SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
Télécharger pour lire hors ligne
CHAPTER 7
บาร์โค้ด (Bar Code)
อาจารย์ ธนภัทร์ ธชพันธ์
เนื้อหาในบทเรียน
• ความหมายของบาร์โค้ด
• ชนิดของบาร์โค้ด
• ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย
• ระบบการทางานโดยใช้บาร์โค้ด
• ประโยชน์จากการใช้บาร์โค้ด
• นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของบาร์โค้ด
• นักศึกษาทราบถึงชนิดของบาร์โค้ดแบบต่างๆ
• นึกศึกษามีความรู้ความเข้าใจในระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย
• นักศึกษาทราบถึงระบบการทางานโดยใช้บาร์โค้ด
• นักศึกษาทราบถึงประโยชน์จากการใช้บาร์โค้ด
วัตถุประสงค์ของบทเรียน
ความหมายของบาร์โค้ด
• สัญลักษณ์แท่งที่ใช้แทนข้อมูลตัวเลข
• มีลักษณะเป็นแถบมีความหนาบางแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับตัวเลขที่กากับ
อยู่ข้างล่าง
• ที่พบเห็นทั่วไปจะดูเหมือนแถบสีขาวสลับดา
• ขนาดของแถบบาร์โค้ดมีความกว้างที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับความต้องการใช้
งานในการแสดงรายละเอียดของผลิตภัณฑ์จะมีจานวนแถบและจานวน
ตัวเลขแตกต่างกัน
ความหมายของบาร์โค้ด (ต่อ)
• บาร์โค้ดไม่ได้แสดงข้อมูลการขายโดยตรง แต่เป็นข้อมูลอ้างอิงที่กาหนด
เฉพาะเพื่อแยกชนิดประเภทของผลิตภัณฑ์ แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ
ผู้ผลิต ปริมาณ เลขที่รายการสินค้า ราคาและอื่นๆ ซึ่งมีจะมีการจัดทา
โปรแกรมเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ จะสามารถอ่านได้ด้วยเครื่องอ่าน
บาร์โค้ด (Bar Code Scanner)
• การอ่านข้อมูลของเครื่องอ่านบาร์โค้ดอาศัยหลักการสะท้อนแสงอ่าน
ข้อมูลเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์โดยตรง ไม่ต้องผ่านการกดปุ่มที่
แป้นพิมพ์เป็นระบบมาตรฐานสากลที่ใช้เหมือนกันทั่วโลก
ชนิดของบาร์โค้ด
• รูปแบบของบาร์โค้ดมีอยู่หลายชนิด โดยในปัจจุบันมีการพัฒนาให้
เหมาะกับการใช้งานต่างๆ ประมาณ 32 ชนิด แต่ที่เป็นมาตรฐานและ
ใช้กันมากในปัจจุบันมี 2 ชนิด ดังนี้
1. ระบบ UPC (Universal Product Code)
2. ระบบ EAN (European Article Number)
UPC (Universal Product Code)
• เริ่มมีการพัฒนาและทดลองใช้ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1970 (พ.ศ.2513)
โดย Mr. Norm Woodland และ Mr. Barnard Silvers
ชาวอเมริกัน
• มีการทดลองปรับปรุงให้ใช้ได้สมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1973 (พ.ศ.2516)
โดยมีการจัดตั้ง Universal Code Council ขึ้นดูแล กากับการ
ใช้Barcode มีสานักงานตั้งอยู่ที่เมือง Dayton รัฐ OHIO
• UPC เป็นบาร์โค้ดระแบบแรกของโลก แต่ปัจจุบันมีการใช้งานอยู่ 2
ประเทศเท่านั้น คือ USA กับ Canada
• มีอยู่ 2 ชนิดคือ แบบย่อ มี 8 หลัก และแบบมาตรฐาน มี 12 หลัก
EAN (European Article Number)
• พัฒนาขึ้นในแถบยุโรป ใช้ได้สมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1977 และเป็นระบบ
ที่ใช้กันแพร่หลายทั่วโลก ยกเว้น USA กับ Canada
• เป็นระบบที่เหมาะสมสาหรับธุรกิจห้างสรรพสินค้าและผู้ผลิตผลิตภัณฑ์
เพราะบรรจุข้อมูลมากได้มากกว่า
• มีอยู่ 2 ชนิด คือ แบบย่อ มี 8 หลัก และแบบมาตรฐาน มี 13 หลัก
ภาพแสดงตัวอย่าง EAN-13
8 850000 000010
ภาพแสดงตัวอย่าง EAN-8
8851 2341
ภาพแสดงเลขหมายนาหน้าบ่งบอกประเทศซึ่งกาหนดขึ้นโดย EAN
ภาพแสดงเลขหมายนาหน้าบ่งบอกประเทศซึ่งกาหนดขึ้นโดย EAN (ต่อ)
ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย
• ระบบบาร์โค้ด EAN ได้เริ่มเป็นที่รู้จักสาหรับผู้ผลิตอุตสาหกรรมในไทยเมื่อ
มีการส่งเสริมการส่งออก แต่เป็นการติดบาร์โค้ดตามคาสั่งของผู้สั่งซื้อสินค้า
ในต่างประเทศ ทาให้สินค้าไทยที่ไปวางขายในต่างประเทศไม่เป็นที่รู้จัก
แพร่หลาย เพราะถูกห้ามพิมพ์ข้อความว่า “Made in Thailand” ถือ
เป็นการเสียโอกาสในการขาย
• ในปี พ.ศ. 2530 Thai Product Numbering Association
Co., Ltd. ซึ่งเป็นกิจการในเครือเซ็นทรัล ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนาย
ทะเบียน รับสมัครสมาชิกบาร์โค้ดในประเทศไทย ให้ประเทศไทยมีระบบ
บาร์โค้ดใช้ โดยใช้รหัสประจาประเทศไทย คือ หมายเลข 885 ซึ่งจะปรากฏ
ใน 3 ตาแหน่งแรกของสัญลักษณ์รหัสแท่ง
ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย (ต่อ)
• หมายเลข 885 มีความหมายแทนข้อความ Made in Thailand
• สินค้าที่ติด Barcode จะช่วยสร้างความเชื่อถือให้กับผู้ซื้อหรือผู้นาเข้า
ในประเทศ อีกทั้งยังสามารถตรวจสอบหาแหล่งผลิตได้
• ในปี พ.ศ. 2536 Thai Product Numbering
Association Co., Ltd. ได้โอนสิทธิ์การเป็นนายทะเบียนให้สภา
อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยกระทรวงอุตสาหกรรมได้ออก
ประกาศ ณ วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 กาหนดมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสัญลักษณ์รหัสแท่งสาหรับแสดงข้อมูลสินค้า
ตามระบบมาตรฐานของ EAN โดยมีสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย
(Thai Article Numbering Council) เป็นนายทะเบียน
ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย (ต่อ)
• มีการแบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ TAN-13 (Standard Version)
และ TAN-8 (Short Version) ซึ่งมีโครงสร้างเหมือนกันระบบ
EAN ทั้ง 2 ระบบใช้ประโยชน์ในกรณีส่งสินค้าไปจาหน่ายใน
ต่างประเทศ
• ในกรณีที่เป็นกิจการที่ใช้ในการจาหน่ายสินค้าในประเทศ เช่น ร้าน
สรรพสินค้า หรือ Supermarket กิจการนั้นจะต้องสร้างรหัสขึ้นใช้
เอง โดยคงใช้แถบแท่งเช่นเดียวกับมาตรฐานสากล แต่เปลี่ยนรหัส
สาหรับตาแหน่งต่างๆ ของแท่งสี
ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย (ต่อ)
• ป้ายราคาที่ติดบนสินค้าต่างๆที่วางจาหน่ายจะเห็นเป็ นแถบ
Bar Code และมีตัวเลขต่างๆ กากับ โดยอาจไม่มีตัวเลขแสดงราคา
จริงๆ ให้เห็น แต่ราคาสินค้าจะไปปรากฏในจอที่แสดงราคาของเครื่องเก็บ
เงิน เมื่อได้รับการอ่านรหัสด้วยเครื่องมือพิเศษ และปรากฏใน
ใบเสร็จรับเงิน ที่พิมพ์ออกมาจากเครื่องพิมพ์
• เมื่อร้านค้าต้องการเปลี่ยนราคาสินค้ารายการใดๆ เพียงแต่แก้ไขข้อมูลใน
คอมพิวเตอร์ที่ควบคุมเกี่ยวกับรหัสของตัวเลขตาแหน่งที่เป็นราคาสินค้า
โดยไม่ต้องเปลี่ยนป้ายราคาใหม่ ราคาสินค้าที่เปลี่ยนแปลงใหม่ก็จะไป
ปรากฏในจอแทนราคาเก่าและพิมพ์ใบเสร็จด้วยราคาใหม่ที่ถูกต้องได้ ถือ
ว่าเป็นการให้ความสะดวก รวดเร็ว และประหยัดในเรื่องปรับเปลี่ยนราคา
สินค้าของร้านค้าปลีกเป็นอย่างมาก
ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย (ต่อ)
• ธุรกิจในประเทศไทยที่ต้องการใช้ Bar Code จะติดต่อสมัครเป็น
สมาชิกกับสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย สภาอุตสาหกรรมไทยซึ่งมี
สานักงานอยู่ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 4 โดยจะมี
ค่าใช้จ่าย คือ ค่าสมาชิกรายปี และค่าลงทะเบียนแรกเข้า ตามขนาดของ
ธุรกิจในอัตรา ดังต่อไปนี้
ประเภทสมาชิกสามัญ ค่าลงทะเบียนแรกเข้า ค่าสมาชิกรายปี
รายรับต่ากว่า 50 ล้านบาท 7,000 บาท 8,000 บาท
รายรับระหว่าง 50-100 ลบ. 7,000 บาท 10,000 บาท
รายรับตั้งแต่ 100 ลบ.ขึ้นไป 7,000 บาท 12,000 บาท
ระบบการทางานโดยใช้ Bar Code
1. ส่วนการเตรียมข้อมูล: การเลือกโปรแกรมบาร์โค้ด การจัดเลขรหัส
การจัดทาแถบบาร์โค้ด การป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์
2. การพัฒนาโปรแกรมสาหรับการเขียนระบบการทางาน (Software)
3. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ (Printer) เพื่อ
พิมพ์ใบเสร็จรับเงิน และเครื่องอ่านบาร์โค้ด
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องพิมพ์
เครื่องอ่านบาร์โค้ด
ขั้นตอนของการใช้บาร์โค้ด
1. กาหนดโครงสร้างรหัสสินค้า : ผู้ลิตหรือผู้ประกอบการกาหนด
หมายเลขประจาตัวสินค้าแต่ละชนิด แต่ละรายการ โดยอาจจะ
ออกแบบกาหนดขึ้นใช้เอง หรือเลือกใช้ตามแบบมาตรฐานแบบใด
แบบหนึ่ง แล้วนาเลขรหัสมาแปลงเป็ นรหัสแท่งสีดาสลับขาว (สีมืด
สลับสีสว่าง) ที่มีขนาดต่างกันตามตัวเลขรหัส
ขั้นตอนของการใช้บาร์โค้ด (ต่อ)
2. จัดพิมพ์บาร์โค้ด : บาร์โค้ดจะปรากฏอยู่ในส่วนที่เห็นได้ชัดเจนและใช้
งานได้สะดวก จึงต้องมีการวางแผนกาหนดขนาดและเลือกสีให้
เหมาะสม กาหนดตาแหน่งที่จะติดบาร์โค้ด โดยเป็นไปตามข้อกาหนด
มาตรฐานของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ดังนั้นจึง
ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบและจัดพิมพ์ บาร์โค้ดอาจ
จัดพิมพ์ลงบนบรรจุภัณฑ์ (Packages) พิมพ์ลงในฉลากสินค้า
(Product Label) หรือพิมพ์ลงแผ่น Sticker แล้วนาไปติดลง
บนบรรจุภัณฑ์หรือสินค้าอีกทีหนึ่ง การพิมพ์บน Sticker เหมาะ
สาหรับนาไปติดสินค้าที่มีจานวนไม่มากนัก หรือสินค้าที่มีการ
เปลี่ยนแปลงในเรื่องขนาด น้าหนัก หรือรูปร่างอยู่เสมอ
การเลือกสีสาหรับ Bar Code
• เครื่องอ่านบาร์โค้ดทางานโดยการแยกระหว่างพื้นที่มืดและสว่าง บริเวณ
ที่เป็นแท่งจะเป็นพื้นที่มืด บริเวณที่เป็นพื้นที่ว่างหรือแถบสีขาวจะเป็น
พื้นที่สว่าง โดยแสงที่เคลื่อนที่ผ่านแท่งสีมืด จะถูกแปลงเป็นสัญญาณไป
ยังเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นสิ่งสาคัญคือ ต้องระมัดระวังในการเลือกคู่สี
ที่เหมาะสม มิเช่นนั้นเครื่องอ่านอาจจะทางานผิดพลาด หรืออ่านรหัส
ไม่ได้
• สีมืดที่ควรใช้เป็นแถบ คือ สีดา สีน้าเงิน สีเขียว สีม่วง และสีน้าตาลเข้ม
• สีสว่างที่ควรใช้คือ สีขาว สีแดง เหลือง และสีส้ม
ข้อพึงระมัดระวังในการจัดพิมพ์บาร์โค้ด
1. การใช้สีน้าตาลเข้ม เป็นสีของแท่งรหัส จะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ
หากมีส่วนผสมของสีแดงมากเกินไป เครื่องอ่านมักจะมีปัญหาในการ
อ่านและอาจอ่านไม่ได้
2. ความหนาของสีจะต้องสม่าเสมอ และใช้ความกว้างของขนาดเส้นที่
เป็นแท่งให้ถูกต้อง เส้นสีที่มีขนาดแตกต่างกัน จะทาให้ค่ารหัสแตกต่าง
กันไป ถึงแม้จะเป็นสีเดียวกัน
3. ควรหลีกเลี่ยงการใช้สีสะท้อนสาหรับแท่งรหัสและพื้นที่ว่าง สีสะท้อน
แสงทาให้เครื่องอ่านได้ยาก หรืออ่านไม่ได้เลย
ข้อพึงระมัดระวังในการจัดพิมพ์บาร์โค้ด (ต่อ)
4. บรรจุภัณฑ์ที่เป็นวัสดุโปร่งใส เช่น แก้ว หรือพลาสติกเครื่องอ่านไม่
สามารถอ่านได้แสงจะทะลุไปหมด (ควรพิมพ์ลงในฉลากสินค้า)
5. วัสดุที่เป็นผ้า ไม่สามารถจะพิมพ์ Bar Code ได้เพราะเส้นใยผ้าที่
ทอจะเป็นปัญหากับเครื่องอ่าน
6. ต้องมีการพิจารณาถึงสินค้าที่บรรจุอยู่ภายในบรรจุภัณฑ์ว่าจะมีผลต่อสี
ของ Bar Code หรือไม่ เช่นของเหลวที่เป็นสีลักษณะโปร่งใส หรือ
ทับข้น
ขั้นตอนของการใช้บาร์โค้ด (ต่อ)
3. จัดเตรียม Program ของคอมพิวเตอร์: และป้อนข้อมูลเกี่ยวกับ
รหัสสินค้าที่กาหนดเข้าคอมพิวเตอร์ไว้ให้พร้อม
4. การทางานของเครื่องอ่าน (Scanners): เมื่อต้องการอ่านข้อมูลจาก
Bar Code จะใช้เครื่องอ่าน ซึ่งประกอบด้วยหัวอ่านชนิดลาแสงอิน
ฟาเรด โดยกวาดหัวอ่านผ่าน Bar Code ส่วนที่เป็นแถบสีสว่างหรือ
ขาวจะสะท้อนแสง แถบสีดาหรือสีมืดของแท่งรหัสจะไม่สะท้อนแสง
ในหัวอ่านจะมีตัวตรวจจับแสงสะท้อนไปจุดชนวนวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทาให้เกิดคลื่นสัญญาณไฟฟ้าและถอดข้อมูลจากรหัสส่งผ่านไปยังเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้าด้วยกันกับเครื่องอ่าน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะทา
การประมวลผลต่อไป
ประโยชน์จากการใช้ Bar Code
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
1. ประโยชน์สาหรับผู้ผลิตและผู้ค้าส่ง 2. ประโยชน์สาหรับกิจการค้าปลีก
ประโยชน์สาหรับผู้ผลิตและผู้ค้าส่ง
1. ลดภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง (Inventory Expenses
Reduction)
2. เ พิ่ม ปร ะ สิ ท ธิ ภ าพ ก าร ทา งาน ใ น คลังสิ น ค้า ( Better
Warehouse Productivity Level)
3. ช่วยในด้านการจัดซื้อ (Order Management)
4. ช่วยในการบริหารการตลาด (Marketing Programming)
1. ลดภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง
(Inventory Expenses Reduction)
• จากสายการผลิตสู่การบรรจุหีบห่อ และเข้าสู่คลังสินค้า การมี Bar
Code ที่บ่งบอกลักษณะ ประเภท และคุณสมบัติอื่นๆ ของสินค้าบรรจุ
ภัณฑ์ จะช่วยให้การแยกผลิตภัณฑ์เพื่อขนส่ง เป็นไปอย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพ สามารถส่งสินค้าได้ตามเวลาที่ต้องการ โดยไม่ต้องเก็บ
สินค้าไว้นาน (Just in Time Delivery) เพราะมีข้อมูลที่ทันสมัย
ถูกต้องในคอมพิวเตอร์ สามารถเรียกดูได้ทุกเวลา
• การใช้ Scanners อ่านเครื่องหมายบาร์โค้ด จะก่อให้เกิดความแม่นยา
ในการบอกประเภทของสินค้าได้ถูกต้องกว่าการใช้คนอ่าน จะช่วยลด
ความผิดพลาดในการจัดส่งสินค้าผิด
2. เพิ่มประสิทธิภาพการทางานในคลังสินค้า
(Better Warehouse Productivity Level)
• บาร์โค้ดจะช่วยลดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน เพิ่มความรวดเร็วใน
การทางานด้านเอกสารและการควบคุม
• ช่วยควบคุมความถูกต้องของจานวนสินค้าให้มีความแน่นอนมากขึ้น
ตรวจสอบได้ง่ายขึ้น
• สามารถเรียกดูข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ และชนิดของสินค้าโดยละเอียดได้
ทุกเวลา ซึ่งจะเอื้อประโยชน์ในการสั่งซื้อ รวมทั้งการดูแลสินค้าคงคลังให้
มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สินค้าไม่ถูกปล่อยลืมจนเสียหาย เป็นการประหยัด
ทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย
3. ช่วยในด้านการจัดซื้อ
(Order Management)
• การนาระบบบาร์โค้ดมาใช้ ข้อมูลเกี่ยวกับสต๊อกจะถูกเก็บไว้ใน
คอมพิวเตอร์ ดังนั้นเจ้าของร้านหรือผู้จัดซื้อสามารถเช็คการเคลื่อนไหว
ของสินค้าในสต๊อกได้ตลอดเวลา ทาให้สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ ว่า
ควรจะสั่งซื้อเพิ่มเติมอีกเท่าไหร่ และเมื่อใดจึงควรจะสั่ง สินค้ารายการใด
ขายได้น้อย จะสามารถทราบได้รวดเร็ว และเพื่อเป็ นการประกอบการ
พิจารณาตัดสินใจดาเนินการกับสินค้าแต่ละรายการได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น
4. ช่วยในการบริหารการตลาด
(Marketing Programming)
• การนาบาร์โค้ดมาใช้ ทาให้การวิเคราะห์ตลาดจัดทาได้รวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะสามารถจัดหาข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น
• ข้อมูลต่างๆ ที่นามาเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ ทาให้ฝ่ายการตลาดสามารถ
นาไปวิเคราะห์เพื่อประเมินผลกิจกรรมการตลาดต่างๆ ที่จะจัดขึ้น เช่น
การจัด Promotion ต่างๆ
• อีกทั้งยังสามารถประเมินผลได้ชัดเจนขึ้นว่า การจัดกิจกรรมส่งเสริม
การตลาดใดได้ผลดีที่สุด ได้ประโยชน์มากที่สุด
ประโยชน์สาหรับกิจการค้าปลีก
