้าหนักลง
17
การออกกาลังกายเพื่อความคงทนในการใช้ออกซิเจน
(Aerobic exercise)
• การออกกาลังแบบแอโรบิก เป็ นการออกกาลังด ้วยกล ้ามเนื้อมัดใหญ่ เป็ น
จังหวะต่อเนื่องกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เหตุที่ต ้องเป็ นกล ้ามเนื้อมัดใหญ่
เนื่องจากทาให ้เกิดการตอบสนองทางสรีรวิทยาของระบบหัวใจและหลอด
เลือดได ้มากกว่าการใช ้กล ้ามเนื้อมัดเล็กอันนาไปสู่การเกิดการปรับตัวของ
ร่างกายตามมา
18
ความสาคัญของการออกกาลังแบบแอโรบิก
• การเผาผลาญพลังงานมากกว่า 1,000 Kcal / สัปดาห์ จะลดอัตราการเสียชีวิตได้ถึงร้อยละ
20
 ประโยชน์ของการออกกาลังแบบแอโรบิก
 ป
้ องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
 ป
้ องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
 ควบคุมระดับความดันโลหิต งานวิจัยยืนยันว่าการออกกาลังแบบแอโรบิกสามารถลด SBP
และ DBP ได้ 7 และ 6 mmHg ตามลาดับ ในผู้ป
่ วย HT
และลด BP ทั้ง SBP และ DBP ได้ 3 และ 2 mmHg ตามลาดับ ในคนปกติ
 ควบคุมระดับไขมันในเลือด การออกกาลังแบบแอโรบิกสามารถลด Triglycerides และ
เพิ่ม high – density, Lipoprotein (HDL), Cholesterol
 ควบคุมน้าหนักตัว
19
ความสาคัญของการออกกาลังแบบแอโรบิก (ต่อ)
 ป
้ องกันการเกิดโรค type || Diabetes Mellitus (DM) โดยเพิ่มความไวต่อ insulin
และควบคุมระดับน้าตาลในเลือด มีการศึกษาพบว่าการออกกาลังกายในความหนักระดับ
ปานกลางถึงหนัก นานมากกว่า 40 นาทีต่อสัปดาห์จะลดอุบัติการณ์การเกิด type ||
DM ขณะที่การออกกาลังในความหนักระดับต่าจะไม่ลด
 เพิ่มคุณภาพชีวิต
 คงความหนาแน่นของกระดูก
 เพิ่มประสิทธิภาพการทางานของ endothelia เพิ่มการไหลเวียนของโลหิตไปที่หัวใจ15
 ทาให้หลับสบาย
 ลดความเสี่ยงต่อการเป
็ นมะเร็ง
20
การออกกาลังเพื่อฝึกการทางานประสานกันของกล้ามเนื้อ
(Co-ordination exercise)
• ต้องอาศัยการทางานประสานกัน 3 ระดับ คือ สมอง กลุ่มกล้ามเนื้อ และระดับ motor unit
• หลักการฝึก --- เริ่มตั้งแต่การฝึกกล้ามเนื้อแต่ละมัด เรียกว่า --- muscle re-education
เป
็ นการฝึกในระยะแรก
เมื่อทาได้ดีแล้วจึงทาการฝึกต่อในขั้นถัดไป คือ --- neuromuscular coordination
• กลุ่มเป
้ าหมาย: ผู้สูงวัย ผู้ป
่ วยทางระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลายบกพร่อง
21
การออกกาลังกายเพื่อการผ่อนคลาย
(Relaxation exercise)
• ใช้ในรายที่มีอารมณ์ตึงเครียด หรือมีการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อเพื่อลดอาการปวด
• หลักการ ต้องจัดให้ผู้ป
่ วยอยู่ในภาวะที่สบายและผ่อนคลายที่สุด จัดสิ่งแวดล้อมให้
เหมาะสมกับการพัก ไม่มีสิ่งรบกวนหรือกระตุ้น
• สอนให้เรียนรู้การผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่ตึงแข็ง และให้ทราบความรู้สึกที่แตกต่างกัน
ระหว่าง ความตึงเครียดกับการผ่อนคลาย การกาหนดลมหายใจเข้า-ออก ทาซ้าหลายๆ
ครั้ง จนผู้ป
่ วยสามารถผ่อนคลายกล้ามเนื้อได้เต็มที่ และสามารถบังคับได้แม้ในภาวะ
แวดล้อมที่ต่างกันออกไป
• กลุ่มเป
้ าหมาย: ผู้ป
่ วยวิตกกังวล ผู้ป
่ วยก่อนและหลังผ่าตัดต่างๆ หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป
่ วย
กลุ่มปวดต่างๆ
22
ปัญหาและภาวะแทรกซ้อนจากการออกกาลังกาย
• อาการปวดกล้ามเนื้อ (Fatigue) เกิดจากการคั่งของกรด lactic ซึ่งเกิดในช่วง
ออกกาลังกายและมักเป
็ นการออกกาลังแบบเพิ่มความแข็งแรง อาการจะบรรเทา
ลงเมื่อหยุดออกกาลังกายหรือมีเลือดกลับมาเลี้ยง
• อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อระยะหลัง (Delayed Onset Muscle Soreness
หรือ DOMS) เกิดจากการออกกาลังกายที่ไม่คุ้นเคย หรือเป
็ นการออกกาลังกาย
แบบ eccentric มักเกิดภายหลังออกกาลังกาย 8-24 ชั่วโมง อาการปวดจะ
ค่อยๆ ลดลงภายใน 7-10 วัน
• อาการตะคริว (Cramp) เกิดจากภาวะขาดน้า เกลือแร่ มักเกิดในขณะออกกาลัง
กาย หรือภายหลังการออกกาลังกายแบบเกร็งตัวทั้งมัดในขณะกล้ามเนื้อหดตัว
ช่วงเวลาอาการปวดอาจเป
็ นระยะเวลาสั้นๆ ตั้งแต่ไม่กี่วินาทีจนถึงหลายนาที
23
ปัญหาและภาวะแทรกซ้อนจากการออกกาลังกาย
• กล้ามเนื้อบาดเจ็บ (muscle strain) มักเกิดจากการออกกาลังเพื่อเพิ่มความ
แข็งแรง จะมีความปวดรุนแรงมากกว่า ระยะเวลาเป
็ นนานกว่า DOMS กล้ามเนื้อ
ที่มีอาการจะมีความตึงตัวเพิ่มขึ้นและพิสัยของข้อในบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บอาจจะ
ลดลง
– อาการปวดที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะสาเหตุจาก DOMS หรือกล้ามเนื้อบาดเจ็บนั้น
สามารถบรรเทาได้ด้วยการประคบเย็นภายใน 48 ชั่วโมง หลังการออกกาลัง
กาย
– การใช้ยากลุ่ม analgesic หรือ Non – Steroidal หรือ Anit –
inflammatory Drugs (NSAIDs)
– ควรลดระดับความหนักของการออกกาลังลง
– แนะนาให้พักการออกกาลังในกล้ามเนื้อมัดนั้นในกรณีที่เกิดการบาดเจ็บมาก
24
อันตรายจากการออกกาลังกายที่สาคัญ
เช่น หัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน กล้ามเนื้อหัวใจตาย และการบาดเจ็บของกระดูกข้อ
ต่อกล้ามเนื้อ
โดยมีปัจจัยสาคัญที่เกี่ยวข้อง 3 อย่าง คือ อายุ โรคหัวใจ และความหนักของการ
ออกกาลังกาย
25
งานมอบหมาย
1. ให้ นศ. เลือกและทดลองใช้ Health
application ใน smartphone อย่างน้อย 1
applications
- ชื่อ application / ประโยชน์ / การเข้าใช้
งานที่เป็ นขั้นตอน / การอ่านผล
2. จดบันทึกข้อมูลด้านสุขภาพที่เกิดจากเรานา
application นั้น ไปใช้จริง โดยทาเป็ นตารางใน
แต่ละวัน 26
Thank you
27

