SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
Télécharger pour lire hors ligne
หนังสือเรียนรายวิช​าเศรษฐกิจพอเพียง​
​(ทช 31001)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต
หลักสูตร​การ​ศึกษานอกระบบระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน   
พุทธศักราช 2551
สำ�นัก​งาน​สงเสริม​การ​ศึกษานอกระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตามอัธยาศัย​
สำ�นัก​งาน​ปลัด​กระทรวง​ศึกษาธิการ
กระทรวง​ศึกษาธิการ​
หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต
รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง (ทช 31001)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ISBN		 : 	 978-974-232-393-6
พิมพครั้ง​ที่ 		 :   1 / 2553
จำ�นวน​พิมพ 	 :  	5,000  ​เลม
เอกสาร​ทาง​วิชาการ​หมายเลข  64/2552
คำ�นำ�
	 สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ได​ดำ�เนินการ​จัดทำ�​หนังสือเรียน​
ชุด​ใหม​นี้​ขึ้น เพื่อ​สำ�หรับ​ใช​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​ตาม​หลักสูตร​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ ระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ที่​มี​วัตถุ​ประสงค​ใน​การ​พัฒนา​ผูเรียน​ให​มี​คุณธรรม จริยธรรม มี​สติปญญา​และ​ศักยภาพ​ใน​การ​
ประกอบ​อาชีพการ​ศึกษาตอ​และ​สามารถ​ดำ�รงชีวิต​อยู​ใน​ครอบครัว ชุมชน สังคม​ได​อยาง​มี​ความ​สุข โดย​ผูเรียน​
สามารถ​นำ�​หนังสือเรียน​ไป​ใช​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​ดวย​วิธีการ​ศึกษา​คนควา​ดวย​ตน​เอง ปฏิบัติ​กิจกรรม รวมทั้ง​
แบบฝกหัด​เพื่อ​ทดสอบ​ความ​รูความ​เขาใจ​ใน​สาระ​เนื้อหา  โดย​เมื่อ​ศึกษา​แลว​ยัง​ไมเขาใจ สามารถ​กลับ​ไป​ศึกษา​
ใหม​ได ผูเรียน​อาจจะ​สามารถ​เพิ่มพูน​ความรู​หลังจาก​ศึกษา​หนังสือเรียน​นี้ โดย​นำ�​ความรู​ไป​แลกเปลี่ยน​กับ​เพื่อน​
ใน​ชั้นเรียน ศึกษา​จาก​ภูมิปญญา​ทองถิ่น จาก​แหลง​เรียนรู​และ​จาก​สื่อ​อื่นๆ
	 ใน​การ​ดำ�เนินการ​จัดทำ�​หนังสือเรียน​ตาม​หลักสูตร​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ ระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ไดรับ​ความ​รวมมือ​ที่​ดี​จาก​ผูทรงคุ​วุฒิ​และ​ผู​เกี่ยวของ​หลาย​ทาน​ซึ่ง​ชวยกัน​คนควา​และ​เรียบเรียง​
เนื้อหา​สา​ระ​จาก​สื่อ​ตาง ๆ  เพื่อให​ได​สื่อ​ที่​สอดคลองกับ​หลักสูตร​และ​เปน​ประโยชน​ตอ​ผูเรียน​ที่อยู​นอก​ระบบ​
อยาง​แทจริง สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ขอ​ขอบคุณ​คณะ​ที่ปรึกษา​
คณะ​ผู​เรียบเรียง ตลอดจน​คณะ​ผูจัดทำ�​ทุกทาน​ที่​ได​ให​ความ​รวมมือ​ดวยดี ไว ณ โอกาสนี้
	 สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย หวัง​วา​หนังสือเรียน​ชุด​นี้​จะ​เปน​
ประโยชน​ใน​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​ตามสมควร หาก​มี​ขอ​เสนอแนะ​ประการใด สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​
นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ขอ​นอม​รับ​ไว​ดวย​ความ​ขอบคุณ​ยิ่ง
		
	 	 (นาย​อภิ​ชาติ  จี​ระ​วุฒิ)
	 	 	 เลขาธิการ  กศน.​
หนา
คำ�นำ� 
คำ�แนะนำ�​ในการ​ใช​หนังสือเรียน                                                                                                                          
โครงสราง​รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง                                                                                                                                        
บท​ที่ 	1	 ความ​พอเพียง 		 1                                                                                  
บท​ที่	 2	 ชุมชน​พอเพียง		 7
บท​ที่ 	3	 การ​แกปญหา​ชุมชน	 19
บท​ที่ 	4	 สถานการณ​ของ​ประเทศ​ไทย​และ​สถานการณ​โลก​กับ​ความ​พอเพียง	 25	
ภาค​ผนวก	 	 	 35
บรรณานุกรม	 	 36
สารบัญ
หนังสือ​เรียน​สาระ​ทักษะ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต รายวิชา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ทช 31001 ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอนปลาย
เปน​หนังสือ​เรียน​ที่​จัด​ทำ�ขึ้น สำ�หรับ​ผูเรียน​ที่​เปน​นักศึกษา​นอก​ระบบ
	 ใน​การ​ศึกษา​หนังสือ​เรียน​สาระ ผูเรียน​ควร​ปฏิบัติ​ดังนี้
	 1.	ศึกษา​โครงสราง​รายวิ​ขา​ให​เขา​ใน​ใน​หัวขอ​และ​สาระ​ทักษะ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต รายวิชา​เศรษฐกิจ​พอเพียง
สำ�คัญ ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง และ​ขอบขาย​เนื้อหา​ของ​รายวิชา​นั้น ๆ โดย​ละเอียด
	 2.	ศึกษา​รายละเอียด​เนื้อหา​ของ​แตละ​บท​อยาง​ละเอียด และ​ทำ�​กิจกรรม​ตามที่​กำ�หนด และ​ทำ�​กิจกรรม​ตาม
กำ�หนด แลว​ตรวจสอบ​กับ​แนว​ตอบ​กิจกรรม​ตามที่​กำ�หนด ถา​ผูเรียน​ตอบ​ผิด​ควร​กลับ​ไป​ศึกษา​และ​ทำ�ความ​เขาใจ​
ใน​เนื้อหา​นั้น​ใหม​ให​เขาใจ กอน​ที่จะ​ศึกษา​เรื่อง​ตอ ๆ ไป
	 3.	ปฏิบัติ​กิจกรรม​ทาย​เรื่อง​ของ​แตละ​เรื่อง เพื่อ​เปนการ​สรุป​ความรู ความ​เขาใจ​ของ​เนื้อหา​ใน​เรื่อง​นั้น ๆ
อีกครั้ง และ​การ​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ของ​แตละ​เนื้อหา แตละ​เรื่อง ผูเรียน​สามารถ​นำ�ไป​ตรวจสอบ​กับ​ครู​และ​เพื่อน ๆ ที่​
รวม​เรียน​ใน​รายวิชา​และ​ระดับ​เดียวกัน​ได
หนังสือ​เรียน​เลม​นี้​มี  4  บท                                                                                                                          
	 บท​ที่	 1	 ความ​พอเพียง                                                                                   
	 บท​ที่	 2	 ชุมชน​พอเพียง
	 บท​ที่	 3	 การ​แกปญหา​ชุมชน
	 บท​ที่	 4	 สถานการณ​โลก​กับ​ความ​พอเพียง
	 บท​ที่	 5	 สถานการณ​ของ​ประเทศไทย
​
คำ�​แนะนำ�​ใน​การ​ใช​หนังสือเรียน
สาระสำ�คัญ	
	 เศรษฐกิจ​พอเพียง เปน​ปรัชญา​ที่​พระบาท​สมเด็จ​พระเจาอยูหัว   ทรง​พระ​ราช​ดำ�รัส​ชี้​แนะแนว
ทาง​การ​ดำ�รงอยู​และ​การ​ปฏิบัติตน​ของ​ประชาชน​ใน​ทุก​ระดับ​ให​ดำ�เนิน​ชีวิต​ไป​ในทาง​สายกลาง โดย
เฉพาะ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​เพื่อให​กาว​ทัน​ตอ​โลก​ยุค​โลกาภิวัตนความ​พอเพียงหมายถึงความ​พอประมาณ
ความ​มี​เหตุผล  รวมถึง​ความ​จำ�เปน​ที่จะ​ตอง​มี​ระบบ​ภูมิ​คุมกัน​ใน​ตัว​ที่​ดี​พอสมควร​ตอ​ผล​กระทบ​ใด ๆ  อัน​
เกิด​จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ทั้ง​ภายนอก​และ​ภายใน ทั้งนี้​จะ​ตอง​อาศัย​ความ​รอบรู ความ​รอบคอบ​และ​ความ​
ระมัดระวัง​อยางยิ่ง​ใน​การนำ�​วิชาการ​ตาง ๆ   มา​ใช​ใน​การ​วางแผน​และ​ดำ�เนินการ​ทุก​ขั้นตอน  และ​ขณะ​
เดียวกัน​จะ​ตอง​เสริมสราง​พื้นฐาน​จิตใจ​ของ​คนใน​ชาติ​ให​มี​สำ�นึก​ใน​คุณธรรม ความ​ซื่อสัตย​สุจริต​และ​ให​
มี​ความ​รอบรู​ที่​เหมาะสม​ดำ�เนิน​ชีวิต​ดวย​ความ​อดทน ความ​เพียร มี​สติปญญา​และ​ความ​รอบคอบ เพื่อให​
สมดุล​และ​พรอม​ตอ​การ​รองรับ​การ​เปลี่ยนแปลง​อยาง​รวดเร็ว​และ​กวางขวาง ทั้ง​ดาน​วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม​
และ​วัฒนธรรม​จาก​โลก​ภายนอก​ได​เปน​อยาง​ดี
ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง
	 1.	 อธิบาย​แนวคิด หลักการ ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ​ของ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ได
	 2.	 บอก​แนว​ทางใน​การนำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ประยุกต​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต
	 3.	 เห็น​คุณคา​และ​ปฏิบัติ​ตามหลัก​เศรษฐกิจ​พอเพียง
	 4.	 ปฏิบัติ​ตน​เปนแบบอยาง​ในการ​ดำ�เนิน​ชีวิต​ตาม​หลักปรัชญา เศรษฐกิจ​พอเพียง​ใน​ชุมชน
	 5.	 แนะนำ� สงเสริม​ให​สมาชิก​ใน​ครอบครัว​เห็น​คุณคา​และ​นำ�ไป​ปฏิบัติ​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต
	 6.	 มี​สวนรวม​ในชุมชน​ในการ​ปฏิบัติ​ตน​ตาม​หลักปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง
ขอบขาย​เนื้อหา
	 บท​ที่	 1	 ความ​พอเพียง                                                                                   
	 บท​ที่	 2	 ชุมชน​พอเพียง
	 บท​ที่	 3	 การ​แกปญหา​ชุมชน
	 บท​ที่	 4	 สถานการณ​โลก​กับ​ความ​พอเพียง
	 บท​ที่	 5	 สถานการณ​ของ​ประเทศไทย
โครงสรางรา​ยวิชา​เศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย ทช 31001
ความ​พอเพียง​
บท​ที่  1
สาระสำ�คัญ
	 เศรษฐกิจ​พอเพียง​เปน​ปรัชญา​ที่​ยึดหลัก​ทาง​สายกลางที่​ชี้​แนวทาง​ดำ�รงอยู​และ​ปฏิบัติ​ของ​ประชาชน​
ใน​ทุก​ระดับ ตั้งแต​ครอบครัว​ไป​จนถึง​ระดับ​รัฐ ทั้ง​ใน​การ​พัฒนา​และ​บริหาร​ประเทศ ให​ดำ�เนิน​ไป​ในทาง​สาย
กลาง​มี​ความ​พอเพียง และ​มี​ความ​พรอมที่จะ​จัดการ​ตอ​ผล​กระทบ​จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ทั้ง​ภายนอก​และ​ภายใน
ซึ่ง​จะ​ตอง​อาศัย​ความรู รอบคอบ และ​ระมัดระวัง ใน​การ​วางแผน และ​ดำ�เนินการ​ทุก​ขั้นตอน เศรษฐกิจ​พอ
เพียง​ไมใช​เพื่อ​การ​ประหยัด แต​เปนการ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยาง​สมดุล​และ​ยั่งยืน เพื่อให​สามารถ​อยู​ได​แม​ใน​โลก​
โลกา​ภิวัฒน​ที่​มี​การ​แขงขัน​สูง
ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง
	 นักศึกษา​มีความรู​ความ​เขาใจ และ​วิเคราะห​แนวคิด​หลักการ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ได
ขอบขาย​เนื้อหา
	 เรื่องที่ 	1 	 ความ​เปนมา ความ​หมาย หลัก​แนวคิด
	 เรื่องที่ 	2	 ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง
	 เรื่องที่ 	3	 การ​จัดการ​ความรู
​
หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​2
	 ​เรื่อง​ที่  1  ความ​เปนมา ​ความ​หมาย ​หลัก​แนวคิด
​
	 	 พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช​ได​พัฒนา​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เพื่อ​ที่​จะ​ให​
พสกนิ​กร​ชาวไทย​ได​เขา​ถึง​ทาง​สายกลาง​ของ​ชีวิต​และ​เพื่อ​คงไว​ซึ่ง​ทฤษฎี​ของ​การ​พัฒนา​ที่​ยั่งยืน ​ทฤษฎี​นี้​เปน​พื้นฐาน​
ของ​การ​ดำ�รงชีวิต​ซึ่ง​อยู​ระหวาง ​สังคม​ระดับ​ทองถิ่น​และ​ตลาด​ระดับ​สากล ​จุดเดน​ของ​แนว​ปรัชญา​นี้​คือ ​แนวทาง​
ที่​สมดุล ​โดย​ชาติ​สามารถ​ทันสมัย ​และ​กาว​สู​ความ​เปน​สากล​ได ​โดย​ปราศจาก​การ​ตอตาน​กระ​แส​โลกา​ภิวัฒน ​ ​
ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​มี​ความ​สำ�คัญ​ใน​ชวง​ป ​พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​ ​เมื่อ​ป​ที่​ประเทศ​ไทย​ตองการ​รักษา​ความ​มั่นคง​และ​
เสถียรภาพ​เพื่อ​ที่​จะ​ยืนหยัด​ใน​การ​พึ่งตนเอง​และ​พัฒนา​นโยบาย​ที่​สำ�คัญ​เพื่อ​การ​ฟนฟู​เศรษฐกิจ ​ของ​ประเทศ​โดย​
การ​สราง​แนวคิด​เศรษฐกิจ​ที่​พึ่งตนเอง​ได ​ซึ่ง​คน​ไทย​จะ​สามารถ​เลี้ยงชีพ​โดย​อยู​บน​พื้นฐาน​ของ​ความ​พอเพียง​
พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​มี​พระ​ราช​ดำ�ริ​วา ​“​มัน​ไมได​มี​ความ​จำ�เปน​ที่​เรา​จะ​กลาย​เปน​ประเทศ​อุตสาหกรรม​
ใหม ​(​N​I​C​)​ ​“​ ​ ​พระองค​ได​ทรง​อธิบาย​วา ​ความ​พอเพียง​และ​การ​พึ่งตนเอง ​คือ ​ทาง​สายกลาง​ที่​จะ​ปอง​กัน​การ​เปลี่ยน​
แปลง​ความ​ไมมั่นคง​ของ​ประเทศ​ได
​
​	 เรื่อง​ที่  2  ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง
	 	 ​“​ ​การ​พัฒนา​ประเทศ​จำ�เปน​ตอง​ทำ�ตาม​ลำ�ดับขั้น ​ตอง​สราง​พื้นฐาน ​คือ ​ความ​พอมีพอกิน ​พอ​ใช​ของ​
ประชาชน​สวน​ใหญ​เปน​เบื้องตน​กอน ​โดย​ใช​วิธีการ​และ​ใช​อุปกรณ​ที่​ประหยัด ​แต​ถูกตอง​ตามหลัก​วิชา​เมื่อ​ได​พื้น
ฐาน​มั่นคง​พรอม​พอควร​และ​ปฏิบัติ​ได​แลว​จึง​คอย​สราง​คอย​เสริม​ความ​เจริญ​และ​ฐานะ​เศรษฐกิจ​ขั้น​ที่​สูงขึ้น​โดย​
ลำ�ดับตอไป ​หาก​มุง​แต​จะ​ทุมเท​สราง​ความ​เจริญ ​ยก​เศรษฐกิจ​ขึ้น​ให​รวดเร็ว​แต​ประการ​เดียว ​โดย​ไม​ให​แผน​ปฏิบัติ​
การ​สัมพันธกับ​สภาวะ​ของ​ประเทศ​และ​ของ​ประชาชน​โดย​สอดคลอง​ดวย ​ก็​จะ​เกิด​ความ​ไม​สมดุล​ใน​เรื่อง​ตางๆ​ ​
ขึ้น ​ซึ่ง​อาจ​กลาย​เปนความ​ยุงยาก​ลมเหลว​ได​ใน​ที่สุด”
	 พระ​บรม​ราโชวาท ​ใน​พิธี​พระราชทาน​ปริญญาบัตร​ของ ​มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร ​ณ ​หอประชุม​มหาวิทยาลัย ​เกษตรศาสตร  ​
วันพฤหัสบดี​ที่ ​1​8​ ​กรกฎาคม ​พ.​ศ.​ ​2​5​1​7​ ​
​
	 	 ​“​ ​ ​คน​อื่น​จะ​วา​อยางไร​ก็ชาง​เขา​จะ​วา​เมืองไทย​ลาสมัย ​วา​เมืองไทย​เชย ​วา​เมืองไทย​ไมมี​สิ่ง​ใหม​แต​เรา​
อยู ​อยาง​พอมีพอกิน ​และ​ขอ​ให​ทุกคน​มี​ความ​ปรารถนา​ที่​จะ​ให​เมืองไทย​พอ​อยู​พอ​กิน ​มี​ความ​สงบ​ชวย​กัน​รักษา​
สวนรวม ​ให​อยู​ที​พอสมควร ​ขอ​ย้ำ�​พอควร ​พอ​อยู​พอ​กิน ​มี​ความ​สงบ​ไม​ให​คน​อื่น​มา​แยง​คุณสมบัติ​ไป​จาก​เรา​ได”​
​พระ​ราช​กระ​แส​รับสั่ง​ใน​เรื่อง​เศรษฐกิจ​พอเพียง​แก​ผู​เขาเฝา​ถวายพระพร​ชัย​มงคล ​เนื่อง​ใน​วัน​เฉลิม​พระ​ชนมพรรษา​แต​พุทธศักราช ​
2​5​1​7​
​
	 	 ​“​ ​การ​จะ​เปน​เสือ​นั้น​มัน​ไม​สำ�คัญ ​สำ�คัญ​อยู​ที่​เรา​พอ​อยู​พอ​กิน ​และ​มี​เศรษฐกิจ​การ​เปน​อยู​แบบ​พอมีพอ
กิน ​แบบ​พอมีพอกิน ​หมายความวา ​อุมชู​ตัวเอง​ได ​ให​มี​พอเพียง​กับ​ตัวเอง ”​
​		
		 พระ​ราชำ�​ดำ�รัส ​“​เศรษฐกิจ​แบบ​พอเพียง”​ ​พระบาท​สมเด็จพระปร​มินทร​มหา​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช ​พระราชทาน​  เมื่อ​วัน​ที่ ​
4​ ​ ธันวาคม  พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​
​​​​​​​
​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 3
​	 	 ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ที่​ทรง​ปรับปรุง​พระราชทาน​เปน​ที่มา​ของ​นิยาม ​“​3​ ​หวง ​2​ ​เงื่อนไข”​ ​ที่​
คณะ​อนุกรรมการ​ขับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​สำ�นักงาน​คณะกรรมการ​พัฒนาการ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ ​
นำ�มา​ใช​ใน​การ​รณรงค​เผย​แพร ​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ผาน​ชองทาง​ตางๆ​ ​อยู​ใน​ปจจุบัน ​ซึ่ง​ประกอบดวย​
ความ ​“​ ​พอประมาณ ​ ​มี​เหตุผล ​ ​มี​ภูมิ​คุม​กัน ​”​ ​บน​เงื่อนไข ​“​ความรู ​และ ​คุณธรรม”​
​	 	 อภิชัย ​พัน​ธเสน ​ผู​อำ�นวยการ​สถาบัน​การ​จัดการ​เพื่อ​ชนบท​และ​สังคม ​ได​จัด​แนวคิด​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง
วา​เปน ​“​ขอเสนอ​ใน​การ​ดำ�เนิน​กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​ตาม​แนวทาง​ของ​พุทธธรรม​อยาง​แทจริง”​ ​ทั้งนี้​เนื่องจาก​ใน​
พระ​ราช​ดำ�รัส​หนึ่ง ​ได​ให​คำ�​อธิบาย​ถึง ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงวา ​“​คือ​ความ​พอประมาณ ​ซื่อตรง ​ไม​โลภมาก ​และ​ตอง​
ไม​เบียดเบียน​ผูอื่น”​ ​
​	 	 ระบบ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​มุงเนน​ให​บุคคล​สามารถ​ประกอบ​อาชีพ​ได​อยาง​ยั่งยืน ​และ​ใช​จายเงิน​ให​ได​มา​
อยาง​พอเพียง​และ​ประหยัด ​ตามกำ�ลัง​ของ​เงิน​ของ​บุคคล​นั้น ​โดย​ปราศจาก​การ​กู​หนี้​ยืม​สิน ​และ​ถา​มี​เงิน​เหลือ ​ก็​
แบง​เก็บ​ออมไว​บางสวน ​ชวยเหลือ​ผูอื่น​บางสวน ​และ​อาจ​จะ​ใชจาย​มา​เพื่อ​ปจจัย​เสริม​อีก​บางสวน ​(​ปจจัย​เสริม​ใน​
ที่นี้​เชน ​ทองเ​ที่ยว ​ความ​บันเทิง ​เปนตน)​ ​สาเหตุ​ที่​แนวทาง​การ​ดำ�รงชีวิต​อยาง​พอเพียง ​ได​ถูก​กลาว​ถึง​อยาง​กวาง
ขวาง​ใน​ขณะนี้​เพราะ​สภาพ​การ​ดำ�รงชีวิต​ของ​สังคม​ทุนนิยม​ใน​ปจจุบัน​ได​ถูก​ปลูกฝง ​สราง ​หรือ​กระตุน ​ให​เกิด​
การ​ใชจาย​อยาง​เกินตัว​ใน​เรื่อง​ที่​ไม​เกี่ยวของ​หรือ​เกิน​กวา​ปจจัย​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต ​เชน ​การ​บริโภค​เกินตัว ​ความ​
บันเทิง​หลากหลาย​รูป​แบบ​ความ​สวย​ความ​งาม ​การ​แตงตัว​ตาม​แฟชั่น ​การ​พนัน​หรือ​เสี่ยงโชค ​เปนตน ​จน​ทำ�​ให​
ไมมีเงิน​เพียงพอ​เพื่อ​ตอบสนอง​ความ​ตองการ​เหลา​นั้น ​สงผล​ให​เกิด​การ​กู​หนี้​ยืม​สิน ​เกิด​เปน​วัฏจักร​ที่​บุคคล​หนึ่ง​
ไม​สามารถ​หลุด​ออกมา​ได ​ถา​ไม​เปลี่ยน​แนวทาง​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต
​
​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​
​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​
​
​
​
ทางสายกลาง
พอประมาณ
มีภูมิคุมกันมีเหตุผล
เงื่อนไข​ความรู
(รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง)
เงื่อนไข คุณธรรม
(ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน แบง​เปน)
ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม
สมดุล มั่นคง ยั่งยืน
หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​4
​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ ​คือ​การ​ยึดหลัก ​5​ ​ประการ ​ที่​สำ�คัญ​ใน​การ​ดำ�เนินการ​ได​แก
​	 	 1​.​	 ​ทาง​สายกลาง​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต ​ตั้ง​แต​ระดับ​ครอบครัว  ​ชุมชน  ​และ​ระดับ​รัฐ​รวม​ถึง​เศรษฐกิจ​ใน​ทุก​ระดับ
	 	 2​.​ 	มี​ความ​สมดุล ​มี​ความ​สมดุล​ระหวาง​คน ​สังคม ​สิ่ง​แวดลอม ​และ​เศรษฐกิจ ​มี​ความ​สมดุล​ใน​การ​ผลิต​
	 	 	 ที่​หลากหลาย ​ใช​ทรัพยากร​ที่​มี​อยู​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ
	 	 3​.​	 ​มี​ความ​พอประมาณ ​ความ​พอเพียง​ใน​การ​ผลิต​และ​การ​บริโภค ​บน​พื้นฐาน​ของ​ความ​พอประมาณ​	
	 	 	 อยาง​มี​เหตุผล ​ไม​ขัดสน ​ไม​ฟุมเฟอย ​ใน​การ​ใช​ทรัพยากร​ธรรมชาติ​และ​เทคโนโลยี​ที่​มี​ความ​พอเพียง
​	 	 4​.​ ​มี​ระบบ​ภูมิ​คุม​กัน ​มี​ภูมิ​คุม​กัน​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต ​มี​สุขภาพ​ดี ​มี​ศักยภาพ ​มี​ทักษะ​ใน​การ​แกไข​ปญหา​
	 	 	 และ​มี​ความ​รอบรู​อยาง​เหมาะสม​พรอม​รับ​ผล​กระทบ​ของ​การ​เปลี่ยน​แปลง​ทั้ง​จาก​ภายนอก​และ
	 	 	 ภาย​ในประเทศ
​	 	 5​.​ ​รูเทา​ทันโลก ​มีความรู ​มี​สติปญญา ​ความ​รอบคอบ ​มี​ความ​อดทน ​ มี​ความ​เพียร  ​มี​จิต​สำ�นัก​ใน​คุณธรรม ​
	 	 	 และ​ความ​ซื่อสัตย
​
	 	 ​นาย​แพทย​ปราชญ ​ ​บุญย​วงศ​วิโรจน ​ ​ปลัด​กระทรวง​สาธารณสุข​บรรยาย​เรื่อง ​การ​ขับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ระดับ​
	 	 ชุมชนใน​ลักษณะ​บูรณาการ
​
	 เรื่อง​ที่ 3  ​การ​จัดการ​ความรู ​
​​​​​
		 ​แม​วาการ​อธิบาย ​ถึง​คุณลักษณะ​และ​เงื่อนไข​ใน​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ ​จะ​ใช​คำ�​วา​ความรู ​อันเปน​ที่​
ตกลง​และ​เขา​ใจ​กัน​ทั่วไป ​ ​แต​หาก​พิจารณา​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ที่​ได​ทรง​พระ​กรุณา​ปรับปรุง​แกไข ​ ​และ​
พระราชทาน​พระบรมราชานุญาต ​ ​ให​นำ�ไป​เผย​แพร​อยาง​ละเอียด​นั้น ​กลับ​พบ​คำ�​วา ​“​ความ​รอบรู” ​ซึ่ง​กิน​ความ​
มากกวา​คำ�​วา ​“​ ​ความรู ​“​ ​คือ​นอกจาก​จะ​อาศัย​ความรู​ใน​เชิง​ลึก​เกี่ยวกับ​งาน​ที่​จะ​ทำ�​แลว ​ ​ยัง​จำ�เปน​ตอง​มีความรู​
ใน​เชิง​กวาง ​ ​ ​ได​แก​ความ​รูความ​เขา​ใจ​ใน​ขอ​เท็จ​เกี่ยวกับ​สภาวะ​แวดลอม ​ ​และ​สถานการณ​ที่​เกี่ยวพัน​กับ​งาน​ที่​จะ​
ทำ�​ทั้งหมด ​ ​โดยเฉพาะ​ที่​พระองค​ทาน​ทรง​เนน ​คือ​ระบบ​ชีวิต​ของ​คน​ไทย​อัน​ได​แก​ความ​เปน​อยู ​ความ​ตองการ ​
วัฒนธรรม ​และ​ความ​รูสำ�นึก​คิด​โดย​เบ็ดเสร็จ ​ ​จึง​จะ​ทำ�งาน​ให​บรรลุ​เปาหมาย​ได
​ ​ ​ ​ ​ ​ ​	 การนำ�​องคประกอบ​ดาน​ความรู​ไป​ใช​ใน​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ประยุกต​ใช​ในทาง​ธุรกิจ ​ ​จึง​มิได
​จำ�กัด​อยู​เพียง​ความรู ​ ​ที่​เกี่ยวของ​กับ​มิติ​ทาง​เศรษฐกิจ ​ที่​คำ�นึง​ถึง​ความ​อยูรอด ​ ​กำ�ไร ​หรือ​การ​เจริญ​เติบโต​ของ​
กิจการ​แตเพียง​อยางเดียว ​ ​แต​รวม​ถึง​ความรู​ที่​เกี่ยวของ​กับ​มิติ​ทาง​สังคม ​สิ่ง​แวดลอม ​และ​วัฒนธรรม​ของ​คน​ใน​
ทองถิ่น​นั้นๆ​ ​สอดคลอง​ตามหลัก ​การ​ไมติด​ตำ�รา ​ ​เชน ​ไม​ควร​นำ�​เอา​ความรู​จาก​ภายนอก ​หรือ​จาก​ตางประเทศ ​ ​มา​
ใชกับ​ประเทศ​ไทย​โดย​ไม​พิจารณา​ถึง​ความ​แตกตาง ​ ​ในดาน​ตางๆ​อยาง​รอบคอบ​ระมัดระวัง ​ ​หรือ​ไม​ควร​ผูกมัด​
กับ​วิชาการ​ทฤษฎี ​และ​เทคโนโลยี​ที่​ไม​เหมาะสมกับ​สภาพ​ชีวิต ​ ​และ​ความ​เปน​อยู​ที่​แทจริง​ของ​คน​ไทย​และ​สังคม​ไทย
	 	 ยิ่ง​ไป​กวา​นั้น ​ความรู ​ ​ที่​ปรากฏ​ใน​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ ​ยัง​ประกอบ​ไป​ดวย ​ ​ความ​ระลึก​รู
(​สติ)​กับ ​ความ​รูชัด ​(​ปญญา)​ ​ซึ่ง​ถือเปน​องคประกอบ​สำ�คัญ​ที่​วิชาการ​หรือ​ทฤษฎี ​ใน​ตะวันตก​ที่​เกี่ยวกับ​การ”​
จัดการ​ความรู ​ ​ยัง​ไม​ครอบคลุม​ถึง ​หรือยัง​ไมพัฒนา​กาวหนา​ไป​ถึงขั้น​ดังกลาว ​จึง​ไมมี​แนวคิด ​หรือ​เครื่องมือ​ทาง​
การ​บริหาร​จัดการ​ความรู​ใดๆ​ที่​มี​ความ​ละเอียด​ลึกซึ้ง​เทากับ​ที่​ปรากฏ​อยู​ใน​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​อีก​แลว
​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 	 พิพัฒน ​ ​ยอด​พฤติ​การ ​ ​ได​กลาว​ไว​ใน​บทความ ​เรื่อง​ที่​มัก​เขา​ใจ​ผิด​เกี่ยวกับ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงวา
​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 5
​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มี​รากฐาน​มาจาก​แนวคิด​ใน​การ​สราง​ความ ​“​พอ​มี”​ ​(​คือ​การ​ผลิต)​ ​“​พอ​กิน-​พอ​ใช”​ ​(​การ​บริโภค)​
ให​เกิดขึ้น​แก​ประชาชน​สวน​ใหญ​ของ​ประเทศ ​เพราะ​ถา​ประชาชน​สวน​ใหญ​ของ​ประเทศ​ยัง​ยากไร​ขัดสน ​ยังมี​
ชีวิต​ความ​เปน​อยู​อยาง​แรน​แคน ​ ​การ​พัฒนา​ประเทศ​ก็​ยัง​ถือวา​ไม​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ
​	 	 ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​สำ�หรับ​คน​ทุก​กลุม ​มิ​ใช​แค​เกษตรกร
​การ​สราง​ความ​ความ ​“​พอ​กิน-​พอ​ใช”​ ​ใน​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงนี้ ​ ​มุงไป​ที่​ประชาชน​ใน​ทุก​กลุม​สาขา​อาชีพ​ที่​ยังมี​ชีวิต​
แบบ ​“​ไม​พอ​กิน-​ไม​พอ​ใช”​ ​หรือยัง​ไม​พอเพียง ​ซึ่ง​มิได​จำ�กัด​อยู​เพียง​แค​คน​ชนบท ​หรือ​เกษตรกร ​เปน​แต​เพียงวา ​
ประชาชน​สวน​ใหญ​ของ​ประเทศ​ที่​ยัง​ยากจน​นั้น​มี​อาชีพ​เกษตรกร​มากกวา​สาขา​อาชีพ​อื่น ​ ​ทำ�​ให​ความ​สำ�คัญ​ลำ�ดับ​
แรก​จึง​มุง​เขาสู​ภาคเกษตร​หรือ​ชนบท​ที่​แรน​แคน ​จน​มี​รูปธรรม​ของ​การ​ประยุกต​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ออกมา​
เปน​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม ​อันเปน​ที่​ประจัก​ใน​ความ​สำ�เร็จ​ของ​การ​ยกระดับ​ชีวิต​ความ​เปน​อยู​ของ​เกษตรกร​ให ​“​พอ​มี”​ ​
“​พอ​กิน-​พอ​ใช”​ ​หรือ​สามารถ​พึ่งตนเอง​ได ​ใน​หลาย​พื้น​ที่​ทั่วประเทศ
​
หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​6
	 กิจกรรมที่  1
	 1.ให​นักศึกษา​แบงกลุมแลกเปลี่ยน​และ​วิเคราะห​ประเด็น​ภายใน​กลุม​แลว​เลือก​ผูแทน​กลุมออกมา​
นำ�เสนอ ตาม​ใบ​งาน​ตอไปนี้
1.	ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง หมายถึง​อะไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2.	เศรษฐกิจ​พอเพียง ทาน​สามารถ​ปรับใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยางไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
​
ใบ​งาน​ที่  1
ชุมชน​พอเพียง​
บท​ที่  2
สาระสำ�คัญ
	 ชุมชน​ที่​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ เปนกำ�ลัง​สำ�คัญ​ใน​การ​ขับ​
เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง นัก​วิชาการ​หลาย​ทาน​ได​ศึกษา​และ​วิเคราะห​เรื่อง​การ​พัฒนา​ชุมชน เพื่อ​มุงสู​การ​เปน​
ชุมชน​ที่​พอเพียง รวมทั้ง​ตัวอยาง​ของ​ชุมชน​พอเพียง​ที่​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ  และ​ตัวอยาง​ของ​ชุมชนพอเพียง​
ดาน​พลังงาน
ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง
	 1.	 นักศึกษา​สามารถ​อธิบาย และ​วิเคราะห​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน องคกร​ตามหลัก​ปรัชญา​
เศรษฐกิจ​พอเพียง
	 2.	 อธิบาย​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชนองคกรและ​ประยุกต​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยาง​สมดุลพรอม​รับ​
ตอ​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​ชุมชน​ได
ขอบขาย​เนื้อหา
	 ​เรื่อง​ที่	 1	 ความ​หมายโครงสราง​ของชุมชน
	 ​เรื่อง​ที่	 2 	 กา​รพัฒนา​ชุมชน
​
หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​8
		 เรื่องที่ 1 ความหมายโครงสรางของชุมชน	
		 ความ​หมาย​ของ​ชุมชน ชุมชน​  หมายถึง​ถิ่นฐาน​ที่อยู​ของ​กลุมคน ถิ่นฐาน​นี้​มี​พื้นที่​อางอิง​ได และ​
กลุมคน​นี้​มี​การ​อยูอาศัย​รวมกัน มี​การ​ทำ�​กิจกรรม เรียนรู ติดตอ สื่อสาร รวมมือ​และ​พึ่งพา​อาศัย​กัน มี​วัฒนธรรม​
และ​ภูมิปญญา​ประจำ�ถิ่น มี​จิตวิญญาณ และ​ความ​ผูกพัน​อยู​กับ​พื้นที่​แหงนั้น อยู​ภายใต​การ​ปกครอง​เดียวกัน
		 โครงสราง​ของ​ชุมชน ประกอบดวย 3 สวน​คือ
	 	 1.	 กลุมคน หมายถึง การ​ที่​คน 2 คน​หรือ​มากกวา​นั้น​เขามา​ติดตอ​เกี่ยวของ​กัน และ​มี​ปฏิสัมพันธ​ตอกัน​
ทาง​สังคม​ใน​ชั่วเวลา​หนึ่ง​ดวย ความ​มุงหมาย​อยาง​ใด​อยาง​หนึ่ง​รวมกัน
	 	 2.	 สถาบัน​ทาง​สังคม เมื่อ​คน​มา​อยู​รวมกัน​เปนกลุม​แลว และ​มี​วิวัฒนาการ​ไป​ถึงขั้น​ตั้ง​องคกร​ทาง​สังคม​
แลว ก็​จะ​มี​การ​กำ�หนด​แบบแผน​ของ​การ​ปฏิบัติ​ตอกัน​ของ​สมาชิก​ใน​กลุม​เพื่อ​สามารถ​ดำ�เนินการ​ตาม​ภารกิจ
	 	 3.	 สถานภาพ​และ​บทบาท​สถานภาพ หมายถึง ตำ�แหนง​ทาง​สังคม​ของ​คนใน​กลุม​หรือ​สังคม​บทบาท
หมายถึง พฤติกรรม​ที่​คนใน​สังคม​ตอง​ทำ�ตาม​สถานภาพ​ใน​กลุม​หรือ​สังคม
		 ​เรื่อง​ที่ 2  การพัฒนา​ชุมชน
		
		 ชุมชน​ที่​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ ตอง​มี​องคประกอบ​สำ�คัญ​
หลาย​ประการ​และ​สามารถ​พัฒนา​หรือ​ควบคุม​องคประกอบ​เหลานั้น​ได  โดย​ผู​ศึกษา​ไว​ดังนี้  มี​นัก​วิชาการ​หลาย​
ทาน​ที่​ได​ศึกษา​และ​วิเคราะห​องค​ประกอบการ​พัฒนา​ชุมชน​ไว​ตาม​แนวคิด​การ​พัฒนา​ชุมชน ดัง​ตอไปนี้
	 	 สนท​ยา พลตรี (2533 : 65 – 68) ได​กลาว​ถึง​การ​พัฒนา​ชุมชน​วา​มี​องคประกอบ 2 ประการ สรุป​ได​ดังนี้
	 	 1.	 การ​เขา​มี​สวนรวม​ของ​ประชาชน​เอง เพื่อที่จะ​ปรับปรุง​ระดับ​ความ​เปนอยู​ให​ดีขึ้น   โดย​จะ​ตอง​พึ่ง
ตนเอง​ให​มาก​ที่สุด​เทาที่จะ​เปนได  และ​ควร​เปนความ​ริเริ่ม​ของ​ชุมชน​เอง​ดวย
	 	 2.	 การ​จัดให​มี​การ​บริการ​ทาง​เทคนิค​และ​บริการ​อื่น ๆ  ที่จะ​เรงเรา​ให​เกิด​ความคิด​ริเริ่ม  การ​ชวย​ตน​เอง
	 	 3.	 ชวยเหลือ​กัน​และ​กัน  อันเปน​ประโยชน​มาก​ที่สุด
	 	 คณะกรรมการ​พัฒนาการ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ (2539 : 1 – 2) ได​กลาว​ถึง​ลักษณะ​การ​พัฒนา​คน​
และ​สิ่งแวดลอม  ซึ่ง​อาจ​ถือวา​เปน​องคการ​พัฒนา​ชุมชน​ดวย สรุป​ได​ดังนี้
	 	 1.	 การ​พัฒนา​คน​ประกอบดวย 4 ดาน​ดังนี้
	 	 	 ดาน​จิตใจ
	 	 	 ดาน​รางกาย
	 	 	 ดาน​สติปญญา
	 	 	 ดาน​บุคลิกภาพ
	 	 2.	 การ​พัฒนา​สภาพแวดลอม​ให​เอื้อ​ตอ​การ​พัฒนา ประกอบดวย 4 ดาน​ดังนี้
	 	 	 ดาน​เศรษฐกิจ
	 	 	 ดาน​ครอบครัว​และ​ชุมชน
	 	 	 ดาน​ทรัพยากร​และ​สิ่งแวดลอม
	 	 	 ดาน​การ​บริหาร​จัดการ​และ​การเมือง
​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 9
​		 สุพั​ตรา สุภาพ (2536 : 124 – 126) ได​กลาว​ถึง​ปจจัย​ที่​มี​อิทธิพล​ตอ​การ​เปลี่ยนแปลง​ทาง​สังคม  ซึ่ง​เปน​
องค​ประกอบการ​พัฒนา​ชุมชน วา​มี 7 ประการ​ดังนี้
	 	 1.	 สิ่งแวดลอม​ทาง​ธรรมชาติ หาก​มี​ความ​สมบูรณ​จะ​สงผลให​ชุมชน​มี​การ​พัฒนา​ได​รวดเร็ว​และ​มั่นคง
	 	 2.	 การ​เปลี่ยน​แปล​ลง​ดาน​ประชากร การ​เพิ่ม​ประชากร​มี​คุณภาพ​สามารถ​สราง​ให​เกิด​การ​พัฒนา​ดาน​
เศรษฐกิจ สังคม และ​การเมือง​ทันสมัย​ขึ้น
	 	 3.	 การ​ได​อยู​โดดเดี่ยว​และ​ติดตอ​เกี่ยวของชุมชน​ใด​ที่​มี​การ​ติดตอกัน​ทำ�​ใหการ​พัฒนา​เปนไป​อยาง​รวดเร็ว
	 	 4.	 โครงสราง​ของ​สังคม​และ​วัฒนธรรมชุมชน​ที่​มี​การ​เคารพ​ผูอาวุโส​จะ​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​นอยคานิยม​
ตาง ๆ ชวย​ให​รูวา​ชุมชน​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​เกิด​การ​พัฒนาขึ้น​มาก​นอย​เพียงไร
	 	 5.	 ทัศนคติ​และ​คานิยม การ​มี​คานิยม​ดาน​อาชีพ ดาน​บริโภค เปน​สวน​ของ​การ​ชัด​การ​พัฒนา​ใน​ชุมชน​
นั้น​ได
	 	 6.	 ความ​ตองการ​รับรู การ​ยอมรับ​สิ่ง​ประดิษฐ​ใหม ๆ จะ​เปน​เครื่องชี้​ทิศทาง​และ​อัตรา​การ​เปลี่ยนแปลง​
ของ​ชุมชน
	 	 7.	 พื้นฐาน​ทาง​วัฒนธรรม  ถา​มี​ฐาน​ที่​ดี​สิ่ง​ใหม​ที่จะ​เกิดขึ้น​ยอม​ดี​ตาม​พื้นฐาน​เดิม​ดวย
		 พลาย​พล คุม​ทรัพย (2533 : 44 – 47) ได​กลาว​ถึง​ปจจัย​ที่​สามารถ​ใช​ใน​การ​พัฒนา​ชุมชน  ซึ่ง​เปน​องค​
ประกอบการ​พัฒนา​ชุมชน วา​ประกอบดวย 3 ปจจัย ดังนี้
	 	 1.	 โครงสราง​ทาง​สังคม ครอบครัว​ที่​มี​ขนาดเล็ก​และ​มี​โครงสราง​ไมซับซอน​จะ​สงผลให​ชุมชน​นั้น​
พัฒนา​ได​ดีกวา​ชุมชน​ที่​มี​โครงสราง​ทาง​ครอบครัว​ที่​ซับซอน
	 	 2.	 โครงสราง​ทาง​ชนชั้น ใน​ชุมชน​ที่​มี​โครงสราง​แบบ​เปด ที่​สามารถ​เปลี่ยนแปลง​ฐานะ​ทาง​สังคม​ได​
งาย ชุมชน​นั้น​จะ​เกิด​การ​พัฒนา
	 	 3.	 ความ​แตกตาง​ทาง​เผาพันธุ เชื้อชาติ และ​ศาสนา ความ​แตก​ตางหาก​เกิดขึ้น​ใน​ชุมชน​ใด​ยอม​เปน​
อุปสรรค​ตอ​การ​พัฒนา ตามลำ�ดับ​ความ​แตกตาง
​		 ยุวัฒนวุฒิ​เมธี(2531:58–63)กลาว​ถึง​ปจจัย​ที่​เกื้อกูล​ใหการ​พัฒนา​ชนบท​บรรลุ​ความ​สำ�เร็จจำ�​เปนตอ​
การ​พัฒนา  วาดวย​องคประกอบ และ​สวนประกอบ​ยอย​ของ​องคประกอบ ดังนี้
	 	 1.	 นโยบาย​ระดับชาติ ฝายบริหาร​จะ​สามารถ​ดำ�เนินการ​แผน​พัฒนา​ได​ตอเนื่อง และ​มี​เวลา​พอที่จะ​เห็น​
ความ​ถูกตอง คุมคา มี​แนวทาง​ประสาน​ประโยชน​ระหวาง​รัฐ​และ​เอกชน และ​ความ​รวมมือ​ระหวาง​ประเทศ​จะ​
ตอง​เกื้อกูล​ตอ​การ​พัฒนา
	 	 2.	 องคการ​บริหาร​การ​พัฒนา​ชนบท ที่​มี​องคกร​กลาง​ทำ�หนาที่​ประสาน​นโยบาย​แผนงาน​และ​โครงการ​
อยาง​มี​ประสิทธิภาพ​และ​มี​อำ�นาจ​เด็ดขาด​ใน​การ​ลงทุน​ใน​หนวย​ปฏิบัติ​ตอง​ดำ�เนินการ​ตาม​นโยบาย แผนงาน และ​
โครงการ​ใน​แผน​ระดับชาติ และ​จัด​งบ​ประมาณการ​ติดตาม​ควบคุม​ที่​มี​ประสิทธิภาพ
	 	 3.	 วิทยา​การ​ที่​เหมาะสม​และ​การ​จัดการ​บริการ​ที่​สมบูรณ เลือก​พื้นที่​และ​กลุม​เปาหมาย​ที่​สอดคลองกับ​
ความ​เปนจริง และ​เลือก​วิทยา​การ​ที่​ประชาชน​จะ​ไดรับ​ให​เหมาะสม
	 	 4.	 การ​สนับสนุน​ระดับ​ทองถิ่น ความ​รับผิดชอบ​ของ​การ​สนับสนุน​งาน​ใน​ทอง​ถิ่นที่​มี​ประสิทธิภาพ​จะ​
เกิด​การ​พัฒนา​อยาง​แทจริง​ใน​ระยะยาว
	 	 5.	 การ​ควบคุม​ดูแล​และ​ติดตาม​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน ควร​เปนไปตาม​แผนงาน​และ​โครงการ​ทุก​ระดับ​และ​
ครอบคลุม​ทุก​พื้นที่ พรอมทั้ง​ให​สถาบัน​การ​ศึกษา​ทองถิ่น​ติดตาม​ประเมินผล
​
หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​10
		 อัชญา เคารพา​พงศ(2541 : 82 – 83)กลาว​ถึง​ปจจัย​สวนประกอบ​ที่​มือทธิ​พล​ตอ​การ​พัฒนา สรุป​ได​ดังนี้
	 	 1.	 ผูนำ�  ไดแก ผูนำ�​ทองถิ่น ทั้ง​เปนทางการ​และ​ไม​เปนทางการ​ใน​หมูบาน และ​จาก​องคกร​ภาครัฐ มี​
สวน​ให​ชุมชน​พัฒนา​ในทาง​ที่​ดีขึ้น เปน​ประโยชน ชุมชน​มี​เจตคติ​ที่​ดี​ยอมรับ​สิ่ง​ใหม​และ​สราง​พลัง​ตอสู​เพื่อ​การ​
เปลี่ยนแปลง
	 	 2.	 สังคม – วัฒนธรรม  การ​ไดรับ​วัฒนธรรม​จาก​สังคมเมือง​มา​ปฏิบัติ​ทำ�ให​ชุมชน​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง
	 	 3.	 สิ่งแวดลอม การ​ปรับปรุง​สภาพแวดลอม​ภูมิศาสตร​ชุมชน สงผลให​ที่ดิน​อุดมสมบูรณ​ราคา​สินคา
เกษตร​ดี ความ​เปนอยู​สะดวกสบาย​กวา​เดิม
	 	 4.	 ประวัติ​ศาสตร เหตุการณ​สำ�คัญ​ในอดีต​มีผลตอ​การ​พัฒนา​ความ​สามัคคี รัก​พวกพอง ชวยเหลือ​ซึ่ง​
กัน​และ​กัน
		 ปรียา พรหม​จันทร (2542 : 25) ได​สรุป​องคประกอบ​ที่​เปน​ปจจัย​การ​พัฒนา​ชุมชน​ได​ดังนี้
	 	 1.	 ดาน​เศรษฐกิจ ชุมชน​ที่​เศรษฐกิจ​ดี​การ​พัฒนา​ชุมชน​สามารถ​พัฒนา​ไดดี​ดวย
	 	 2.	 ดานสังคม วัฒนธรรม และ​สิ่งแวดลอม เปน​บริบท​ที่​ปรับ​เปลี่ยน​สภาพ​ชุมชน​ไป​ตาม​ปจจัย
	 	 3.	 ดาน​การเมือง หมาย​รวมถึง​การเมือง​ระดับชาติ​และ​ชุมชน​ระดับ​ทองถิ่น
	 	 4.	 ดาน​ประวัติ​ศาสตร โดย​อาศัย​ประสบการณ​และ​วิกฤต​ของ​ชุมชน​เปน​ฐาน​และ​บทเรียน​การ​พัฒนา	
	 	 	 ชุมนุม
	 	 นอกจากนี้​ปรียา พรหม​จันทร ยัง​ได​จำ�แนก​ออก​เปน​องคประกอบ​ที่​เปน​ปจจัย​การ​พัฒนา​ชุมชน​ปจจัย​
โดย​ตรง เชน คน ทุน ทรัพยากร การ​จัดการ เปนตน และ​ปจจัย​โดย​ออม เชน ภาวะ​เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การ​
ปกครอง เปนตน
		 ไพบูลย ​วัฒนศิริ​ธรรม (2549) ได​กลาว​ถึง​การ​สราง​และ​พัฒนา​คน​รุนใหม​เพื่อ​พัฒนา​ชุมชน​ทองถิ่น มี​
ปจจัย​สำ�คัญ 4 ประการ ซึ่ง​ถือเปน​องคปะก​อบ​การ​พัฒนา​ชุมชน ดังนี้
	 	 1.	 สังคม​ดี สิ่งแวดลอม​ดี มี​โอกาส​ใน​อาชีพ และ​กิจกรรม​ที่​หลากหลาย รวมไปถึง​วิถี​ชีวิต ศิลป​
วัฒนธรรม ความ​อบอุน ความ​สุข ความ​เจริญ​กาว​หนาที่​พึง​คาดหวัง​ใน​อนาคต​ดวย
	 	 2.	 ระบบ​การ​ศึกษา​ของ​ชาติ มี​เปาหมาย​ใน​การ​ผลิต​คน​เพื่อ​การ​พัฒนา​ชุมชน​หรือ​ทองถิ่น ให​เปนที่​พึง
ปรารถนา​ของ​ทองถิ่น​เพียงไร
	 	 3.	 รัฐธรรมนูญ​และ​นโยบาย​ของ​รัฐ ที่​เอื้อ​ตอ​การ​พัฒนา​ชุมชน​ทองถิ่น​ให​เปนที่​พึงปรารถนา​นาอยู
บทบาท​ของ​ชุมชน มี​สิ่ง​สำ�คัญ 3 ประการ คือ ความ​รัก​และ​ความ​ดี การ​เรียนรู​ที่​มากกวา​ความรู และ​การ​จัดการ​กับ​
ปจจัย​ชุมชน​ตาง ๆ
กิจกรรม​ที่​ชุมชน​ตอง​รับผิดชอบ​คือ
	 	 - 	 ตั้ง​คณะกรรมการ​บริหาร
	 	 - 	 ประเมิน​สภาพ​ของ​ชุมชน
	 	 - 	 เตรียม​แผนการ​ปฏิบัติ
	 	 - 	 หา​ทรัพยากร​ที่​จำ�เปน
	 	 - ทำ�ให​แนใจ​วา​กิจกรรม​ของ​ชุมชน​ทั้งหมด จะ​ตอง​มี​การ​ติดตาม​และ​การ​บริหาร​ที่​มี     ประสิทธิภาพ​
สูงสุด​สำ�หรับ​การ​ปฏิบัติ​งาน
​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 11
แบบจำ�ลองชุมชนที่มีการบริหารจัดการที่ดี​
แผนชุมชนที่มีพลัง​
หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​12
	 กระบวนการ​ชุมชน
	 	 1. 	วิเคราะห​ชุมชน
	 	 2. 	การ​เรียนรู​และ​การ​ตัดสินใจ​ของ​ชุมชน
	 	 3. 	การ​วางแผน​ชุมชน
	 	 4. 	การ​ดำ�เนิน​กิจกรรม​ชุมชน
	 	 5. 	การ​ประเมินผล​การ​ดำ�เนินงาน​ของ​ชุมชน
	 องค​ประกอบการ​ขับ​เคลื่อน​ชุมชน
	 	 1.	 โครงสราง​พื้นฐาน​ทาง​สังคม​ของ​ชุมชน
	 	 2. 	ความคิด​พื้นฐาน​ของ​ประชาชน
	 	 3. 	บรรทัดฐาน​ของ​ชุมชน
	 	 4. 	วิถี​ประชาธิปไตย
ตัวอยาง​ชุมชน​พอเพียง​ที่​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ
กุด​กะ​เสียน วันนี้​ที่​ยิ้ม​ได
	 	 เวลา​ติดขัด​ก็​ไป​กู...เขา​มา​ทำ�​ทุน พอ​หาได ขาย​ได​ก็​เอาไป​ฝาก...เขา” เขา​ใน​ความ​หมาย     ของ​คนใน​
ชุมชนกุด​กะ​เสียน คือ สถาบัน​การเงิ​น​ชุมชนกุด​กะ​เสียน​รวมใจ
		
	 	 ทามกลาง​ภาวะ​เศรษฐกิจ​เงินเฟอ​พุง ดอกเบี้ย​เพิ่ม ทั้ง​เงินกู เงินฝาก (ติดลบ​เมื่อ​เทียบกับ​เงินเฟอ) ทุ
กอยาง​อยู​ใน​ชวง​ขา​ขึ้น(ราคา) จะ​มี​ที่​ลดลง​คง​เปน​กำ�ลังใจ​ประชาชน​โดยเฉพาะ​คนเมือง ยิ้ม​ฝนๆ เผชิญ​ชะตา​ใน​ยุค​
ขาว(แก)ยาก น้ำ�มัน​แพง​กัน​ไป
	 	 แตกตางจาก​คนใน​ชุมชน​บานกุด​กะ​เสียน   ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี หมูบาน​รางวัล​
พระราชทาน “เศรษฐกิจ​พอเพียง อยู​เย็น​เปนสุข” สมเด็จพระ​เทพรั​ตน​ราช​สุดา สยาม​บรม​ราช​กุมารี ซึ่ง​มี​นายส​
มาน ทวี​ศรี กำ�นัน​ตำ�บล​เขื่องใน เปน​ผูนำ�​สราง​รอยยิ้ม​ให​คนใน​ชุมชน
​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 13
		
	 	 จาก​หมูบาน​ที่​มี​อาชีพ​ทำ�​นาป​ละ 2 ครั้ง แต​เนื่องจาก​สภาพ​พื้นที่​เปน​ที่ลุม​มี​น้ำ�ทวม​ถึง ทำ�ให​มี​ปญหา​น้ำ�
ทวม​นาจึง​ตองหา​ปลา​แลก​ขาวตอมา​ประกอบ​อาชีพ​คาขาย​สียอมผา  ทำ�ให​มี​ปญหา​หนี้สิน​เพราะ​ตอง​ไป​กู​นายทุน​
ดอกเบี้ย​สูง
	 	 แต​สภาพ​ใน​ปจจุบัน​ของกุด​กะ​เสียน ผูคน​ยิ้มแยม​แจม​ใจ เนื่องจาก​เศรษฐกิจ​ของ​หมูบาน​ดีขึ้น​มาก สืบ​
เนื่องจาก​การ​ริเริ่ม​ของ​ผูนำ�​ชุมชน​ที่​เห็น​ปญหา​ของ​หมูบาน จึง​ได​สงเสริม​ให​มี​การ​ตั้ง​กลุม​ออมทรัพย​จนกระทั่ง​
พัฒนา​มา​เปน​ธนาคารกุด​กะ​เสียน​รวมใจ โดย​การ​ปลอย​สินเชื่อ​ใน​อัตรา​ดอกเบี้ย​ต่ำ�​ให​คนใน​ชุมชน​ไป​ประกอบ​
อาชีพ อาชีพ​หลัก​ทำ�นา คาขาย เฟอรนิเจอร เครื่องใช​ไฟฟา ชุด​เครื่อง​นอน ชุด​เครื่องครัว ฯลฯ
	 	 ทั้ง​มี​การ​รวมกลุม​อาชีพ กลุม​เลี้ยง​โค กลุม​ทำ�​น้ำ�ยา​ลางจาน น้ำ�​ยาสระผม กลุม​เพาะ​เห็ด กลุม​เกษตรกร​
ทำ�นา กลุม​จักสาน
	 	 หนึ่ง​ใน​ชุมชน​ตัวอยาง​ที่​กรมการ​พัฒนา​ชุมชน กระทรวง​มหาดไทย คัดเลือก​มา​เปน​ตนแบบ​ใน​การ​สง
เสริม​การ​บริหาร​การ​จัดการ​ชุมชน​ให​เขมแข็ง​อยาง​ยั่งยืน นาย​ปรีชา บุตร​ศรี อธิบดี​กรมการ​พัฒนา​ชุมชน​กลาว​วา
ประเด็น​ยุทธศาสตร​หนึ่ง​ใน​การ​สงเสริม​การ​บริหาร​การ​จัดการ​ชุมชน คือ การ​เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ผูนำ�​ชุมชน​เพื่อ
ให​ผูนำ�​ชุมชน​เปนกำ�ลัง​หลัก​ใน​การ​บริหาร​การ​จัดการ​ชุมชน​ให​ชุมชน​เขมแข็ง​และ​พึ่งตนเอง​ได​ในที่สุด
หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​14
	 	 ยุทธศาสตร​ใน​การ​ทำ�งาน​ของ​กรมการ​พัฒนา​ชุมชน ทั้ง 5 ประเด็น ประกอบดวย การ​พัฒนา​ทุน​ชุมชน​
การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​ชุมชน​ให​เขมแข็ง การ​เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ผูนำ�​ชุมชน​นำ�​ขับ​เคลื่อน​แผน​ชุมชน และ​การ​สง
เสริม​การ​จัดการ​ความรู​ชุมชน บน​พื้นฐาน​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง  ซึ่ง​มี​เปาหมาย​สราง​ผูนำ�​ชุมชน ระดับ​แกนนำ�​
ทั่วประเทศ​จำ�นวน691,110คน​ภายใน4ปใน​ป2551ดำ�เนินการ​ใน217หมูบาน​ทั่วประเทศเพื่อให​ได​ผูนำ�​ชุมชน
ที่​มี​ภาวะผูนำ� มี​คุณธรรม จริยธรรม องคความรู เปนกลุม​แกนนำ�​ใน​การ​ขับ​เคลื่อน​และ​ผลักดัน​นโยบาย​ของ​รัฐ​ใน​
ระดับ​ชุมชน ให​มี​ทิศทาง​การ​พัฒนา​ชุมชน สอดคลองกับ​การ​พัฒนา​ประเทศ
	 	 “สิ่ง​ที่​ทำ�ให​หมูบาน​ไดรับ​การ​คัดเลือก​มาจาก​การ​ดำ�เนินการ​ทั้ง6ดานประกอบดวยการ​ลด​รายจายเพิ่ม​
รายได การ​เรียนรู อนุรักษ เอื้ออาทร และ​การ​ประหยัด สิ่ง​ที่​คณะกรรมการ​มา​ดู​แลว​ประทับใจ​ที่สุด คือ สถาบัน​
การเงิน”นายส​มาน​กลาว ซึ่ง​ได​นำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ใช​ใน​การ​ดำ�เนินการ​บริหาร​ธนาคาร​ชุมชน กุด​
กะ​เสียน​รวมใจ การ​ประหยัด อดออม อ​อม​เพื่อ​นำ�ไปใช​ใน​การ​ผลิต ไม​นำ�ไปใช​ฟุมเฟอย ให​กู​โดย​ถือ​หลัก​ความ​
พอประมาณ ถือ​หลัก​มีเหตุมีผล และ​มี​ภูมิ​คุมกัน​ใน​ตัว​ที่​ดี ภายใต​เงื่อนไข​ความรู คือ รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง
และ​เงื่อนไข​คุณธรรม ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน​และ​แบงปน​ปจจุบัน​มี​เงินทุน​หมุนเวียน​ประมาณ 14 ลาน​บาท
สมาชิก​สถาบัน​การเงิน​ชุมชน ประกอบดวย​หมู​ที่ 10,11,12 บานกุด​กะ​เสียน ตำ�บล​เขื่องใน ซึ่ง​มี​สมาชิก 246 ครัว
เรือน 285 คน มี​จำ�นวน​สมาชิก​เงินฝาก 464 คน  
	 	 “สราง​ผล​ดี​ให​ชุมชน ผู​กู กู​ถูก คน​ฝาก​ได​ดอกเบี้ย​สูง ตั้งแต​รอยละ 2 สูงสุด​หาก​มี​เงินฝาก 5 แสน​บาท​
ขึ้น​ไป​ดอกเบี้ย​รอยละ 5 บาท​ไม​หัก​ภาษี​ดอกเบี้ย​กู​งาย​กวา แต​ให​กู​เฉพาะ​คนใน​ชุมชน เทานั้น สวน​ผูฝาก​นอก​
ชุมชน ก็​ฝาก​ได​ดอกเบี้ย​เทา​คนใน​ชุมชน แต​กู​ไมได ทำ�ให​ประชาชน​ประหยัด​ดอกเบี้ย​เงินกู​ได  ชุมชน ก็​พึงพอใจ
เสีย​ดอกเบี้ย​นอยกวา​และ​ยัง​ได​สวัสดิการ​กลับ​คืน​สู​ชุมชน “ นายส​มาน ทวี​ศรี ประธาน​กรรมการ​สถาบัน​การเงิน​
ชุมชน กุด​กะ​เสียน​รวมใจ​กลาว
	 	 ใน​มุมมอง​ของ​คนใน​ชุมชน บานกุด​กะ​เสียน​ตาง​บอก​เปน​เสียง​เดียวกัน​วาที่​มี​วันนี้​ได​เพราะ “ผูนำ�​ดี”
เปน​ผูนำ�​ชุมชน ที่​เขมแข็ง นอกจาก​การ​ยอมรับ​ของ​คนใน​ชุมชน แลว​ยังมี​รางวัล​มากมาย​รับรอง อาทิ ผูใหญ​บาน​
ยอดเยี่ยม​แหนบ​ทองคำ�​ป2523กำ�นัน​ยอดเยี่ยม​แหนบ​ทองคำ�​ป2546ประกาศ​เกียรติคุณ“คนดี​ศรี​อุบล”      ป2550
และ​รางวัล​ผูนำ�​ชุมชน ดีเดน​ระดับ​เขต​ป 2550 ใน​ฐานะ​ที่​เปน​แกนนำ�​สราง​รอยยิ้ม​ให​ชุมชน
ตัวอยาง​ของ​ชุมชน​พอเพียง​ดาน​พลังงาน
	 	 ตลอด 3 ป (2549-2551) ของ​การ​เดินหนา​โครงการ​จัดทำ�​แผน​พลังงาน​ชุมชน 80 ชุมชน สนอง​พระ​
ราช​ดำ�ริ “เศรษฐกิจ​พอเพียง” ของ​สำ�นัก​นโยบาย​และ​ยุทธศาสตร สำ�นักงาน​ปลัด​กระทรวง​พลังงาน ดวย​มอง
เห็น​ศักยภาพ​ชุมชน​ใน​การ​จัดการ​ดาน​พลังงาน​ที่​ชุมชน​ทำ�​เอง​ได ภายใต​การ​บริหาร​จัดการ​ทรัพยากร​ทอง​ถิ่นที่​
สามารถ​นำ�มา​เปลี่ยน​เปน​พลังงาน​ทดแทน​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​นั้น​ทำ�ได​จริง
		 “แผน​พลังงาน​ชุมชน” คือ สิ่ง​ที่เกิด​ขึ้นกับ​ทุก​ชุมชน​ที่​เขารวม​ใน​ระยะเวลา​ที่​ตางกัน​พรอมกับ​กลไก​การ​
ทำ�งาน​รวมกัน ระหวาง​ภาค​ชุมชน​และ​ภาค​วิชาการ โดยเฉพาะ​เจาหนาที่​พลังงาน​จังหวัด หรือ​สำ�นักงาน​พลังงาน​
ภูมิภาคซึ่ง​เปน​ตัวแทน​กระทรวง​พลังงาน​ไป​เผยแพร​ความรู​สราง​ความ​เขาใจ“พลังงาน​เรื่อง​ใกล​ตัว”และ​นำ�เสนอ​
เทคโนโลยี​พลังงาน​ทางเลือก หรือ​พลังงาน​ทดแทน​หลาก​หลายประเภท ให​ชาวบาน​เลือก​นำ�ไป​ใชได​อยาง​เหมาะ
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002Thidarat Termphon
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029Kasem Boonlaor
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002Thidarat Termphon
 
อช31002
อช31002อช31002
อช31002patara4
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Thidarat Termphon
 
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002Kasem Boonlaor
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001Thidarat Termphon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002Thidarat Termphon
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003Thidarat Termphon
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายpongtum
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001Thidarat Termphon
 
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลายใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลายpongtum
 
ใบงานวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ
ใบงานวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพใบงานวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ
ใบงานวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพpongtum
 

Tendances (20)

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
 
อช31002
อช31002อช31002
อช31002
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
 
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลายใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
ใบงานการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ม.ปลาย
 
ใบงานวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ
ใบงานวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพใบงานวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ
ใบงานวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ
 

En vedette

ใบงาน วิชาทักษะการเรียนรู้-ประถม
ใบงาน วิชาทักษะการเรียนรู้-ประถมใบงาน วิชาทักษะการเรียนรู้-ประถม
ใบงาน วิชาทักษะการเรียนรู้-ประถมIntrayut Konsongchang
 
ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 3 พว32034
ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 3 พว32034ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 3 พว32034
ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 3 พว32034Kasem Boonlaor
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001Thidarat Termphon
 
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001Thidarat Termphon
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 

En vedette (10)

ใบงาน วิชาทักษะการเรียนรู้-ประถม
ใบงาน วิชาทักษะการเรียนรู้-ประถมใบงาน วิชาทักษะการเรียนรู้-ประถม
ใบงาน วิชาทักษะการเรียนรู้-ประถม
 
ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 3 พว32034
ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 3 พว32034ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 3 พว32034
ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 3 พว32034
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
 
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001

เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้นเศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้นpeter dontoom
 
อช31001
อช31001อช31001
อช31001patara4
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1Trai Traiphop
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001 (20)

16 21001
16 2100116 21001
16 21001
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้นเศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
 
001
001001
001
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
อช31001
อช31001อช31001
อช31001
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
P73240631522
P73240631522P73240631522
P73240631522
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Tc
TcTc
Tc
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
Compare 4451
Compare 4451Compare 4451
Compare 4451
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001

  • 1. หนังสือเรียนรายวิช​าเศรษฐกิจพอเพียง​ ​(ทช 31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต หลักสูตร​การ​ศึกษานอกระบบระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำ�นัก​งาน​สงเสริม​การ​ศึกษานอกระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตามอัธยาศัย​ สำ�นัก​งาน​ปลัด​กระทรวง​ศึกษาธิการ กระทรวง​ศึกษาธิการ​
  • 2. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง (ทช 31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ISBN : 978-974-232-393-6 พิมพครั้ง​ที่ : 1 / 2553 จำ�นวน​พิมพ : 5,000 ​เลม เอกสาร​ทาง​วิชาการ​หมายเลข 64/2552
  • 3. คำ�นำ� สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ได​ดำ�เนินการ​จัดทำ�​หนังสือเรียน​ ชุด​ใหม​นี้​ขึ้น เพื่อ​สำ�หรับ​ใช​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​ตาม​หลักสูตร​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ ระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่​มี​วัตถุ​ประสงค​ใน​การ​พัฒนา​ผูเรียน​ให​มี​คุณธรรม จริยธรรม มี​สติปญญา​และ​ศักยภาพ​ใน​การ​ ประกอบ​อาชีพการ​ศึกษาตอ​และ​สามารถ​ดำ�รงชีวิต​อยู​ใน​ครอบครัว ชุมชน สังคม​ได​อยาง​มี​ความ​สุข โดย​ผูเรียน​ สามารถ​นำ�​หนังสือเรียน​ไป​ใช​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​ดวย​วิธีการ​ศึกษา​คนควา​ดวย​ตน​เอง ปฏิบัติ​กิจกรรม รวมทั้ง​ แบบฝกหัด​เพื่อ​ทดสอบ​ความ​รูความ​เขาใจ​ใน​สาระ​เนื้อหา โดย​เมื่อ​ศึกษา​แลว​ยัง​ไมเขาใจ สามารถ​กลับ​ไป​ศึกษา​ ใหม​ได ผูเรียน​อาจจะ​สามารถ​เพิ่มพูน​ความรู​หลังจาก​ศึกษา​หนังสือเรียน​นี้ โดย​นำ�​ความรู​ไป​แลกเปลี่ยน​กับ​เพื่อน​ ใน​ชั้นเรียน ศึกษา​จาก​ภูมิปญญา​ทองถิ่น จาก​แหลง​เรียนรู​และ​จาก​สื่อ​อื่นๆ ใน​การ​ดำ�เนินการ​จัดทำ�​หนังสือเรียน​ตาม​หลักสูตร​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ ระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับ​ความ​รวมมือ​ที่​ดี​จาก​ผูทรงคุ​วุฒิ​และ​ผู​เกี่ยวของ​หลาย​ทาน​ซึ่ง​ชวยกัน​คนควา​และ​เรียบเรียง​ เนื้อหา​สา​ระ​จาก​สื่อ​ตาง ๆ เพื่อให​ได​สื่อ​ที่​สอดคลองกับ​หลักสูตร​และ​เปน​ประโยชน​ตอ​ผูเรียน​ที่อยู​นอก​ระบบ​ อยาง​แทจริง สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ขอ​ขอบคุณ​คณะ​ที่ปรึกษา​ คณะ​ผู​เรียบเรียง ตลอดจน​คณะ​ผูจัดทำ�​ทุกทาน​ที่​ได​ให​ความ​รวมมือ​ดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย หวัง​วา​หนังสือเรียน​ชุด​นี้​จะ​เปน​ ประโยชน​ใน​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​ตามสมควร หาก​มี​ขอ​เสนอแนะ​ประการใด สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​ นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ขอ​นอม​รับ​ไว​ดวย​ความ​ขอบคุณ​ยิ่ง (นาย​อภิ​ชาติ จี​ระ​วุฒิ) เลขาธิการ กศน.​
  • 4.
  • 5. หนา คำ�นำ� คำ�แนะนำ�​ในการ​ใช​หนังสือเรียน โครงสราง​รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง บท​ที่ 1 ความ​พอเพียง 1 บท​ที่ 2 ชุมชน​พอเพียง 7 บท​ที่ 3 การ​แกปญหา​ชุมชน 19 บท​ที่ 4 สถานการณ​ของ​ประเทศ​ไทย​และ​สถานการณ​โลก​กับ​ความ​พอเพียง 25 ภาค​ผนวก 35 บรรณานุกรม 36 สารบัญ
  • 6. หนังสือ​เรียน​สาระ​ทักษะ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต รายวิชา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ทช 31001 ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอนปลาย เปน​หนังสือ​เรียน​ที่​จัด​ทำ�ขึ้น สำ�หรับ​ผูเรียน​ที่​เปน​นักศึกษา​นอก​ระบบ ใน​การ​ศึกษา​หนังสือ​เรียน​สาระ ผูเรียน​ควร​ปฏิบัติ​ดังนี้ 1. ศึกษา​โครงสราง​รายวิ​ขา​ให​เขา​ใน​ใน​หัวขอ​และ​สาระ​ทักษะ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต รายวิชา​เศรษฐกิจ​พอเพียง สำ�คัญ ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง และ​ขอบขาย​เนื้อหา​ของ​รายวิชา​นั้น ๆ โดย​ละเอียด 2. ศึกษา​รายละเอียด​เนื้อหา​ของ​แตละ​บท​อยาง​ละเอียด และ​ทำ�​กิจกรรม​ตามที่​กำ�หนด และ​ทำ�​กิจกรรม​ตาม กำ�หนด แลว​ตรวจสอบ​กับ​แนว​ตอบ​กิจกรรม​ตามที่​กำ�หนด ถา​ผูเรียน​ตอบ​ผิด​ควร​กลับ​ไป​ศึกษา​และ​ทำ�ความ​เขาใจ​ ใน​เนื้อหา​นั้น​ใหม​ให​เขาใจ กอน​ที่จะ​ศึกษา​เรื่อง​ตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติ​กิจกรรม​ทาย​เรื่อง​ของ​แตละ​เรื่อง เพื่อ​เปนการ​สรุป​ความรู ความ​เขาใจ​ของ​เนื้อหา​ใน​เรื่อง​นั้น ๆ อีกครั้ง และ​การ​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ของ​แตละ​เนื้อหา แตละ​เรื่อง ผูเรียน​สามารถ​นำ�ไป​ตรวจสอบ​กับ​ครู​และ​เพื่อน ๆ ที่​ รวม​เรียน​ใน​รายวิชา​และ​ระดับ​เดียวกัน​ได หนังสือ​เรียน​เลม​นี้​มี 4 บท บท​ที่ 1 ความ​พอเพียง บท​ที่ 2 ชุมชน​พอเพียง บท​ที่ 3 การ​แกปญหา​ชุมชน บท​ที่ 4 สถานการณ​โลก​กับ​ความ​พอเพียง บท​ที่ 5 สถานการณ​ของ​ประเทศไทย ​ คำ�​แนะนำ�​ใน​การ​ใช​หนังสือเรียน
  • 7. สาระสำ�คัญ เศรษฐกิจ​พอเพียง เปน​ปรัชญา​ที่​พระบาท​สมเด็จ​พระเจาอยูหัว ทรง​พระ​ราช​ดำ�รัส​ชี้​แนะแนว ทาง​การ​ดำ�รงอยู​และ​การ​ปฏิบัติตน​ของ​ประชาชน​ใน​ทุก​ระดับ​ให​ดำ�เนิน​ชีวิต​ไป​ในทาง​สายกลาง โดย เฉพาะ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​เพื่อให​กาว​ทัน​ตอ​โลก​ยุค​โลกาภิวัตนความ​พอเพียงหมายถึงความ​พอประมาณ ความ​มี​เหตุผล รวมถึง​ความ​จำ�เปน​ที่จะ​ตอง​มี​ระบบ​ภูมิ​คุมกัน​ใน​ตัว​ที่​ดี​พอสมควร​ตอ​ผล​กระทบ​ใด ๆ อัน​ เกิด​จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ทั้ง​ภายนอก​และ​ภายใน ทั้งนี้​จะ​ตอง​อาศัย​ความ​รอบรู ความ​รอบคอบ​และ​ความ​ ระมัดระวัง​อยางยิ่ง​ใน​การนำ�​วิชาการ​ตาง ๆ มา​ใช​ใน​การ​วางแผน​และ​ดำ�เนินการ​ทุก​ขั้นตอน และ​ขณะ​ เดียวกัน​จะ​ตอง​เสริมสราง​พื้นฐาน​จิตใจ​ของ​คนใน​ชาติ​ให​มี​สำ�นึก​ใน​คุณธรรม ความ​ซื่อสัตย​สุจริต​และ​ให​ มี​ความ​รอบรู​ที่​เหมาะสม​ดำ�เนิน​ชีวิต​ดวย​ความ​อดทน ความ​เพียร มี​สติปญญา​และ​ความ​รอบคอบ เพื่อให​ สมดุล​และ​พรอม​ตอ​การ​รองรับ​การ​เปลี่ยนแปลง​อยาง​รวดเร็ว​และ​กวางขวาง ทั้ง​ดาน​วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม​ และ​วัฒนธรรม​จาก​โลก​ภายนอก​ได​เปน​อยาง​ดี ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง 1. อธิบาย​แนวคิด หลักการ ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ​ของ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ได 2. บอก​แนว​ทางใน​การนำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ประยุกต​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต 3. เห็น​คุณคา​และ​ปฏิบัติ​ตามหลัก​เศรษฐกิจ​พอเพียง 4. ปฏิบัติ​ตน​เปนแบบอยาง​ในการ​ดำ�เนิน​ชีวิต​ตาม​หลักปรัชญา เศรษฐกิจ​พอเพียง​ใน​ชุมชน 5. แนะนำ� สงเสริม​ให​สมาชิก​ใน​ครอบครัว​เห็น​คุณคา​และ​นำ�ไป​ปฏิบัติ​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต 6. มี​สวนรวม​ในชุมชน​ในการ​ปฏิบัติ​ตน​ตาม​หลักปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ขอบขาย​เนื้อหา บท​ที่ 1 ความ​พอเพียง บท​ที่ 2 ชุมชน​พอเพียง บท​ที่ 3 การ​แกปญหา​ชุมชน บท​ที่ 4 สถานการณ​โลก​กับ​ความ​พอเพียง บท​ที่ 5 สถานการณ​ของ​ประเทศไทย โครงสรางรา​ยวิชา​เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย ทช 31001
  • 8.
  • 9. ความ​พอเพียง​ บท​ที่ 1 สาระสำ�คัญ เศรษฐกิจ​พอเพียง​เปน​ปรัชญา​ที่​ยึดหลัก​ทาง​สายกลางที่​ชี้​แนวทาง​ดำ�รงอยู​และ​ปฏิบัติ​ของ​ประชาชน​ ใน​ทุก​ระดับ ตั้งแต​ครอบครัว​ไป​จนถึง​ระดับ​รัฐ ทั้ง​ใน​การ​พัฒนา​และ​บริหาร​ประเทศ ให​ดำ�เนิน​ไป​ในทาง​สาย กลาง​มี​ความ​พอเพียง และ​มี​ความ​พรอมที่จะ​จัดการ​ตอ​ผล​กระทบ​จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ทั้ง​ภายนอก​และ​ภายใน ซึ่ง​จะ​ตอง​อาศัย​ความรู รอบคอบ และ​ระมัดระวัง ใน​การ​วางแผน และ​ดำ�เนินการ​ทุก​ขั้นตอน เศรษฐกิจ​พอ เพียง​ไมใช​เพื่อ​การ​ประหยัด แต​เปนการ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยาง​สมดุล​และ​ยั่งยืน เพื่อให​สามารถ​อยู​ได​แม​ใน​โลก​ โลกา​ภิวัฒน​ที่​มี​การ​แขงขัน​สูง ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง นักศึกษา​มีความรู​ความ​เขาใจ และ​วิเคราะห​แนวคิด​หลักการ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ได ขอบขาย​เนื้อหา เรื่องที่ 1 ความ​เปนมา ความ​หมาย หลัก​แนวคิด เรื่องที่ 2 ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง เรื่องที่ 3 การ​จัดการ​ความรู ​
  • 10. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​2 ​เรื่อง​ที่ 1 ความ​เปนมา ​ความ​หมาย ​หลัก​แนวคิด ​ พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช​ได​พัฒนา​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เพื่อ​ที่​จะ​ให​ พสกนิ​กร​ชาวไทย​ได​เขา​ถึง​ทาง​สายกลาง​ของ​ชีวิต​และ​เพื่อ​คงไว​ซึ่ง​ทฤษฎี​ของ​การ​พัฒนา​ที่​ยั่งยืน ​ทฤษฎี​นี้​เปน​พื้นฐาน​ ของ​การ​ดำ�รงชีวิต​ซึ่ง​อยู​ระหวาง ​สังคม​ระดับ​ทองถิ่น​และ​ตลาด​ระดับ​สากล ​จุดเดน​ของ​แนว​ปรัชญา​นี้​คือ ​แนวทาง​ ที่​สมดุล ​โดย​ชาติ​สามารถ​ทันสมัย ​และ​กาว​สู​ความ​เปน​สากล​ได ​โดย​ปราศจาก​การ​ตอตาน​กระ​แส​โลกา​ภิวัฒน ​ ​ ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​มี​ความ​สำ�คัญ​ใน​ชวง​ป ​พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​ ​เมื่อ​ป​ที่​ประเทศ​ไทย​ตองการ​รักษา​ความ​มั่นคง​และ​ เสถียรภาพ​เพื่อ​ที่​จะ​ยืนหยัด​ใน​การ​พึ่งตนเอง​และ​พัฒนา​นโยบาย​ที่​สำ�คัญ​เพื่อ​การ​ฟนฟู​เศรษฐกิจ ​ของ​ประเทศ​โดย​ การ​สราง​แนวคิด​เศรษฐกิจ​ที่​พึ่งตนเอง​ได ​ซึ่ง​คน​ไทย​จะ​สามารถ​เลี้ยงชีพ​โดย​อยู​บน​พื้นฐาน​ของ​ความ​พอเพียง​ พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​มี​พระ​ราช​ดำ�ริ​วา ​“​มัน​ไมได​มี​ความ​จำ�เปน​ที่​เรา​จะ​กลาย​เปน​ประเทศ​อุตสาหกรรม​ ใหม ​(​N​I​C​)​ ​“​ ​ ​พระองค​ได​ทรง​อธิบาย​วา ​ความ​พอเพียง​และ​การ​พึ่งตนเอง ​คือ ​ทาง​สายกลาง​ที่​จะ​ปอง​กัน​การ​เปลี่ยน​ แปลง​ความ​ไมมั่นคง​ของ​ประเทศ​ได ​ ​ เรื่อง​ที่ 2 ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​“​ ​การ​พัฒนา​ประเทศ​จำ�เปน​ตอง​ทำ�ตาม​ลำ�ดับขั้น ​ตอง​สราง​พื้นฐาน ​คือ ​ความ​พอมีพอกิน ​พอ​ใช​ของ​ ประชาชน​สวน​ใหญ​เปน​เบื้องตน​กอน ​โดย​ใช​วิธีการ​และ​ใช​อุปกรณ​ที่​ประหยัด ​แต​ถูกตอง​ตามหลัก​วิชา​เมื่อ​ได​พื้น ฐาน​มั่นคง​พรอม​พอควร​และ​ปฏิบัติ​ได​แลว​จึง​คอย​สราง​คอย​เสริม​ความ​เจริญ​และ​ฐานะ​เศรษฐกิจ​ขั้น​ที่​สูงขึ้น​โดย​ ลำ�ดับตอไป ​หาก​มุง​แต​จะ​ทุมเท​สราง​ความ​เจริญ ​ยก​เศรษฐกิจ​ขึ้น​ให​รวดเร็ว​แต​ประการ​เดียว ​โดย​ไม​ให​แผน​ปฏิบัติ​ การ​สัมพันธกับ​สภาวะ​ของ​ประเทศ​และ​ของ​ประชาชน​โดย​สอดคลอง​ดวย ​ก็​จะ​เกิด​ความ​ไม​สมดุล​ใน​เรื่อง​ตางๆ​ ​ ขึ้น ​ซึ่ง​อาจ​กลาย​เปนความ​ยุงยาก​ลมเหลว​ได​ใน​ที่สุด” พระ​บรม​ราโชวาท ​ใน​พิธี​พระราชทาน​ปริญญาบัตร​ของ ​มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร ​ณ ​หอประชุม​มหาวิทยาลัย ​เกษตรศาสตร ​ วันพฤหัสบดี​ที่ ​1​8​ ​กรกฎาคม ​พ.​ศ.​ ​2​5​1​7​ ​ ​ ​“​ ​ ​คน​อื่น​จะ​วา​อยางไร​ก็ชาง​เขา​จะ​วา​เมืองไทย​ลาสมัย ​วา​เมืองไทย​เชย ​วา​เมืองไทย​ไมมี​สิ่ง​ใหม​แต​เรา​ อยู ​อยาง​พอมีพอกิน ​และ​ขอ​ให​ทุกคน​มี​ความ​ปรารถนา​ที่​จะ​ให​เมืองไทย​พอ​อยู​พอ​กิน ​มี​ความ​สงบ​ชวย​กัน​รักษา​ สวนรวม ​ให​อยู​ที​พอสมควร ​ขอ​ย้ำ�​พอควร ​พอ​อยู​พอ​กิน ​มี​ความ​สงบ​ไม​ให​คน​อื่น​มา​แยง​คุณสมบัติ​ไป​จาก​เรา​ได”​ ​พระ​ราช​กระ​แส​รับสั่ง​ใน​เรื่อง​เศรษฐกิจ​พอเพียง​แก​ผู​เขาเฝา​ถวายพระพร​ชัย​มงคล ​เนื่อง​ใน​วัน​เฉลิม​พระ​ชนมพรรษา​แต​พุทธศักราช ​ 2​5​1​7​ ​ ​“​ ​การ​จะ​เปน​เสือ​นั้น​มัน​ไม​สำ�คัญ ​สำ�คัญ​อยู​ที่​เรา​พอ​อยู​พอ​กิน ​และ​มี​เศรษฐกิจ​การ​เปน​อยู​แบบ​พอมีพอ กิน ​แบบ​พอมีพอกิน ​หมายความวา ​อุมชู​ตัวเอง​ได ​ให​มี​พอเพียง​กับ​ตัวเอง ”​ ​ พระ​ราชำ�​ดำ�รัส ​“​เศรษฐกิจ​แบบ​พอเพียง”​ ​พระบาท​สมเด็จพระปร​มินทร​มหา​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช ​พระราชทาน​ เมื่อ​วัน​ที่ ​ 4​ ​ ธันวาคม พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​ ​​​​​​​
  • 11. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 3 ​ ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ที่​ทรง​ปรับปรุง​พระราชทาน​เปน​ที่มา​ของ​นิยาม ​“​3​ ​หวง ​2​ ​เงื่อนไข”​ ​ที่​ คณะ​อนุกรรมการ​ขับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​สำ�นักงาน​คณะกรรมการ​พัฒนาการ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ ​ นำ�มา​ใช​ใน​การ​รณรงค​เผย​แพร ​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ผาน​ชองทาง​ตางๆ​ ​อยู​ใน​ปจจุบัน ​ซึ่ง​ประกอบดวย​ ความ ​“​ ​พอประมาณ ​ ​มี​เหตุผล ​ ​มี​ภูมิ​คุม​กัน ​”​ ​บน​เงื่อนไข ​“​ความรู ​และ ​คุณธรรม”​ ​ อภิชัย ​พัน​ธเสน ​ผู​อำ�นวยการ​สถาบัน​การ​จัดการ​เพื่อ​ชนบท​และ​สังคม ​ได​จัด​แนวคิด​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง วา​เปน ​“​ขอเสนอ​ใน​การ​ดำ�เนิน​กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​ตาม​แนวทาง​ของ​พุทธธรรม​อยาง​แทจริง”​ ​ทั้งนี้​เนื่องจาก​ใน​ พระ​ราช​ดำ�รัส​หนึ่ง ​ได​ให​คำ�​อธิบาย​ถึง ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงวา ​“​คือ​ความ​พอประมาณ ​ซื่อตรง ​ไม​โลภมาก ​และ​ตอง​ ไม​เบียดเบียน​ผูอื่น”​ ​ ​ ระบบ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​มุงเนน​ให​บุคคล​สามารถ​ประกอบ​อาชีพ​ได​อยาง​ยั่งยืน ​และ​ใช​จายเงิน​ให​ได​มา​ อยาง​พอเพียง​และ​ประหยัด ​ตามกำ�ลัง​ของ​เงิน​ของ​บุคคล​นั้น ​โดย​ปราศจาก​การ​กู​หนี้​ยืม​สิน ​และ​ถา​มี​เงิน​เหลือ ​ก็​ แบง​เก็บ​ออมไว​บางสวน ​ชวยเหลือ​ผูอื่น​บางสวน ​และ​อาจ​จะ​ใชจาย​มา​เพื่อ​ปจจัย​เสริม​อีก​บางสวน ​(​ปจจัย​เสริม​ใน​ ที่นี้​เชน ​ทองเ​ที่ยว ​ความ​บันเทิง ​เปนตน)​ ​สาเหตุ​ที่​แนวทาง​การ​ดำ�รงชีวิต​อยาง​พอเพียง ​ได​ถูก​กลาว​ถึง​อยาง​กวาง ขวาง​ใน​ขณะนี้​เพราะ​สภาพ​การ​ดำ�รงชีวิต​ของ​สังคม​ทุนนิยม​ใน​ปจจุบัน​ได​ถูก​ปลูกฝง ​สราง ​หรือ​กระตุน ​ให​เกิด​ การ​ใชจาย​อยาง​เกินตัว​ใน​เรื่อง​ที่​ไม​เกี่ยวของ​หรือ​เกิน​กวา​ปจจัย​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต ​เชน ​การ​บริโภค​เกินตัว ​ความ​ บันเทิง​หลากหลาย​รูป​แบบ​ความ​สวย​ความ​งาม ​การ​แตงตัว​ตาม​แฟชั่น ​การ​พนัน​หรือ​เสี่ยงโชค ​เปนตน ​จน​ทำ�​ให​ ไมมีเงิน​เพียงพอ​เพื่อ​ตอบสนอง​ความ​ตองการ​เหลา​นั้น ​สงผล​ให​เกิด​การ​กู​หนี้​ยืม​สิน ​เกิด​เปน​วัฏจักร​ที่​บุคคล​หนึ่ง​ ไม​สามารถ​หลุด​ออกมา​ได ​ถา​ไม​เปลี่ยน​แนวทาง​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต ​ ​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ ​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ ​ ​ ​ ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุมกันมีเหตุผล เงื่อนไข​ความรู (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไข คุณธรรม (ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน แบง​เปน) ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สมดุล มั่นคง ยั่งยืน