1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า (Stock)
2. จุดขายและพนักงานเก็บเงิน
3. บุคลากร
4. การวิเคราะห์ตลาด
5. ระบบบัญชีและการเงิน
1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า
(Stock)
1. สินค้าที่ส่งมาจากผู้ผลิตหรือ Supplier ซึ่งมี Bar Code ติดมา จะ
สามารถเช็คเข้าเก็บในคลังสินค้าได้เลย และลงบันทึกการรับสินค้าได้
ง่ายและรวดเร็ว โดยการอ่านด้วยเครื่องอ่าน จะมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ที่เขียนไว้สาหรับแปลงรหัสบาร์โค้ดของ Supplier ให้เป็นข้อมูล
สินค้าของกิจการเอง
1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า (ต่อ)
(Stock)
2. ช่วยลดขั้นตอนการติดป้ายราคา ในกรณีที่กิจการใช้ Bar Code ของ
Supplier ร้านค้าเพียงแต่ป้อนข้อมูลราคาขายให้เข้ากับ Bar
Code นั้น พร้อมกับจานวนสินค้าเข้าบัญชี ไม่จาเป็ นต้องมาติดป้าย
ราคา และนับสินค้าใหม่ทีละชิ้น Supermarket ขนาดใหญ่หลาย
แห่ง ที่ใช้ระบบบาร์โค้ด จะร่วมมือผลักดันให้ Supplier ที่จะส่ง
สินค้าเข้าไปขายใน Supermarket เหล่านั้น ต้องติด Bar
Code มาให้เรียบร้อย ดังนั้นเราจะเห็นได้ว่า สินค้า เช่น สบู่ แชมพู ยา
สีฟัน ผงซักฟอก ที่มาจากบริษัท เช่น Johnson & Johnson,
Palmolive จะมี Bar Code ติดอยู่ทั้งสิน
1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า (ต่อ)
(Stock)
3. สาหรับสินค้าที่ไม่มีบาร์โค้ดมาจาก Supplier ร้านค้าจะทาการตรวจ
รับสินค้าเข้าคลังสินค้า พร้อมกับการบันทึกบัญชีและจัดพิมพ์แผ่นสติก
เกอร์บาร์โค้ดที่มีราคาติดอยู่ด้วย นาไปปิดป้ายราคาที่สินค้าก่อนเข้าเก็บ
แต่บางร้านจะจัดพิมพ์ป้าย Bar Code ติดสินค้าเมื่อมีการเบิกไปขาย
หน้าร้าน และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงราคา ก็ไม่ต้องเปลี่ยนป้ายราคา ไม่
ต้องเสียเวลาแกะป้ายเก่าออก ติดป้ายใหม่ เพียงแต่เปลี่ยนแปลงข้อมูลใน
คอมพิวเตอร์เท่านั้น ทาให้ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย กาลังคน และลด
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า (ต่อ)
(Stock)
4. การนาสินค้าออกวางหน้าร้าน จะสามารถควบคุมโดยผ่านคอมพิวเตอร์
รวมไปถึงจุดขาย เมื่อผู้ซื้อนาเงินมาชาระที่จุดชาระเงิน เครื่องอ่าน
บาร์โค้ดจะส่งข้อมูลไปตัดสต๊อกโดยอัตโนมัติ ทาให้เรารู้จานวนสินค้าที่
คงเหลือทั้งหมดในกิจการได้ตลอดเวลา
5. ข้อมูลสินค้าที่ปรากฏในคอมพิวเตอร์ จะให้รายละเอียดการเคลื่อนไหว
ของสินค้านั้น ทาให้การจัดซื้อมีประสิทธิภาพ สามารถจัดซื้อได้
เหมาะสมกับเวลา ไม่มีสินค้าคงค้างมากหรือขาดสต๊อก
2. จุดขายและพนักงานเก็บเงิน
1. เกิดความรวดเร็วในการชาระสินค้า พนักงานเก็บเงินเพียงแต่หยิบสินค้า
ผ่านเครื่องอ่าน โดยไม่ต้องหยิบสินค้าขึ้นมาดูราคา แล้วจึงกดราคาที่
เครื่องรับเงินสด ทาให้การบริการลูกค้าทาได้เร็วขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ใน Supermarket ซึ่งลูกค้าจะซื้อสินค้าครั้งละมากๆ เมื่อมาชาระ
เงินบ่อยครั้งจะเกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายที่ต้องรอแถวชาระเงินนานๆ
2. ลดความผิดพลาดในการปฏิบัติงานของพนักงานเก็บเงิน ทั้งที่เกิดจาก
การปิ ดป้ายราคาผิด หรือกดราคาสินค้าผิดในเครื่องรับเงิน โดย
Scanners จะอ่านจาก Bar Code ได้ถูกต้องแม่นยากว่า จึงเป็น
การลดความเครียดในการทางานของพนักงานได้
2. จุดขายและพนักงานเก็บเงิน (ต่อ)
3. สามารถเปลี่ยนราคาสินค้าได้รวดเร็ว ไม่ต้องเปลี่ยนป้ายราคาใหม่ เช่น การ
จัดรายการลดราคาเฉพาะเวลา หรือที่เรียกว่า รายการนาทีทอง
4. ได้รับความเชื่อถือจากลูกค้า เพราะผู้ซื้อจะได้รับใบเสร็จที่บ่งบอกชนิดและ
จานวนสินค้าอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ทันที อีกทั้งให้ภาพพจน์ที่
ดีว่าเป็นร้านค้าสมัยใหม่
5. การทราบข้อมูลการเคลื่อนไหวที่ชัดเจนของสินค้าแต่ละรายการ ทาให้การ
บริ หารพื้นที่วางขายสินค้าหน้าร้านมีประสิทธิภาพ (Space
Management) สามารถใช้พื้นที่วางขายคุ้มค่ามากที่สุด ร้านค้าจะ
สามารถคัดเลือกสินค้าที่ทากาไรดีและกาหนดสัดส่วนของพื้นที่จัดวาง
สินค้าได้ถูกต้อง
3. บุคลากร
1. ลดจานวนบุคลากรในการปฏิบัติงาน ในส่วนของการตรวจนับสินค้า
การลงบันทึกรายการบัญชีทั้งด้านการรับเข้าและจ่ายออกจากสต๊อก ลด
กาลังคนในการปิดป้ายราคา หรือเปลี่ยนแปลงป้ายราคา กิจการสามารถ
ลดพนักงานต่างๆ และมีผลงานที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
2. พนักงานขายปฏิบัติงานได้สบายใจขึ้น โดยเป็นการลดความเครียดการ
การที่ต้องระมัดระวังในการเก็บเงินค่าสินค้า ลดภาระในการที่จะต้อง
จดจาราคาสินค้าจานวนมาก ไม่ต้องระวังจะกดราคาผิดหรือรหัสผิด อีก
ทั้งเมื่อเกิดการเสียหายจากการสูญหายของสินค้าหรือเหตุอื่นๆ สามารถ
ตรวจสอบได้แน่นอนว่าเกิดขึ้นที่จุดใด
3. บุคลากร (ต่อ)
3. กิจการอาจเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้ากับ Supplier ทาให้
สามารถสั่งซื้อสินค้าโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องเปลืองแรงงานและเวลาของ
บุคลากร
4. ใช้เวลาในการฝึกการใช้ระบบบาร์โค้ดและ Scanner เพียงระยะเวลา
สั้นๆ ไม่เกิน 2 สัปดาห์
4. การวิเคราะห์ตลาด
• ข้อมูลการขายที่ผ่านจากจุดขาย จะเข้าไปสู่คอมพิวเตอร์กลาง ซึ่งจะถูก
นาไปเป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ภาวการณ์ขายได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว ข้อมูลจะบอกรายละเอียดได้ทั้งรายการสินค้า สินค้าตัวไหนขายดี
ความถี่ในการซื้อ แนวโน้มในการเลือกซื้อ ความชอบของผู้บริโภค หากมี
สินค้ารายการใดขายได้ช้า จะสังเกตเห็นได้เร็ว จะได้ติดต่อสั่งซื้อเพิ่มเติม
มาได้ทันเวลา กิจการที่มีหลายๆ ร้าน หลายๆ สาขา จะมีภาวะแวดล้อม
หรือเงื่อนไขการตลาดแตกต่างกันในแต่ละร้านค้า โดยการใช้ระบบ
บาร์โค้ด จะช่วยวิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละทาเลในแต่ละร้านจัดทา
ได้รวดเร็ว และถูกต้อง ช่วยให้การตัดสินใจเลือกแผนการตลาดได้ถูกต้อง
เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละกลุ่ม แต่ละท้องที่ได้
5. ระบบบัญชีและการเงิน
1. การบันทึกรายการค้าต่างๆ จัดทาได้รวดเร็ว ข้อมูลบัญชีจะเป็นปัจจัย
และใช้พนักงานปฏิบัติงานน้อยลง เมื่อดาเนินการผ่านคอมพิวเตอร์
2. การทราบถึงการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง ทราบภาวะการขาย ทาให้
การบริหารการเงินของร้านค้าเป็นไปอย่างราบรื่น
3. การจัดซื้อและเก็บสินค้าคงคลังในปริมาณที่เหมาะสม ทาให้ไม่ต้อง
จัดหาเงินลงทุนจานวนมาก ไม่เสียโอกาสในการหมุนเวียนตัวเงินให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดแก่กิจการ และไม่เกิดการสูญเสียโอกาสที่จะมีรายได้
เพราะสินค้าขาดสต๊อก
สรุป (Summary)
• การนาระบบ Bar Code มาใช้ในกิจการค้าปลีก โดยเฉพาะกิจการค้า
ปลีกขนาดใหญ่จะมีประโยชน์มหาศาล ถึงแม้ว่าต้องลงทุนในการ
จัดระบบ Bar Code ในครั้งแรกค่อนข้างสูง
• ในส่วนของผู้ผลิต หรือ Suppliers ที่เป็นผู้ส่งออก การนาระบบ
Bar Code มาใช้ จะได้รับความน่าเชื่อถือจากลูกค้าในต่างประเทศ
และช่วยรักษาตลาดสินค้าให้พ้นจากการฉวยโอกาสของพ่อค้าส่งหรือผู้
นาเข้าในต่างประเทศได้ ช่วยเผยแพร่ชื่อเสียงของประเทศไทย และ
กิจการย่อมได้รับผลประโยชน์เพิ่มขึ้นจากการขยายตลาดได้เพิ่มขึ้น
Ch.07 บาร์โค้ด (Bar Code)

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Thanaphat Tachaphan
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังPhisitasak Wisatsukun
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลsupatra39
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processsupatra39
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาAttaporn Ninsuwan
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานSirilag Maknaka
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนPa'rig Prig
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 

Tendances (20)

บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
 
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่ายบทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำปุ๋ยอินทรีย์จากน้ำปลา(Manure fish)
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
 

En vedette

Explore the Interactivity Your Business Could Develop Using Bar Code Readers
Explore the Interactivity Your Business Could Develop Using Bar Code ReadersExplore the Interactivity Your Business Could Develop Using Bar Code Readers
Explore the Interactivity Your Business Could Develop Using Bar Code ReadersPOS Plaza Solution
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาร้านยา พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕ ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาร้านยา พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕ ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิชาติยุทธศาสตร์การพัฒนาร้านยา พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕ ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาร้านยา พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕ ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิชาติUtai Sukviwatsirikul
 
Oral presentation
Oral presentationOral presentation
Oral presentationPuisan Lim
 
Idea journal 03
Idea journal 03Idea journal 03
Idea journal 03Puisan Lim
 
Jakub CHRISTOPH (ECDL Foundation). Coding, computing or digital literacy
Jakub CHRISTOPH (ECDL Foundation). Coding, computing or digital literacyJakub CHRISTOPH (ECDL Foundation). Coding, computing or digital literacy
Jakub CHRISTOPH (ECDL Foundation). Coding, computing or digital literacyLietuvos kompiuterininkų sąjunga
 
The journal exercise 03
The journal exercise 03The journal exercise 03
The journal exercise 03Puisan Lim
 
Drawing module outline april 2014-2
Drawing module outline april 2014-2Drawing module outline april 2014-2
Drawing module outline april 2014-2Joe Onn Lim
 
The idea journal compilation
The idea journal compilationThe idea journal compilation
The idea journal compilationPuisan Lim
 
Cnc progress photo
Cnc progress photoCnc progress photo
Cnc progress photoPuisan Lim
 
Better livable town
Better livable townBetter livable town
Better livable townPuisan Lim
 
business final project
business final projectbusiness final project
business final projectPuisan Lim
 
Cnc journal project2
Cnc journal project2Cnc journal project2
Cnc journal project2Puisan Lim
 
Foundation and Key Stage 1 ICT
Foundation and Key Stage 1 ICTFoundation and Key Stage 1 ICT
Foundation and Key Stage 1 ICTanthony evans
 
ENBE: Presentation boards
ENBE: Presentation boardsENBE: Presentation boards
ENBE: Presentation boardsPuisan Lim
 
Culture and civilization group report
Culture and civilization group reportCulture and civilization group report
Culture and civilization group reportPuisan Lim
 
Itd project 2 orthographic drawing
Itd project 2 orthographic drawingItd project 2 orthographic drawing
Itd project 2 orthographic drawingPuisan Lim
 

En vedette (20)

Explore the Interactivity Your Business Could Develop Using Bar Code Readers
Explore the Interactivity Your Business Could Develop Using Bar Code ReadersExplore the Interactivity Your Business Could Develop Using Bar Code Readers
Explore the Interactivity Your Business Could Develop Using Bar Code Readers
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาร้านยา พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕ ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาร้านยา พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕ ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิชาติยุทธศาสตร์การพัฒนาร้านยา พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕ ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาร้านยา พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๕ ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิชาติ
 
Oral presentation
Oral presentationOral presentation
Oral presentation
 
Epc oral2
Epc oral2 Epc oral2
Epc oral2
 
Idea journal 03
Idea journal 03Idea journal 03
Idea journal 03
 
Jakub CHRISTOPH (ECDL Foundation). Coding, computing or digital literacy
Jakub CHRISTOPH (ECDL Foundation). Coding, computing or digital literacyJakub CHRISTOPH (ECDL Foundation). Coding, computing or digital literacy
Jakub CHRISTOPH (ECDL Foundation). Coding, computing or digital literacy
 
The journal exercise 03
The journal exercise 03The journal exercise 03
The journal exercise 03
 
Drawing module outline april 2014-2
Drawing module outline april 2014-2Drawing module outline april 2014-2
Drawing module outline april 2014-2
 
The idea journal compilation
The idea journal compilationThe idea journal compilation
The idea journal compilation
 
Dpj 2
Dpj 2Dpj 2
Dpj 2
 
Cnc progress photo
Cnc progress photoCnc progress photo
Cnc progress photo
 
Better livable town
Better livable townBetter livable town
Better livable town
 
Dpj 1
Dpj 1Dpj 1
Dpj 1
 
business final project
business final projectbusiness final project
business final project
 
Cnc journal project2
Cnc journal project2Cnc journal project2
Cnc journal project2
 
Foundation and Key Stage 1 ICT
Foundation and Key Stage 1 ICTFoundation and Key Stage 1 ICT
Foundation and Key Stage 1 ICT
 
Design p2
Design p2Design p2
Design p2
 
ENBE: Presentation boards
ENBE: Presentation boardsENBE: Presentation boards
ENBE: Presentation boards
 
Culture and civilization group report
Culture and civilization group reportCulture and civilization group report
Culture and civilization group report
 
Itd project 2 orthographic drawing
Itd project 2 orthographic drawingItd project 2 orthographic drawing
Itd project 2 orthographic drawing
 

Ch.07 บาร์โค้ด (Bar Code)

  • 1. CHAPTER 7 บาร์โค้ด (Bar Code) อาจารย์ ธนภัทร์ ธชพันธ์
  • 2. เนื้อหาในบทเรียน • ความหมายของบาร์โค้ด • ชนิดของบาร์โค้ด • ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย • ระบบการทางานโดยใช้บาร์โค้ด • ประโยชน์จากการใช้บาร์โค้ด
  • 3. • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของบาร์โค้ด • นักศึกษาทราบถึงชนิดของบาร์โค้ดแบบต่างๆ • นึกศึกษามีความรู้ความเข้าใจในระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย • นักศึกษาทราบถึงระบบการทางานโดยใช้บาร์โค้ด • นักศึกษาทราบถึงประโยชน์จากการใช้บาร์โค้ด วัตถุประสงค์ของบทเรียน
  • 4. ความหมายของบาร์โค้ด • สัญลักษณ์แท่งที่ใช้แทนข้อมูลตัวเลข • มีลักษณะเป็นแถบมีความหนาบางแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับตัวเลขที่กากับ อยู่ข้างล่าง • ที่พบเห็นทั่วไปจะดูเหมือนแถบสีขาวสลับดา • ขนาดของแถบบาร์โค้ดมีความกว้างที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับความต้องการใช้ งานในการแสดงรายละเอียดของผลิตภัณฑ์จะมีจานวนแถบและจานวน ตัวเลขแตกต่างกัน
  • 5. ความหมายของบาร์โค้ด (ต่อ) • บาร์โค้ดไม่ได้แสดงข้อมูลการขายโดยตรง แต่เป็นข้อมูลอ้างอิงที่กาหนด เฉพาะเพื่อแยกชนิดประเภทของผลิตภัณฑ์ แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ ผู้ผลิต ปริมาณ เลขที่รายการสินค้า ราคาและอื่นๆ ซึ่งมีจะมีการจัดทา โปรแกรมเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ จะสามารถอ่านได้ด้วยเครื่องอ่าน บาร์โค้ด (Bar Code Scanner) • การอ่านข้อมูลของเครื่องอ่านบาร์โค้ดอาศัยหลักการสะท้อนแสงอ่าน ข้อมูลเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์โดยตรง ไม่ต้องผ่านการกดปุ่มที่ แป้นพิมพ์เป็นระบบมาตรฐานสากลที่ใช้เหมือนกันทั่วโลก
  • 6. ชนิดของบาร์โค้ด • รูปแบบของบาร์โค้ดมีอยู่หลายชนิด โดยในปัจจุบันมีการพัฒนาให้ เหมาะกับการใช้งานต่างๆ ประมาณ 32 ชนิด แต่ที่เป็นมาตรฐานและ ใช้กันมากในปัจจุบันมี 2 ชนิด ดังนี้ 1. ระบบ UPC (Universal Product Code) 2. ระบบ EAN (European Article Number)
  • 7. UPC (Universal Product Code) • เริ่มมีการพัฒนาและทดลองใช้ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1970 (พ.ศ.2513) โดย Mr. Norm Woodland และ Mr. Barnard Silvers ชาวอเมริกัน • มีการทดลองปรับปรุงให้ใช้ได้สมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1973 (พ.ศ.2516) โดยมีการจัดตั้ง Universal Code Council ขึ้นดูแล กากับการ ใช้Barcode มีสานักงานตั้งอยู่ที่เมือง Dayton รัฐ OHIO • UPC เป็นบาร์โค้ดระแบบแรกของโลก แต่ปัจจุบันมีการใช้งานอยู่ 2 ประเทศเท่านั้น คือ USA กับ Canada • มีอยู่ 2 ชนิดคือ แบบย่อ มี 8 หลัก และแบบมาตรฐาน มี 12 หลัก
  • 8. EAN (European Article Number) • พัฒนาขึ้นในแถบยุโรป ใช้ได้สมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1977 และเป็นระบบ ที่ใช้กันแพร่หลายทั่วโลก ยกเว้น USA กับ Canada • เป็นระบบที่เหมาะสมสาหรับธุรกิจห้างสรรพสินค้าและผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ เพราะบรรจุข้อมูลมากได้มากกว่า • มีอยู่ 2 ชนิด คือ แบบย่อ มี 8 หลัก และแบบมาตรฐาน มี 13 หลัก
  • 13. ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย • ระบบบาร์โค้ด EAN ได้เริ่มเป็นที่รู้จักสาหรับผู้ผลิตอุตสาหกรรมในไทยเมื่อ มีการส่งเสริมการส่งออก แต่เป็นการติดบาร์โค้ดตามคาสั่งของผู้สั่งซื้อสินค้า ในต่างประเทศ ทาให้สินค้าไทยที่ไปวางขายในต่างประเทศไม่เป็นที่รู้จัก แพร่หลาย เพราะถูกห้ามพิมพ์ข้อความว่า “Made in Thailand” ถือ เป็นการเสียโอกาสในการขาย • ในปี พ.ศ. 2530 Thai Product Numbering Association Co., Ltd. ซึ่งเป็นกิจการในเครือเซ็นทรัล ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนาย ทะเบียน รับสมัครสมาชิกบาร์โค้ดในประเทศไทย ให้ประเทศไทยมีระบบ บาร์โค้ดใช้ โดยใช้รหัสประจาประเทศไทย คือ หมายเลข 885 ซึ่งจะปรากฏ ใน 3 ตาแหน่งแรกของสัญลักษณ์รหัสแท่ง
  • 14. ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย (ต่อ) • หมายเลข 885 มีความหมายแทนข้อความ Made in Thailand • สินค้าที่ติด Barcode จะช่วยสร้างความเชื่อถือให้กับผู้ซื้อหรือผู้นาเข้า ในประเทศ อีกทั้งยังสามารถตรวจสอบหาแหล่งผลิตได้ • ในปี พ.ศ. 2536 Thai Product Numbering Association Co., Ltd. ได้โอนสิทธิ์การเป็นนายทะเบียนให้สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยกระทรวงอุตสาหกรรมได้ออก ประกาศ ณ วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 กาหนดมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสัญลักษณ์รหัสแท่งสาหรับแสดงข้อมูลสินค้า ตามระบบมาตรฐานของ EAN โดยมีสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย (Thai Article Numbering Council) เป็นนายทะเบียน
  • 15. ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย (ต่อ) • มีการแบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ TAN-13 (Standard Version) และ TAN-8 (Short Version) ซึ่งมีโครงสร้างเหมือนกันระบบ EAN ทั้ง 2 ระบบใช้ประโยชน์ในกรณีส่งสินค้าไปจาหน่ายใน ต่างประเทศ • ในกรณีที่เป็นกิจการที่ใช้ในการจาหน่ายสินค้าในประเทศ เช่น ร้าน สรรพสินค้า หรือ Supermarket กิจการนั้นจะต้องสร้างรหัสขึ้นใช้ เอง โดยคงใช้แถบแท่งเช่นเดียวกับมาตรฐานสากล แต่เปลี่ยนรหัส สาหรับตาแหน่งต่างๆ ของแท่งสี
  • 16. ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย (ต่อ) • ป้ายราคาที่ติดบนสินค้าต่างๆที่วางจาหน่ายจะเห็นเป็ นแถบ Bar Code และมีตัวเลขต่างๆ กากับ โดยอาจไม่มีตัวเลขแสดงราคา จริงๆ ให้เห็น แต่ราคาสินค้าจะไปปรากฏในจอที่แสดงราคาของเครื่องเก็บ เงิน เมื่อได้รับการอ่านรหัสด้วยเครื่องมือพิเศษ และปรากฏใน ใบเสร็จรับเงิน ที่พิมพ์ออกมาจากเครื่องพิมพ์ • เมื่อร้านค้าต้องการเปลี่ยนราคาสินค้ารายการใดๆ เพียงแต่แก้ไขข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ที่ควบคุมเกี่ยวกับรหัสของตัวเลขตาแหน่งที่เป็นราคาสินค้า โดยไม่ต้องเปลี่ยนป้ายราคาใหม่ ราคาสินค้าที่เปลี่ยนแปลงใหม่ก็จะไป ปรากฏในจอแทนราคาเก่าและพิมพ์ใบเสร็จด้วยราคาใหม่ที่ถูกต้องได้ ถือ ว่าเป็นการให้ความสะดวก รวดเร็ว และประหยัดในเรื่องปรับเปลี่ยนราคา สินค้าของร้านค้าปลีกเป็นอย่างมาก
  • 17. ระบบบาร์โค้ดในประเทศไทย (ต่อ) • ธุรกิจในประเทศไทยที่ต้องการใช้ Bar Code จะติดต่อสมัครเป็น สมาชิกกับสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย สภาอุตสาหกรรมไทยซึ่งมี สานักงานอยู่ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซน C ชั้น 4 โดยจะมี ค่าใช้จ่าย คือ ค่าสมาชิกรายปี และค่าลงทะเบียนแรกเข้า ตามขนาดของ ธุรกิจในอัตรา ดังต่อไปนี้ ประเภทสมาชิกสามัญ ค่าลงทะเบียนแรกเข้า ค่าสมาชิกรายปี รายรับต่ากว่า 50 ล้านบาท 7,000 บาท 8,000 บาท รายรับระหว่าง 50-100 ลบ. 7,000 บาท 10,000 บาท รายรับตั้งแต่ 100 ลบ.ขึ้นไป 7,000 บาท 12,000 บาท
  • 18. ระบบการทางานโดยใช้ Bar Code 1. ส่วนการเตรียมข้อมูล: การเลือกโปรแกรมบาร์โค้ด การจัดเลขรหัส การจัดทาแถบบาร์โค้ด การป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ 2. การพัฒนาโปรแกรมสาหรับการเขียนระบบการทางาน (Software) 3. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ (Printer) เพื่อ พิมพ์ใบเสร็จรับเงิน และเครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องพิมพ์ เครื่องอ่านบาร์โค้ด
  • 19. ขั้นตอนของการใช้บาร์โค้ด 1. กาหนดโครงสร้างรหัสสินค้า : ผู้ลิตหรือผู้ประกอบการกาหนด หมายเลขประจาตัวสินค้าแต่ละชนิด แต่ละรายการ โดยอาจจะ ออกแบบกาหนดขึ้นใช้เอง หรือเลือกใช้ตามแบบมาตรฐานแบบใด แบบหนึ่ง แล้วนาเลขรหัสมาแปลงเป็ นรหัสแท่งสีดาสลับขาว (สีมืด สลับสีสว่าง) ที่มีขนาดต่างกันตามตัวเลขรหัส
  • 20. ขั้นตอนของการใช้บาร์โค้ด (ต่อ) 2. จัดพิมพ์บาร์โค้ด : บาร์โค้ดจะปรากฏอยู่ในส่วนที่เห็นได้ชัดเจนและใช้ งานได้สะดวก จึงต้องมีการวางแผนกาหนดขนาดและเลือกสีให้ เหมาะสม กาหนดตาแหน่งที่จะติดบาร์โค้ด โดยเป็นไปตามข้อกาหนด มาตรฐานของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ดังนั้นจึง ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบและจัดพิมพ์ บาร์โค้ดอาจ จัดพิมพ์ลงบนบรรจุภัณฑ์ (Packages) พิมพ์ลงในฉลากสินค้า (Product Label) หรือพิมพ์ลงแผ่น Sticker แล้วนาไปติดลง บนบรรจุภัณฑ์หรือสินค้าอีกทีหนึ่ง การพิมพ์บน Sticker เหมาะ สาหรับนาไปติดสินค้าที่มีจานวนไม่มากนัก หรือสินค้าที่มีการ เปลี่ยนแปลงในเรื่องขนาด น้าหนัก หรือรูปร่างอยู่เสมอ
  • 21. การเลือกสีสาหรับ Bar Code • เครื่องอ่านบาร์โค้ดทางานโดยการแยกระหว่างพื้นที่มืดและสว่าง บริเวณ ที่เป็นแท่งจะเป็นพื้นที่มืด บริเวณที่เป็นพื้นที่ว่างหรือแถบสีขาวจะเป็น พื้นที่สว่าง โดยแสงที่เคลื่อนที่ผ่านแท่งสีมืด จะถูกแปลงเป็นสัญญาณไป ยังเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นสิ่งสาคัญคือ ต้องระมัดระวังในการเลือกคู่สี ที่เหมาะสม มิเช่นนั้นเครื่องอ่านอาจจะทางานผิดพลาด หรืออ่านรหัส ไม่ได้ • สีมืดที่ควรใช้เป็นแถบ คือ สีดา สีน้าเงิน สีเขียว สีม่วง และสีน้าตาลเข้ม • สีสว่างที่ควรใช้คือ สีขาว สีแดง เหลือง และสีส้ม
  • 22. ข้อพึงระมัดระวังในการจัดพิมพ์บาร์โค้ด 1. การใช้สีน้าตาลเข้ม เป็นสีของแท่งรหัส จะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ หากมีส่วนผสมของสีแดงมากเกินไป เครื่องอ่านมักจะมีปัญหาในการ อ่านและอาจอ่านไม่ได้ 2. ความหนาของสีจะต้องสม่าเสมอ และใช้ความกว้างของขนาดเส้นที่ เป็นแท่งให้ถูกต้อง เส้นสีที่มีขนาดแตกต่างกัน จะทาให้ค่ารหัสแตกต่าง กันไป ถึงแม้จะเป็นสีเดียวกัน 3. ควรหลีกเลี่ยงการใช้สีสะท้อนสาหรับแท่งรหัสและพื้นที่ว่าง สีสะท้อน แสงทาให้เครื่องอ่านได้ยาก หรืออ่านไม่ได้เลย
  • 23. ข้อพึงระมัดระวังในการจัดพิมพ์บาร์โค้ด (ต่อ) 4. บรรจุภัณฑ์ที่เป็นวัสดุโปร่งใส เช่น แก้ว หรือพลาสติกเครื่องอ่านไม่ สามารถอ่านได้แสงจะทะลุไปหมด (ควรพิมพ์ลงในฉลากสินค้า) 5. วัสดุที่เป็นผ้า ไม่สามารถจะพิมพ์ Bar Code ได้เพราะเส้นใยผ้าที่ ทอจะเป็นปัญหากับเครื่องอ่าน 6. ต้องมีการพิจารณาถึงสินค้าที่บรรจุอยู่ภายในบรรจุภัณฑ์ว่าจะมีผลต่อสี ของ Bar Code หรือไม่ เช่นของเหลวที่เป็นสีลักษณะโปร่งใส หรือ ทับข้น
  • 24. ขั้นตอนของการใช้บาร์โค้ด (ต่อ) 3. จัดเตรียม Program ของคอมพิวเตอร์: และป้อนข้อมูลเกี่ยวกับ รหัสสินค้าที่กาหนดเข้าคอมพิวเตอร์ไว้ให้พร้อม 4. การทางานของเครื่องอ่าน (Scanners): เมื่อต้องการอ่านข้อมูลจาก Bar Code จะใช้เครื่องอ่าน ซึ่งประกอบด้วยหัวอ่านชนิดลาแสงอิน ฟาเรด โดยกวาดหัวอ่านผ่าน Bar Code ส่วนที่เป็นแถบสีสว่างหรือ ขาวจะสะท้อนแสง แถบสีดาหรือสีมืดของแท่งรหัสจะไม่สะท้อนแสง ในหัวอ่านจะมีตัวตรวจจับแสงสะท้อนไปจุดชนวนวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้เกิดคลื่นสัญญาณไฟฟ้าและถอดข้อมูลจากรหัสส่งผ่านไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้าด้วยกันกับเครื่องอ่าน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะทา การประมวลผลต่อไป
  • 25. ประโยชน์จากการใช้ Bar Code แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. ประโยชน์สาหรับผู้ผลิตและผู้ค้าส่ง 2. ประโยชน์สาหรับกิจการค้าปลีก
  • 26. ประโยชน์สาหรับผู้ผลิตและผู้ค้าส่ง 1. ลดภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง (Inventory Expenses Reduction) 2. เ พิ่ม ปร ะ สิ ท ธิ ภ าพ ก าร ทา งาน ใ น คลังสิ น ค้า ( Better Warehouse Productivity Level) 3. ช่วยในด้านการจัดซื้อ (Order Management) 4. ช่วยในการบริหารการตลาด (Marketing Programming)
  • 27. 1. ลดภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง (Inventory Expenses Reduction) • จากสายการผลิตสู่การบรรจุหีบห่อ และเข้าสู่คลังสินค้า การมี Bar Code ที่บ่งบอกลักษณะ ประเภท และคุณสมบัติอื่นๆ ของสินค้าบรรจุ ภัณฑ์ จะช่วยให้การแยกผลิตภัณฑ์เพื่อขนส่ง เป็นไปอย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ สามารถส่งสินค้าได้ตามเวลาที่ต้องการ โดยไม่ต้องเก็บ สินค้าไว้นาน (Just in Time Delivery) เพราะมีข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้องในคอมพิวเตอร์ สามารถเรียกดูได้ทุกเวลา • การใช้ Scanners อ่านเครื่องหมายบาร์โค้ด จะก่อให้เกิดความแม่นยา ในการบอกประเภทของสินค้าได้ถูกต้องกว่าการใช้คนอ่าน จะช่วยลด ความผิดพลาดในการจัดส่งสินค้าผิด
  • 28. 2. เพิ่มประสิทธิภาพการทางานในคลังสินค้า (Better Warehouse Productivity Level) • บาร์โค้ดจะช่วยลดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน เพิ่มความรวดเร็วใน การทางานด้านเอกสารและการควบคุม • ช่วยควบคุมความถูกต้องของจานวนสินค้าให้มีความแน่นอนมากขึ้น ตรวจสอบได้ง่ายขึ้น • สามารถเรียกดูข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ และชนิดของสินค้าโดยละเอียดได้ ทุกเวลา ซึ่งจะเอื้อประโยชน์ในการสั่งซื้อ รวมทั้งการดูแลสินค้าคงคลังให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สินค้าไม่ถูกปล่อยลืมจนเสียหาย เป็นการประหยัด ทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย
  • 29. 3. ช่วยในด้านการจัดซื้อ (Order Management) • การนาระบบบาร์โค้ดมาใช้ ข้อมูลเกี่ยวกับสต๊อกจะถูกเก็บไว้ใน คอมพิวเตอร์ ดังนั้นเจ้าของร้านหรือผู้จัดซื้อสามารถเช็คการเคลื่อนไหว ของสินค้าในสต๊อกได้ตลอดเวลา ทาให้สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ ว่า ควรจะสั่งซื้อเพิ่มเติมอีกเท่าไหร่ และเมื่อใดจึงควรจะสั่ง สินค้ารายการใด ขายได้น้อย จะสามารถทราบได้รวดเร็ว และเพื่อเป็ นการประกอบการ พิจารณาตัดสินใจดาเนินการกับสินค้าแต่ละรายการได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น
  • 30. 4. ช่วยในการบริหารการตลาด (Marketing Programming) • การนาบาร์โค้ดมาใช้ ทาให้การวิเคราะห์ตลาดจัดทาได้รวดเร็วและมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะสามารถจัดหาข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น • ข้อมูลต่างๆ ที่นามาเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ ทาให้ฝ่ายการตลาดสามารถ นาไปวิเคราะห์เพื่อประเมินผลกิจกรรมการตลาดต่างๆ ที่จะจัดขึ้น เช่น การจัด Promotion ต่างๆ • อีกทั้งยังสามารถประเมินผลได้ชัดเจนขึ้นว่า การจัดกิจกรรมส่งเสริม การตลาดใดได้ผลดีที่สุด ได้ประโยชน์มากที่สุด