Contenu connexe

Tendances

3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายพัน พัน
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)Sureerut Physiotherapist
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่Gear Tanatchaporn
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยการเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 

Tendances (20)

3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยการเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
 

Similaire à 2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt

Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeAphisit Aunbusdumberdor
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิชCAPD AngThong
 
ความสำคัญของการออกกำลังกาย
ความสำคัญของการออกกำลังกายความสำคัญของการออกกำลังกาย
ความสำคัญของการออกกำลังกายnatdanai02112535
 
เอกสารประกอบ ใบความรู้
เอกสารประกอบ  ใบความรู้เอกสารประกอบ  ใบความรู้
เอกสารประกอบ ใบความรู้Natee Kongprapan
 
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)sarawu5
 
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3Zax Chatdanai
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพSurapee Sookpong
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพjewzaza
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ jewzaza
 
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกjyotismo
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพThiti Wongpong
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 sspravina Chayopan
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธีเอิท. เอิท
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAgingThunyaluck
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAgingThunyaluck
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพpenpun
 
_____________-1.pdf
_____________-1.pdf_____________-1.pdf
_____________-1.pdf609181
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้Press Trade
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายNett Parachai
 
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"Junee Sara
 

Similaire à 2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt (20)

Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
ความสำคัญของการออกกำลังกาย
ความสำคัญของการออกกำลังกายความสำคัญของการออกกำลังกาย
ความสำคัญของการออกกำลังกาย
 
เอกสารประกอบ ใบความรู้
เอกสารประกอบ  ใบความรู้เอกสารประกอบ  ใบความรู้
เอกสารประกอบ ใบความรู้
 
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
 
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3
การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAging
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAging
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
_____________-1.pdf
_____________-1.pdf_____________-1.pdf
_____________-1.pdf
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกาย
 
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
 

2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt