SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
ของไหล “Fluid”
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
ความหนาแน่น (Density) คือ เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสาร ซึ่งหาได้จากปริมาณมวลในหนึ่ง
หน่วยต่อปริมาตร แทนด้วยสัญลักษณ์ อ่านว่า โร (Rho)
เมื่อ คือ ความหนาแน่น ( kg/m3 )
m คือ มวลของสาร ( kg )
V คือ ปริมาตร ( m3 )
V
m

𝜌
𝜌
ตารางความหนาแน่นของสารบางชนิดที่อุณหภูมิ 0o และความดัน 1 บรรยากาศ
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
17.2 ความดัน (Pressure)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
ความดัน (Pressure ; P) คือ ขนาดของแรงที่กระทาตั้งฉากต่อพื้นที่ในหนึ่งหน่วย นั่นคือ
เมื่อ P คือ ความดัน ( N/m2 หรือ Pascal ; Pa )
F คือ แรงดัน ( N )
A คือ พื้นที่ ( m2 ) “มีทิศได้ทุกทิศทาง”
“มีทิศตั้งฉากกับผิวสัมผัสของภาชนะเสมอ”
F
P =
A
ความดันเกจ (Pg)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
ความดันเนื่องจากของเหลวในปริมาตรสี่เหลี่ยม หาได้จาก
สรุป…ความดันของของเหลวแปรผันตรงกับความลึกและความหนาแน่นของของเหลว ไม่ขึ้นอยู่กับรูปร่างภาชนะ
G
W
P = = ρgh
A
ความดันสัมบูรณ์ (absolute pressure)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
ความดันสัมบูรณ์ คือ ความดันเนื่องจากน้าหนักของของเหลว (PG) กับความดันบรรยากาศ
(P0) รวมกัน หาได้จาก
หรือ
เมื่อ P คือ ความดันสัมบูรณ์
P0 คือ ความดันบรรยากาศ (P0 = 1.00 atm = 1.013 x 105 Pa)
PG คือ ความดันเกจ
0 GP = P + P
0P = P + ρgh
แรงดันที่เขื่อนกั้นน้้า
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
𝜌
แรงดันที่เขื่อนกั้นน้้า
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
การวัดความดัน (Pressure Measurements)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
มานอมิเตอร์(Manometer)
 เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันของก๊าซที่บรรจุอยู่ในภาชนะ
 ปลายหนึ่งของหลอดรูปตัวยู (U-shaped) จะถูกเปิดออกให้
สัมผัสกับอากาศ
 อีกปลายหนึ่งจะถูกต่อกับภาชนะที่มีความดันที่ต้องการจะวัด
 ความดันที่จุด B คือ Pa + ρgh
ขั้นตอนการค้านวณ
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
จากรป ล จากความร้เกี่ยวกั ความดัน
ความดัน ี่ร ดั A = ความดัน ี่ร ดั B
PA = PB
P = Pg + Pa
P - Pa = Pg
ดังนัน P - Pa =  gh
ขั้นตอนการค้านวณหาความดันจากแมนอมิเตอร์หรือ
หลอดรูปตัวยู
1. หารอยต่อของของเหลว 2 ชนิด ที่มีระดับต่าสุด
2. กาหนดระดับอ้างอิงของหลอดแก้วรูปตัวยู อยู่ในแนว
เดียวกับระดับต่าสุดข้อ 1
3. ใช้หลักการที่ว่า ที่ระดับความลึกเท่ากัน ความดันใน
ของเหลวมีค่าเท่ากัน
4. ตั้งสมการ และคานวณหาความดันที่ต้องการ
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
 ประดิษฐ์ขึ้นโดย Torricelli
 ประกอบด้วยท่อปลายปิดยาวบรรจุปรอทไว้จนเต็มจากนั้นก็
กลับท่อให้ท่อจุ่มลงในอ่างใส่ปรอทโดยให้ปลายปิดอยู่ด้านบน
 ที่ปลายปิดด้านบนเกือบจะเป็นสุญญากาศ
 ใช้สาหรับวัดความดันบรรยากาศ มีค่าเป็น
 นั่นคือความดัน 1 บรรยากาศ , 1 atm = 0.760 m (ของ Hg)
บารอมิเตอร์( Barometer)
0 HgP gh
17.3 กฎของพาสคัล
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
Blaise Pascal ได้พิสูจนความจริงขอนี้จนไดชื่อวา กฎพาสคัล (Pascal’s Law) ซึ่งกลาวไววา
“ความดันที่ใชกดของไหลที่บรรจุอยู่ในภาชนะปดยอมถูกสงผานไปยังทุกๆ สวนของของไหลและผนัง
ของภาชนะ โดยมีขนาดเทากันตลอด” จากกฎจะได้
ทุกจุดความ
ดันจะเท่ากัน
Pเล็ก = Pใหญ่
เครื่องอัดไฮดรอลิก (hydraulic press)
ให้จาว่า “แรงด้านไหนให้หารด้วย
พื้นที่ของด้านนั้น”
หรือ
F W
=
Aa
A W
=
Fa
ให้จาว่า “แรงต่อแรง พื้นที่ต่อพื้นที่
เรียกว่า การได้เปรียบเชิงกล
(Mechanical Advantage; MA)
ไฮดรอลิกส์ติดคันโยก
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
จากกฎของพาสคัล
เมื่อ L แทน ความยาวของคาน [ m ]
l แทน ระยะจากจุดหมุนถึงลูกสูบเล็ก [ m ]
1 2P = P
W A L
=
F a l
 
 
 
17.4 แรงลอยตัว(พยุง)และหลักอาร์คิมีดีส
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
หลักของอาร์คิมีดิส (Archimedes’s principle) กล่าวว่า “วัตถุใด ๆ ที่จมอยู่ในของเหลวทั้ง
ก้อนหรือจมอยู่เพียงบางส่วนจะถูกแรงลอยตัวกระทาและขนาดของแรงลอยตัวจะเท่ากับขนาดของ
น้าหนักของของไหลที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่” อาศัยหลักการ
FB = mg
Vจม คือ ปริมาตรส่วนที่จม [ m3 ] ,
FB คือ แรงลอยตัว [ N ]
คือ ความหนาแน่นของของเหลวที่วัตถุลอยอยู่ [ kg/m3]l
FB = ( Vจม)gl
17.5 ความตึงผิว
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
การที่ใบมีดโกนซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าน้า หรือจิงโจ้ลอยอยู่บนผิวน้านั้น แสดงว่าต้อง มี
แรงที่พยายามยึดผิวหน้าของน้าไม่ให้แยกออกจากกัน แรงนี้เรียกว่า แรงตึงผิว (surface tension)
ความตึงผิว (Surface tension)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
อัตราส่วนของแรงตึงผิวต่อหน่วยความยาว(ตั้งฉากกับแรง)ที่ถูกแรงนี้กระทาเรียกว่า ความตึง
ผิว (Surface tension) แทนด้วยสัญลักษณ์ นั่นคือ
เมื่อ  คือ ความตึงผิว [ N/m ]
F คือ แรงดึงผิว [ N ]
L คือ ความยาวของผิวสัมผัสเส้นลวด [ m ]
 ถ้าเป็นเหรียญ
 ถ้าเป็นห่วงลวดวงกลม
𝛾
F
γ =
L
L = 2πR
L 2(2 )R
17.6 ความหนืด (Viscosity)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
ของไหลทุกชนิดย่อมมีสมบัติอย่างหนึ่งคือ เมื่อมีวัตถุเคลื่อนที่ผ่านหรือเมื่อมันไหลผ่านวัตถุใดๆ
จะมีแรงเสียดทานกระทาต่อวัตถุโดยของไหลนั้นๆเสมอ สมบัติของของไหลที่ต้านทานการเคลื่อนที่ของ
วัตถุนี้เรียกว่า ความหนืด (viscosity) และแรงต้านทานการเคลื่อนที่ที่เกิดจากของไหลนี้เรียกว่า
แรงหนืด (Viscous force) หรือแรงเสียดทานภายใน
กฎของสโตก (Stoke’s Law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
สโตกส์ (Sir George Stokes) ได้ศึกษาแรงหนืดที่กระทาต่อวัตถุของ
ทรงกลม พบว่า แรงต้านเนื่องจากความหนืด (n) กระทาต่อวัตถุทรงกลมนั้น
เป็นปฏิภาคโดยตรงกับอัตราเร็ว (v) ของทรงกลมนั้น ดังสมการ
เมื่อ F คือ แรงหนืด [ N ]
v คือ ความเร็ว [ m/s ]
r คือ รัศมีของวัตถุทรงกลม [ m ] BF + F = mg
F 6 rv
17.7 พลศาสตร์ของของไหล
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
เมื่อของไหลเคลื่อนที่สมบัติบางประการของของไหลจะเปลี่ยนไป เช่น ความดัน แม้จะอยู่ใน
ระดับเดียวกันในภาชนะเดียวกัน ค่าความดันก็อาจจะไม่เท่ากัน ที่เป็นเช่นนี้แสดงว่ามันเกี่ยวข้องกับ
พลังงานจลน์ของของไหลขณะกาลังเคลื่อนที่ เช่น การไหลของกระแสน้าในแม่น้าหรือกระแสน้าหลาก
หรือการเคลื่อนที่ของควันบุหรี่
ของไหลอุดมคติ
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
พิจารณาของไหลแบบที่เป็นอุดมคติ (ideal fluid)
1. ไหลแบบคงตัว (steady flow)
• ความเร็วที่จุดใดจุดหนึ่งมีค่าคงตัว
2. การไหลจะต้องเป็นแบบไม่หมุน (irrotational flow)
• ตาแหน่งใดๆจะต้องไม่มีความเร็วเชิงมุม
3. การไหลจะเป็นแบบที่อัดไม่ได้ (incompressible flow)
• ความหนาแน่น ณ จุดต่าง ๆ มีค่าตงที่
4. ของไหลมีการไหลโดยไม่มีแรงต้านเนื่องจากความหนืดของของไหล (nonviscous flow)
• ไม่มีแรงเค้นเฉือนระหว่างชั้นของไหลที่ติดกัน
สมการความต่อเนื่อง (equation of continuity)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
1 1 1 1 1 1 1 1 1m V A x Av t        
2 2 2 2 2 2 2 2 2m V A x A v t        
สมการความต่อเนื่อง (equation of continuity)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
มวลของของไหลที่ผ่านแต่ละส่วนของหลอดการไหลไนเวลาเดียวกัน ค่ามวลจึงเท่ากัน คือ
เนื่องจากเป็นการไหลคงตัวและเป็นแบบอัดไม่ได้ ดังนั้น
ผลคูณ Av เรียกว่า อัตราการไหล (Volume flow) หน่วย [ m3/s]
1 2m m  
tvAρtvAρ  222111
222111 vAρvAρ 
21 ρρ 
2211 vAvA  ใช้เมื่อ โจทย์ไม่บอก
ความดัน (P) มา
สมการแบร์นูลลี (Bernoulli’s equation)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
สมการของแบรนูลลี กล่าวว่า “ ผลรวมความดัน พลังงานจลนตอปริมาตร และพลังงานศักยตอ
ปริมาตรทุกๆ จุดภายในทอที่ของไหลไหลผานจะมีคาคงที่” นั้นคือ
21
2
P gh v    ค่าคงตัว
2 2
1 1 1 2 2 2
1 1
2 2
P gh v P gh v       
ใช้เมื่อ โจ ย์ อกความดัน (P) มา
สมการแบร์นูลลี (Bernoulli’s equation)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
จากสมการของแบร์นูลลี
ตาแหน่งที่ของไหลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ความดันจะต่้า
ตาแหน่งที่ของไหลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่้า ความดันจะสูง

Contenu connexe

Tendances

1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
Wijitta DevilTeacher
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
Wijitta DevilTeacher
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
tewin2553
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ธงชัย ควรคนึง
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
jirupi
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Thepsatri Rajabhat University
 

Tendances (20)

1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 

Similaire à ของไหล

ของไหล.ppt
ของไหล.pptของไหล.ppt
ของไหล.ppt
สท้าน พรหมดา
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
Icxise RevenClaw
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
Chirawat Samrit
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
luanrit
 

Similaire à ของไหล (16)

ของไหล.ppt
ของไหล.pptของไหล.ppt
ของไหล.ppt
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
Week5[1]
Week5[1]Week5[1]
Week5[1]
 
Fluids
FluidsFluids
Fluids
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
 
Solid Liquid And Gas
Solid   Liquid  And   GasSolid   Liquid  And   Gas
Solid Liquid And Gas
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
 
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
 

ของไหล

  • 2. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล ความหนาแน่น (Density) คือ เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสาร ซึ่งหาได้จากปริมาณมวลในหนึ่ง หน่วยต่อปริมาตร แทนด้วยสัญลักษณ์ อ่านว่า โร (Rho) เมื่อ คือ ความหนาแน่น ( kg/m3 ) m คือ มวลของสาร ( kg ) V คือ ปริมาตร ( m3 ) V m  𝜌 𝜌
  • 3. ตารางความหนาแน่นของสารบางชนิดที่อุณหภูมิ 0o และความดัน 1 บรรยากาศ โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล
  • 4. 17.2 ความดัน (Pressure) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล ความดัน (Pressure ; P) คือ ขนาดของแรงที่กระทาตั้งฉากต่อพื้นที่ในหนึ่งหน่วย นั่นคือ เมื่อ P คือ ความดัน ( N/m2 หรือ Pascal ; Pa ) F คือ แรงดัน ( N ) A คือ พื้นที่ ( m2 ) “มีทิศได้ทุกทิศทาง” “มีทิศตั้งฉากกับผิวสัมผัสของภาชนะเสมอ” F P = A
  • 5. ความดันเกจ (Pg) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล ความดันเนื่องจากของเหลวในปริมาตรสี่เหลี่ยม หาได้จาก สรุป…ความดันของของเหลวแปรผันตรงกับความลึกและความหนาแน่นของของเหลว ไม่ขึ้นอยู่กับรูปร่างภาชนะ G W P = = ρgh A
  • 6. ความดันสัมบูรณ์ (absolute pressure) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล ความดันสัมบูรณ์ คือ ความดันเนื่องจากน้าหนักของของเหลว (PG) กับความดันบรรยากาศ (P0) รวมกัน หาได้จาก หรือ เมื่อ P คือ ความดันสัมบูรณ์ P0 คือ ความดันบรรยากาศ (P0 = 1.00 atm = 1.013 x 105 Pa) PG คือ ความดันเกจ 0 GP = P + P 0P = P + ρgh
  • 9. การวัดความดัน (Pressure Measurements) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล มานอมิเตอร์(Manometer)  เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันของก๊าซที่บรรจุอยู่ในภาชนะ  ปลายหนึ่งของหลอดรูปตัวยู (U-shaped) จะถูกเปิดออกให้ สัมผัสกับอากาศ  อีกปลายหนึ่งจะถูกต่อกับภาชนะที่มีความดันที่ต้องการจะวัด  ความดันที่จุด B คือ Pa + ρgh
  • 10. ขั้นตอนการค้านวณ โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล จากรป ล จากความร้เกี่ยวกั ความดัน ความดัน ี่ร ดั A = ความดัน ี่ร ดั B PA = PB P = Pg + Pa P - Pa = Pg ดังนัน P - Pa =  gh ขั้นตอนการค้านวณหาความดันจากแมนอมิเตอร์หรือ หลอดรูปตัวยู 1. หารอยต่อของของเหลว 2 ชนิด ที่มีระดับต่าสุด 2. กาหนดระดับอ้างอิงของหลอดแก้วรูปตัวยู อยู่ในแนว เดียวกับระดับต่าสุดข้อ 1 3. ใช้หลักการที่ว่า ที่ระดับความลึกเท่ากัน ความดันใน ของเหลวมีค่าเท่ากัน 4. ตั้งสมการ และคานวณหาความดันที่ต้องการ
  • 11. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล  ประดิษฐ์ขึ้นโดย Torricelli  ประกอบด้วยท่อปลายปิดยาวบรรจุปรอทไว้จนเต็มจากนั้นก็ กลับท่อให้ท่อจุ่มลงในอ่างใส่ปรอทโดยให้ปลายปิดอยู่ด้านบน  ที่ปลายปิดด้านบนเกือบจะเป็นสุญญากาศ  ใช้สาหรับวัดความดันบรรยากาศ มีค่าเป็น  นั่นคือความดัน 1 บรรยากาศ , 1 atm = 0.760 m (ของ Hg) บารอมิเตอร์( Barometer) 0 HgP gh
  • 12. 17.3 กฎของพาสคัล โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล Blaise Pascal ได้พิสูจนความจริงขอนี้จนไดชื่อวา กฎพาสคัล (Pascal’s Law) ซึ่งกลาวไววา “ความดันที่ใชกดของไหลที่บรรจุอยู่ในภาชนะปดยอมถูกสงผานไปยังทุกๆ สวนของของไหลและผนัง ของภาชนะ โดยมีขนาดเทากันตลอด” จากกฎจะได้ ทุกจุดความ ดันจะเท่ากัน Pเล็ก = Pใหญ่ เครื่องอัดไฮดรอลิก (hydraulic press) ให้จาว่า “แรงด้านไหนให้หารด้วย พื้นที่ของด้านนั้น” หรือ F W = Aa A W = Fa ให้จาว่า “แรงต่อแรง พื้นที่ต่อพื้นที่ เรียกว่า การได้เปรียบเชิงกล (Mechanical Advantage; MA)
  • 13. ไฮดรอลิกส์ติดคันโยก โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล จากกฎของพาสคัล เมื่อ L แทน ความยาวของคาน [ m ] l แทน ระยะจากจุดหมุนถึงลูกสูบเล็ก [ m ] 1 2P = P W A L = F a l      
  • 14. 17.4 แรงลอยตัว(พยุง)และหลักอาร์คิมีดีส โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล หลักของอาร์คิมีดิส (Archimedes’s principle) กล่าวว่า “วัตถุใด ๆ ที่จมอยู่ในของเหลวทั้ง ก้อนหรือจมอยู่เพียงบางส่วนจะถูกแรงลอยตัวกระทาและขนาดของแรงลอยตัวจะเท่ากับขนาดของ น้าหนักของของไหลที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่” อาศัยหลักการ FB = mg Vจม คือ ปริมาตรส่วนที่จม [ m3 ] , FB คือ แรงลอยตัว [ N ] คือ ความหนาแน่นของของเหลวที่วัตถุลอยอยู่ [ kg/m3]l FB = ( Vจม)gl
  • 15. 17.5 ความตึงผิว โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล การที่ใบมีดโกนซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าน้า หรือจิงโจ้ลอยอยู่บนผิวน้านั้น แสดงว่าต้อง มี แรงที่พยายามยึดผิวหน้าของน้าไม่ให้แยกออกจากกัน แรงนี้เรียกว่า แรงตึงผิว (surface tension)
  • 16. ความตึงผิว (Surface tension) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล อัตราส่วนของแรงตึงผิวต่อหน่วยความยาว(ตั้งฉากกับแรง)ที่ถูกแรงนี้กระทาเรียกว่า ความตึง ผิว (Surface tension) แทนด้วยสัญลักษณ์ นั่นคือ เมื่อ  คือ ความตึงผิว [ N/m ] F คือ แรงดึงผิว [ N ] L คือ ความยาวของผิวสัมผัสเส้นลวด [ m ]  ถ้าเป็นเหรียญ  ถ้าเป็นห่วงลวดวงกลม 𝛾 F γ = L L = 2πR L 2(2 )R
  • 17. 17.6 ความหนืด (Viscosity) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล ของไหลทุกชนิดย่อมมีสมบัติอย่างหนึ่งคือ เมื่อมีวัตถุเคลื่อนที่ผ่านหรือเมื่อมันไหลผ่านวัตถุใดๆ จะมีแรงเสียดทานกระทาต่อวัตถุโดยของไหลนั้นๆเสมอ สมบัติของของไหลที่ต้านทานการเคลื่อนที่ของ วัตถุนี้เรียกว่า ความหนืด (viscosity) และแรงต้านทานการเคลื่อนที่ที่เกิดจากของไหลนี้เรียกว่า แรงหนืด (Viscous force) หรือแรงเสียดทานภายใน
  • 18. กฎของสโตก (Stoke’s Law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล สโตกส์ (Sir George Stokes) ได้ศึกษาแรงหนืดที่กระทาต่อวัตถุของ ทรงกลม พบว่า แรงต้านเนื่องจากความหนืด (n) กระทาต่อวัตถุทรงกลมนั้น เป็นปฏิภาคโดยตรงกับอัตราเร็ว (v) ของทรงกลมนั้น ดังสมการ เมื่อ F คือ แรงหนืด [ N ] v คือ ความเร็ว [ m/s ] r คือ รัศมีของวัตถุทรงกลม [ m ] BF + F = mg F 6 rv
  • 19. 17.7 พลศาสตร์ของของไหล โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล เมื่อของไหลเคลื่อนที่สมบัติบางประการของของไหลจะเปลี่ยนไป เช่น ความดัน แม้จะอยู่ใน ระดับเดียวกันในภาชนะเดียวกัน ค่าความดันก็อาจจะไม่เท่ากัน ที่เป็นเช่นนี้แสดงว่ามันเกี่ยวข้องกับ พลังงานจลน์ของของไหลขณะกาลังเคลื่อนที่ เช่น การไหลของกระแสน้าในแม่น้าหรือกระแสน้าหลาก หรือการเคลื่อนที่ของควันบุหรี่
  • 20. ของไหลอุดมคติ โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล พิจารณาของไหลแบบที่เป็นอุดมคติ (ideal fluid) 1. ไหลแบบคงตัว (steady flow) • ความเร็วที่จุดใดจุดหนึ่งมีค่าคงตัว 2. การไหลจะต้องเป็นแบบไม่หมุน (irrotational flow) • ตาแหน่งใดๆจะต้องไม่มีความเร็วเชิงมุม 3. การไหลจะเป็นแบบที่อัดไม่ได้ (incompressible flow) • ความหนาแน่น ณ จุดต่าง ๆ มีค่าตงที่ 4. ของไหลมีการไหลโดยไม่มีแรงต้านเนื่องจากความหนืดของของไหล (nonviscous flow) • ไม่มีแรงเค้นเฉือนระหว่างชั้นของไหลที่ติดกัน
  • 21. สมการความต่อเนื่อง (equation of continuity) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล 1 1 1 1 1 1 1 1 1m V A x Av t         2 2 2 2 2 2 2 2 2m V A x A v t        
  • 22. สมการความต่อเนื่อง (equation of continuity) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล มวลของของไหลที่ผ่านแต่ละส่วนของหลอดการไหลไนเวลาเดียวกัน ค่ามวลจึงเท่ากัน คือ เนื่องจากเป็นการไหลคงตัวและเป็นแบบอัดไม่ได้ ดังนั้น ผลคูณ Av เรียกว่า อัตราการไหล (Volume flow) หน่วย [ m3/s] 1 2m m   tvAρtvAρ  222111 222111 vAρvAρ  21 ρρ  2211 vAvA  ใช้เมื่อ โจทย์ไม่บอก ความดัน (P) มา
  • 23. สมการแบร์นูลลี (Bernoulli’s equation) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล สมการของแบรนูลลี กล่าวว่า “ ผลรวมความดัน พลังงานจลนตอปริมาตร และพลังงานศักยตอ ปริมาตรทุกๆ จุดภายในทอที่ของไหลไหลผานจะมีคาคงที่” นั้นคือ 21 2 P gh v    ค่าคงตัว 2 2 1 1 1 2 2 2 1 1 2 2 P gh v P gh v        ใช้เมื่อ โจ ย์ อกความดัน (P) มา
  • 24. สมการแบร์นูลลี (Bernoulli’s equation) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ของไหล จากสมการของแบร์นูลลี ตาแหน่งที่ของไหลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ความดันจะต่้า ตาแหน่งที่ของไหลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่้า ความดันจะสูง