  • 31. ประโยชน์สาหรับกิจการค้าปลีก 1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า (Stock) 2. จุดขายและพนักงานเก็บเงิน 3. บุคลากร 4. การวิเคราะห์ตลาด 5. ระบบบัญชีและการเงิน
  • 32. 1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า (Stock) 1. สินค้าที่ส่งมาจากผู้ผลิตหรือ Supplier ซึ่งมี Bar Code ติดมา จะ สามารถเช็คเข้าเก็บในคลังสินค้าได้เลย และลงบันทึกการรับสินค้าได้ ง่ายและรวดเร็ว โดยการอ่านด้วยเครื่องอ่าน จะมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่เขียนไว้สาหรับแปลงรหัสบาร์โค้ดของ Supplier ให้เป็นข้อมูล สินค้าของกิจการเอง
  • 33. 1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า (ต่อ) (Stock) 2. ช่วยลดขั้นตอนการติดป้ายราคา ในกรณีที่กิจการใช้ Bar Code ของ Supplier ร้านค้าเพียงแต่ป้อนข้อมูลราคาขายให้เข้ากับ Bar Code นั้น พร้อมกับจานวนสินค้าเข้าบัญชี ไม่จาเป็ นต้องมาติดป้าย ราคา และนับสินค้าใหม่ทีละชิ้น Supermarket ขนาดใหญ่หลาย แห่ง ที่ใช้ระบบบาร์โค้ด จะร่วมมือผลักดันให้ Supplier ที่จะส่ง สินค้าเข้าไปขายใน Supermarket เหล่านั้น ต้องติด Bar Code มาให้เรียบร้อย ดังนั้นเราจะเห็นได้ว่า สินค้า เช่น สบู่ แชมพู ยา สีฟัน ผงซักฟอก ที่มาจากบริษัท เช่น Johnson & Johnson, Palmolive จะมี Bar Code ติดอยู่ทั้งสิน
  • 34. 1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า (ต่อ) (Stock) 3. สาหรับสินค้าที่ไม่มีบาร์โค้ดมาจาก Supplier ร้านค้าจะทาการตรวจ รับสินค้าเข้าคลังสินค้า พร้อมกับการบันทึกบัญชีและจัดพิมพ์แผ่นสติก เกอร์บาร์โค้ดที่มีราคาติดอยู่ด้วย นาไปปิดป้ายราคาที่สินค้าก่อนเข้าเก็บ แต่บางร้านจะจัดพิมพ์ป้าย Bar Code ติดสินค้าเมื่อมีการเบิกไปขาย หน้าร้าน และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงราคา ก็ไม่ต้องเปลี่ยนป้ายราคา ไม่ ต้องเสียเวลาแกะป้ายเก่าออก ติดป้ายใหม่ เพียงแต่เปลี่ยนแปลงข้อมูลใน คอมพิวเตอร์เท่านั้น ทาให้ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย กาลังคน และลด ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
  • 35. 1. การจัดการเกี่ยวกับสินค้า (ต่อ) (Stock) 4. การนาสินค้าออกวางหน้าร้าน จะสามารถควบคุมโดยผ่านคอมพิวเตอร์ รวมไปถึงจุดขาย เมื่อผู้ซื้อนาเงินมาชาระที่จุดชาระเงิน เครื่องอ่าน บาร์โค้ดจะส่งข้อมูลไปตัดสต๊อกโดยอัตโนมัติ ทาให้เรารู้จานวนสินค้าที่ คงเหลือทั้งหมดในกิจการได้ตลอดเวลา 5. ข้อมูลสินค้าที่ปรากฏในคอมพิวเตอร์ จะให้รายละเอียดการเคลื่อนไหว ของสินค้านั้น ทาให้การจัดซื้อมีประสิทธิภาพ สามารถจัดซื้อได้ เหมาะสมกับเวลา ไม่มีสินค้าคงค้างมากหรือขาดสต๊อก
  • 36. 2. จุดขายและพนักงานเก็บเงิน 1. เกิดความรวดเร็วในการชาระสินค้า พนักงานเก็บเงินเพียงแต่หยิบสินค้า ผ่านเครื่องอ่าน โดยไม่ต้องหยิบสินค้าขึ้นมาดูราคา แล้วจึงกดราคาที่ เครื่องรับเงินสด ทาให้การบริการลูกค้าทาได้เร็วขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน Supermarket ซึ่งลูกค้าจะซื้อสินค้าครั้งละมากๆ เมื่อมาชาระ เงินบ่อยครั้งจะเกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายที่ต้องรอแถวชาระเงินนานๆ 2. ลดความผิดพลาดในการปฏิบัติงานของพนักงานเก็บเงิน ทั้งที่เกิดจาก การปิ ดป้ายราคาผิด หรือกดราคาสินค้าผิดในเครื่องรับเงิน โดย Scanners จะอ่านจาก Bar Code ได้ถูกต้องแม่นยากว่า จึงเป็น การลดความเครียดในการทางานของพนักงานได้
  • 37. 2. จุดขายและพนักงานเก็บเงิน (ต่อ) 3. สามารถเปลี่ยนราคาสินค้าได้รวดเร็ว ไม่ต้องเปลี่ยนป้ายราคาใหม่ เช่น การ จัดรายการลดราคาเฉพาะเวลา หรือที่เรียกว่า รายการนาทีทอง 4. ได้รับความเชื่อถือจากลูกค้า เพราะผู้ซื้อจะได้รับใบเสร็จที่บ่งบอกชนิดและ จานวนสินค้าอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ทันที อีกทั้งให้ภาพพจน์ที่ ดีว่าเป็นร้านค้าสมัยใหม่ 5. การทราบข้อมูลการเคลื่อนไหวที่ชัดเจนของสินค้าแต่ละรายการ ทาให้การ บริ หารพื้นที่วางขายสินค้าหน้าร้านมีประสิทธิภาพ (Space Management) สามารถใช้พื้นที่วางขายคุ้มค่ามากที่สุด ร้านค้าจะ สามารถคัดเลือกสินค้าที่ทากาไรดีและกาหนดสัดส่วนของพื้นที่จัดวาง สินค้าได้ถูกต้อง
  • 38. 3. บุคลากร 1. ลดจานวนบุคลากรในการปฏิบัติงาน ในส่วนของการตรวจนับสินค้า การลงบันทึกรายการบัญชีทั้งด้านการรับเข้าและจ่ายออกจากสต๊อก ลด กาลังคนในการปิดป้ายราคา หรือเปลี่ยนแปลงป้ายราคา กิจการสามารถ ลดพนักงานต่างๆ และมีผลงานที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 2. พนักงานขายปฏิบัติงานได้สบายใจขึ้น โดยเป็นการลดความเครียดการ การที่ต้องระมัดระวังในการเก็บเงินค่าสินค้า ลดภาระในการที่จะต้อง จดจาราคาสินค้าจานวนมาก ไม่ต้องระวังจะกดราคาผิดหรือรหัสผิด อีก ทั้งเมื่อเกิดการเสียหายจากการสูญหายของสินค้าหรือเหตุอื่นๆ สามารถ ตรวจสอบได้แน่นอนว่าเกิดขึ้นที่จุดใด
  • 39. 3. บุคลากร (ต่อ) 3. กิจการอาจเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้ากับ Supplier ทาให้ สามารถสั่งซื้อสินค้าโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องเปลืองแรงงานและเวลาของ บุคลากร 4. ใช้เวลาในการฝึกการใช้ระบบบาร์โค้ดและ Scanner เพียงระยะเวลา สั้นๆ ไม่เกิน 2 สัปดาห์
  • 40. 4. การวิเคราะห์ตลาด • ข้อมูลการขายที่ผ่านจากจุดขาย จะเข้าไปสู่คอมพิวเตอร์กลาง ซึ่งจะถูก นาไปเป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ภาวการณ์ขายได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ข้อมูลจะบอกรายละเอียดได้ทั้งรายการสินค้า สินค้าตัวไหนขายดี ความถี่ในการซื้อ แนวโน้มในการเลือกซื้อ ความชอบของผู้บริโภค หากมี สินค้ารายการใดขายได้ช้า จะสังเกตเห็นได้เร็ว จะได้ติดต่อสั่งซื้อเพิ่มเติม มาได้ทันเวลา กิจการที่มีหลายๆ ร้าน หลายๆ สาขา จะมีภาวะแวดล้อม หรือเงื่อนไขการตลาดแตกต่างกันในแต่ละร้านค้า โดยการใช้ระบบ บาร์โค้ด จะช่วยวิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละทาเลในแต่ละร้านจัดทา ได้รวดเร็ว และถูกต้อง ช่วยให้การตัดสินใจเลือกแผนการตลาดได้ถูกต้อง เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละกลุ่ม แต่ละท้องที่ได้
  • 41. 5. ระบบบัญชีและการเงิน 1. การบันทึกรายการค้าต่างๆ จัดทาได้รวดเร็ว ข้อมูลบัญชีจะเป็นปัจจัย และใช้พนักงานปฏิบัติงานน้อยลง เมื่อดาเนินการผ่านคอมพิวเตอร์ 2. การทราบถึงการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง ทราบภาวะการขาย ทาให้ การบริหารการเงินของร้านค้าเป็นไปอย่างราบรื่น 3. การจัดซื้อและเก็บสินค้าคงคลังในปริมาณที่เหมาะสม ทาให้ไม่ต้อง จัดหาเงินลงทุนจานวนมาก ไม่เสียโอกาสในการหมุนเวียนตัวเงินให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่กิจการ และไม่เกิดการสูญเสียโอกาสที่จะมีรายได้ เพราะสินค้าขาดสต๊อก
  • 42. สรุป (Summary) • การนาระบบ Bar Code มาใช้ในกิจการค้าปลีก โดยเฉพาะกิจการค้า ปลีกขนาดใหญ่จะมีประโยชน์มหาศาล ถึงแม้ว่าต้องลงทุนในการ จัดระบบ Bar Code ในครั้งแรกค่อนข้างสูง • ในส่วนของผู้ผลิต หรือ Suppliers ที่เป็นผู้ส่งออก การนาระบบ Bar Code มาใช้ จะได้รับความน่าเชื่อถือจากลูกค้าในต่างประเทศ และช่วยรักษาตลาดสินค้าให้พ้นจากการฉวยโอกาสของพ่อค้าส่งหรือผู้ นาเข้าในต่างประเทศได้ ช่วยเผยแพร่ชื่อเสียงของประเทศไทย และ กิจการย่อมได้รับผลประโยชน์เพิ่มขึ้นจากการขยายตลาดได้เพิ่มขึ้น