  • 12. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​4 ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ ​คือ​การ​ยึดหลัก ​5​ ​ประการ ​ที่​สำ�คัญ​ใน​การ​ดำ�เนินการ​ได​แก ​ 1​.​ ​ทาง​สายกลาง​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต ​ตั้ง​แต​ระดับ​ครอบครัว ​ชุมชน ​และ​ระดับ​รัฐ​รวม​ถึง​เศรษฐกิจ​ใน​ทุก​ระดับ 2​.​ มี​ความ​สมดุล ​มี​ความ​สมดุล​ระหวาง​คน ​สังคม ​สิ่ง​แวดลอม ​และ​เศรษฐกิจ ​มี​ความ​สมดุล​ใน​การ​ผลิต​ ที่​หลากหลาย ​ใช​ทรัพยากร​ที่​มี​อยู​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ 3​.​ ​มี​ความ​พอประมาณ ​ความ​พอเพียง​ใน​การ​ผลิต​และ​การ​บริโภค ​บน​พื้นฐาน​ของ​ความ​พอประมาณ​ อยาง​มี​เหตุผล ​ไม​ขัดสน ​ไม​ฟุมเฟอย ​ใน​การ​ใช​ทรัพยากร​ธรรมชาติ​และ​เทคโนโลยี​ที่​มี​ความ​พอเพียง ​ 4​.​ ​มี​ระบบ​ภูมิ​คุม​กัน ​มี​ภูมิ​คุม​กัน​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต ​มี​สุขภาพ​ดี ​มี​ศักยภาพ ​มี​ทักษะ​ใน​การ​แกไข​ปญหา​ และ​มี​ความ​รอบรู​อยาง​เหมาะสม​พรอม​รับ​ผล​กระทบ​ของ​การ​เปลี่ยน​แปลง​ทั้ง​จาก​ภายนอก​และ ภาย​ในประเทศ ​ 5​.​ ​รูเทา​ทันโลก ​มีความรู ​มี​สติปญญา ​ความ​รอบคอบ ​มี​ความ​อดทน ​ มี​ความ​เพียร ​มี​จิต​สำ�นัก​ใน​คุณธรรม ​ และ​ความ​ซื่อสัตย ​ ​นาย​แพทย​ปราชญ ​ ​บุญย​วงศ​วิโรจน ​ ​ปลัด​กระทรวง​สาธารณสุข​บรรยาย​เรื่อง ​การ​ขับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ระดับ​ ชุมชนใน​ลักษณะ​บูรณาการ ​ เรื่อง​ที่ 3 ​การ​จัดการ​ความรู ​ ​​​​​ ​แม​วาการ​อธิบาย ​ถึง​คุณลักษณะ​และ​เงื่อนไข​ใน​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ ​จะ​ใช​คำ�​วา​ความรู ​อันเปน​ที่​ ตกลง​และ​เขา​ใจ​กัน​ทั่วไป ​ ​แต​หาก​พิจารณา​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ที่​ได​ทรง​พระ​กรุณา​ปรับปรุง​แกไข ​ ​และ​ พระราชทาน​พระบรมราชานุญาต ​ ​ให​นำ�ไป​เผย​แพร​อยาง​ละเอียด​นั้น ​กลับ​พบ​คำ�​วา ​“​ความ​รอบรู” ​ซึ่ง​กิน​ความ​ มากกวา​คำ�​วา ​“​ ​ความรู ​“​ ​คือ​นอกจาก​จะ​อาศัย​ความรู​ใน​เชิง​ลึก​เกี่ยวกับ​งาน​ที่​จะ​ทำ�​แลว ​ ​ยัง​จำ�เปน​ตอง​มีความรู​ ใน​เชิง​กวาง ​ ​ ​ได​แก​ความ​รูความ​เขา​ใจ​ใน​ขอ​เท็จ​เกี่ยวกับ​สภาวะ​แวดลอม ​ ​และ​สถานการณ​ที่​เกี่ยวพัน​กับ​งาน​ที่​จะ​ ทำ�​ทั้งหมด ​ ​โดยเฉพาะ​ที่​พระองค​ทาน​ทรง​เนน ​คือ​ระบบ​ชีวิต​ของ​คน​ไทย​อัน​ได​แก​ความ​เปน​อยู ​ความ​ตองการ ​ วัฒนธรรม ​และ​ความ​รูสำ�นึก​คิด​โดย​เบ็ดเสร็จ ​ ​จึง​จะ​ทำ�งาน​ให​บรรลุ​เปาหมาย​ได ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ การนำ�​องคประกอบ​ดาน​ความรู​ไป​ใช​ใน​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ประยุกต​ใช​ในทาง​ธุรกิจ ​ ​จึง​มิได ​จำ�กัด​อยู​เพียง​ความรู ​ ​ที่​เกี่ยวของ​กับ​มิติ​ทาง​เศรษฐกิจ ​ที่​คำ�นึง​ถึง​ความ​อยูรอด ​ ​กำ�ไร ​หรือ​การ​เจริญ​เติบโต​ของ​ กิจการ​แตเพียง​อยางเดียว ​ ​แต​รวม​ถึง​ความรู​ที่​เกี่ยวของ​กับ​มิติ​ทาง​สังคม ​สิ่ง​แวดลอม ​และ​วัฒนธรรม​ของ​คน​ใน​ ทองถิ่น​นั้นๆ​ ​สอดคลอง​ตามหลัก ​การ​ไมติด​ตำ�รา ​ ​เชน ​ไม​ควร​นำ�​เอา​ความรู​จาก​ภายนอก ​หรือ​จาก​ตางประเทศ ​ ​มา​ ใชกับ​ประเทศ​ไทย​โดย​ไม​พิจารณา​ถึง​ความ​แตกตาง ​ ​ในดาน​ตางๆ​อยาง​รอบคอบ​ระมัดระวัง ​ ​หรือ​ไม​ควร​ผูกมัด​ กับ​วิชาการ​ทฤษฎี ​และ​เทคโนโลยี​ที่​ไม​เหมาะสมกับ​สภาพ​ชีวิต ​ ​และ​ความ​เปน​อยู​ที่​แทจริง​ของ​คน​ไทย​และ​สังคม​ไทย ยิ่ง​ไป​กวา​นั้น ​ความรู ​ ​ที่​ปรากฏ​ใน​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ ​ยัง​ประกอบ​ไป​ดวย ​ ​ความ​ระลึก​รู (​สติ)​กับ ​ความ​รูชัด ​(​ปญญา)​ ​ซึ่ง​ถือเปน​องคประกอบ​สำ�คัญ​ที่​วิชาการ​หรือ​ทฤษฎี ​ใน​ตะวันตก​ที่​เกี่ยวกับ​การ”​ จัดการ​ความรู ​ ​ยัง​ไม​ครอบคลุม​ถึง ​หรือยัง​ไมพัฒนา​กาวหนา​ไป​ถึงขั้น​ดังกลาว ​จึง​ไมมี​แนวคิด ​หรือ​เครื่องมือ​ทาง​ การ​บริหาร​จัดการ​ความรู​ใดๆ​ที่​มี​ความ​ละเอียด​ลึกซึ้ง​เทากับ​ที่​ปรากฏ​อยู​ใน​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​อีก​แลว ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ พิพัฒน ​ ​ยอด​พฤติ​การ ​ ​ได​กลาว​ไว​ใน​บทความ ​เรื่อง​ที่​มัก​เขา​ใจ​ผิด​เกี่ยวกับ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงวา
  • 13. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 5 ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มี​รากฐาน​มาจาก​แนวคิด​ใน​การ​สราง​ความ ​“​พอ​มี”​ ​(​คือ​การ​ผลิต)​ ​“​พอ​กิน-​พอ​ใช”​ ​(​การ​บริโภค)​ ให​เกิดขึ้น​แก​ประชาชน​สวน​ใหญ​ของ​ประเทศ ​เพราะ​ถา​ประชาชน​สวน​ใหญ​ของ​ประเทศ​ยัง​ยากไร​ขัดสน ​ยังมี​ ชีวิต​ความ​เปน​อยู​อยาง​แรน​แคน ​ ​การ​พัฒนา​ประเทศ​ก็​ยัง​ถือวา​ไม​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ ​ ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​สำ�หรับ​คน​ทุก​กลุม ​มิ​ใช​แค​เกษตรกร ​การ​สราง​ความ​ความ ​“​พอ​กิน-​พอ​ใช”​ ​ใน​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงนี้ ​ ​มุงไป​ที่​ประชาชน​ใน​ทุก​กลุม​สาขา​อาชีพ​ที่​ยังมี​ชีวิต​ แบบ ​“​ไม​พอ​กิน-​ไม​พอ​ใช”​ ​หรือยัง​ไม​พอเพียง ​ซึ่ง​มิได​จำ�กัด​อยู​เพียง​แค​คน​ชนบท ​หรือ​เกษตรกร ​เปน​แต​เพียงวา ​ ประชาชน​สวน​ใหญ​ของ​ประเทศ​ที่​ยัง​ยากจน​นั้น​มี​อาชีพ​เกษตรกร​มากกวา​สาขา​อาชีพ​อื่น ​ ​ทำ�​ให​ความ​สำ�คัญ​ลำ�ดับ​ แรก​จึง​มุง​เขาสู​ภาคเกษตร​หรือ​ชนบท​ที่​แรน​แคน ​จน​มี​รูปธรรม​ของ​การ​ประยุกต​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ออกมา​ เปน​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม ​อันเปน​ที่​ประจัก​ใน​ความ​สำ�เร็จ​ของ​การ​ยกระดับ​ชีวิต​ความ​เปน​อยู​ของ​เกษตรกร​ให ​“​พอ​มี”​ ​ “​พอ​กิน-​พอ​ใช”​ ​หรือ​สามารถ​พึ่งตนเอง​ได ​ใน​หลาย​พื้น​ที่​ทั่วประเทศ ​
  • 14. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​6 กิจกรรมที่ 1 1.ให​นักศึกษา​แบงกลุมแลกเปลี่ยน​และ​วิเคราะห​ประเด็น​ภายใน​กลุม​แลว​เลือก​ผูแทน​กลุมออกมา​ นำ�เสนอ ตาม​ใบ​งาน​ตอไปนี้ 1. ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง หมายถึง​อะไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. เศรษฐกิจ​พอเพียง ทาน​สามารถ​ปรับใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยางไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ​ ใบ​งาน​ที่ 1
  • 15. ชุมชน​พอเพียง​ บท​ที่ 2 สาระสำ�คัญ ชุมชน​ที่​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ เปนกำ�ลัง​สำ�คัญ​ใน​การ​ขับ​ เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง นัก​วิชาการ​หลาย​ทาน​ได​ศึกษา​และ​วิเคราะห​เรื่อง​การ​พัฒนา​ชุมชน เพื่อ​มุงสู​การ​เปน​ ชุมชน​ที่​พอเพียง รวมทั้ง​ตัวอยาง​ของ​ชุมชน​พอเพียง​ที่​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ และ​ตัวอยาง​ของ​ชุมชนพอเพียง​ ดาน​พลังงาน ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง 1. นักศึกษา​สามารถ​อธิบาย และ​วิเคราะห​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน องคกร​ตามหลัก​ปรัชญา​ เศรษฐกิจ​พอเพียง 2. อธิบาย​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชนองคกรและ​ประยุกต​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยาง​สมดุลพรอม​รับ​ ตอ​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​ชุมชน​ได ขอบขาย​เนื้อหา ​เรื่อง​ที่ 1 ความ​หมายโครงสราง​ของชุมชน ​เรื่อง​ที่ 2 กา​รพัฒนา​ชุมชน ​
  • 16. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​8 เรื่องที่ 1 ความหมายโครงสรางของชุมชน ความ​หมาย​ของ​ชุมชน ชุมชน​ หมายถึง​ถิ่นฐาน​ที่อยู​ของ​กลุมคน ถิ่นฐาน​นี้​มี​พื้นที่​อางอิง​ได และ​ กลุมคน​นี้​มี​การ​อยูอาศัย​รวมกัน มี​การ​ทำ�​กิจกรรม เรียนรู ติดตอ สื่อสาร รวมมือ​และ​พึ่งพา​อาศัย​กัน มี​วัฒนธรรม​ และ​ภูมิปญญา​ประจำ�ถิ่น มี​จิตวิญญาณ และ​ความ​ผูกพัน​อยู​กับ​พื้นที่​แหงนั้น อยู​ภายใต​การ​ปกครอง​เดียวกัน โครงสราง​ของ​ชุมชน ประกอบดวย 3 สวน​คือ 1. กลุมคน หมายถึง การ​ที่​คน 2 คน​หรือ​มากกวา​นั้น​เขามา​ติดตอ​เกี่ยวของ​กัน และ​มี​ปฏิสัมพันธ​ตอกัน​ ทาง​สังคม​ใน​ชั่วเวลา​หนึ่ง​ดวย ความ​มุงหมาย​อยาง​ใด​อยาง​หนึ่ง​รวมกัน 2. สถาบัน​ทาง​สังคม เมื่อ​คน​มา​อยู​รวมกัน​เปนกลุม​แลว และ​มี​วิวัฒนาการ​ไป​ถึงขั้น​ตั้ง​องคกร​ทาง​สังคม​ แลว ก็​จะ​มี​การ​กำ�หนด​แบบแผน​ของ​การ​ปฏิบัติ​ตอกัน​ของ​สมาชิก​ใน​กลุม​เพื่อ​สามารถ​ดำ�เนินการ​ตาม​ภารกิจ 3. สถานภาพ​และ​บทบาท​สถานภาพ หมายถึง ตำ�แหนง​ทาง​สังคม​ของ​คนใน​กลุม​หรือ​สังคม​บทบาท หมายถึง พฤติกรรม​ที่​คนใน​สังคม​ตอง​ทำ�ตาม​สถานภาพ​ใน​กลุม​หรือ​สังคม ​เรื่อง​ที่ 2 การพัฒนา​ชุมชน ชุมชน​ที่​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ ตอง​มี​องคประกอบ​สำ�คัญ​ หลาย​ประการ​และ​สามารถ​พัฒนา​หรือ​ควบคุม​องคประกอบ​เหลานั้น​ได โดย​ผู​ศึกษา​ไว​ดังนี้ มี​นัก​วิชาการ​หลาย​ ทาน​ที่​ได​ศึกษา​และ​วิเคราะห​องค​ประกอบการ​พัฒนา​ชุมชน​ไว​ตาม​แนวคิด​การ​พัฒนา​ชุมชน ดัง​ตอไปนี้ สนท​ยา พลตรี (2533 : 65 – 68) ได​กลาว​ถึง​การ​พัฒนา​ชุมชน​วา​มี​องคประกอบ 2 ประการ สรุป​ได​ดังนี้ 1. การ​เขา​มี​สวนรวม​ของ​ประชาชน​เอง เพื่อที่จะ​ปรับปรุง​ระดับ​ความ​เปนอยู​ให​ดีขึ้น โดย​จะ​ตอง​พึ่ง ตนเอง​ให​มาก​ที่สุด​เทาที่จะ​เปนได และ​ควร​เปนความ​ริเริ่ม​ของ​ชุมชน​เอง​ดวย 2. การ​จัดให​มี​การ​บริการ​ทาง​เทคนิค​และ​บริการ​อื่น ๆ ที่จะ​เรงเรา​ให​เกิด​ความคิด​ริเริ่ม การ​ชวย​ตน​เอง 3. ชวยเหลือ​กัน​และ​กัน อันเปน​ประโยชน​มาก​ที่สุด คณะกรรมการ​พัฒนาการ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ (2539 : 1 – 2) ได​กลาว​ถึง​ลักษณะ​การ​พัฒนา​คน​ และ​สิ่งแวดลอม ซึ่ง​อาจ​ถือวา​เปน​องคการ​พัฒนา​ชุมชน​ดวย สรุป​ได​ดังนี้ 1. การ​พัฒนา​คน​ประกอบดวย 4 ดาน​ดังนี้ ดาน​จิตใจ ดาน​รางกาย ดาน​สติปญญา ดาน​บุคลิกภาพ 2. การ​พัฒนา​สภาพแวดลอม​ให​เอื้อ​ตอ​การ​พัฒนา ประกอบดวย 4 ดาน​ดังนี้ ดาน​เศรษฐกิจ ดาน​ครอบครัว​และ​ชุมชน ดาน​ทรัพยากร​และ​สิ่งแวดลอม ดาน​การ​บริหาร​จัดการ​และ​การเมือง
  • 17. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 9 ​ สุพั​ตรา สุภาพ (2536 : 124 – 126) ได​กลาว​ถึง​ปจจัย​ที่​มี​อิทธิพล​ตอ​การ​เปลี่ยนแปลง​ทาง​สังคม ซึ่ง​เปน​ องค​ประกอบการ​พัฒนา​ชุมชน วา​มี 7 ประการ​ดังนี้ 1. สิ่งแวดลอม​ทาง​ธรรมชาติ หาก​มี​ความ​สมบูรณ​จะ​สงผลให​ชุมชน​มี​การ​พัฒนา​ได​รวดเร็ว​และ​มั่นคง 2. การ​เปลี่ยน​แปล​ลง​ดาน​ประชากร การ​เพิ่ม​ประชากร​มี​คุณภาพ​สามารถ​สราง​ให​เกิด​การ​พัฒนา​ดาน​ เศรษฐกิจ สังคม และ​การเมือง​ทันสมัย​ขึ้น 3. การ​ได​อยู​โดดเดี่ยว​และ​ติดตอ​เกี่ยวของชุมชน​ใด​ที่​มี​การ​ติดตอกัน​ทำ�​ใหการ​พัฒนา​เปนไป​อยาง​รวดเร็ว 4. โครงสราง​ของ​สังคม​และ​วัฒนธรรมชุมชน​ที่​มี​การ​เคารพ​ผูอาวุโส​จะ​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​นอยคานิยม​ ตาง ๆ ชวย​ให​รูวา​ชุมชน​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​เกิด​การ​พัฒนาขึ้น​มาก​นอย​เพียงไร 5. ทัศนคติ​และ​คานิยม การ​มี​คานิยม​ดาน​อาชีพ ดาน​บริโภค เปน​สวน​ของ​การ​ชัด​การ​พัฒนา​ใน​ชุมชน​ นั้น​ได 6. ความ​ตองการ​รับรู การ​ยอมรับ​สิ่ง​ประดิษฐ​ใหม ๆ จะ​เปน​เครื่องชี้​ทิศทาง​และ​อัตรา​การ​เปลี่ยนแปลง​ ของ​ชุมชน 7. พื้นฐาน​ทาง​วัฒนธรรม ถา​มี​ฐาน​ที่​ดี​สิ่ง​ใหม​ที่จะ​เกิดขึ้น​ยอม​ดี​ตาม​พื้นฐาน​เดิม​ดวย พลาย​พล คุม​ทรัพย (2533 : 44 – 47) ได​กลาว​ถึง​ปจจัย​ที่​สามารถ​ใช​ใน​การ​พัฒนา​ชุมชน ซึ่ง​เปน​องค​ ประกอบการ​พัฒนา​ชุมชน วา​ประกอบดวย 3 ปจจัย ดังนี้ 1. โครงสราง​ทาง​สังคม ครอบครัว​ที่​มี​ขนาดเล็ก​และ​มี​โครงสราง​ไมซับซอน​จะ​สงผลให​ชุมชน​นั้น​ พัฒนา​ได​ดีกวา​ชุมชน​ที่​มี​โครงสราง​ทาง​ครอบครัว​ที่​ซับซอน 2. โครงสราง​ทาง​ชนชั้น ใน​ชุมชน​ที่​มี​โครงสราง​แบบ​เปด ที่​สามารถ​เปลี่ยนแปลง​ฐานะ​ทาง​สังคม​ได​ งาย ชุมชน​นั้น​จะ​เกิด​การ​พัฒนา 3. ความ​แตกตาง​ทาง​เผาพันธุ เชื้อชาติ และ​ศาสนา ความ​แตก​ตางหาก​เกิดขึ้น​ใน​ชุมชน​ใด​ยอม​เปน​ อุปสรรค​ตอ​การ​พัฒนา ตามลำ�ดับ​ความ​แตกตาง ​ ยุวัฒนวุฒิ​เมธี(2531:58–63)กลาว​ถึง​ปจจัย​ที่​เกื้อกูล​ใหการ​พัฒนา​ชนบท​บรรลุ​ความ​สำ�เร็จจำ�​เปนตอ​ การ​พัฒนา วาดวย​องคประกอบ และ​สวนประกอบ​ยอย​ของ​องคประกอบ ดังนี้ 1. นโยบาย​ระดับชาติ ฝายบริหาร​จะ​สามารถ​ดำ�เนินการ​แผน​พัฒนา​ได​ตอเนื่อง และ​มี​เวลา​พอที่จะ​เห็น​ ความ​ถูกตอง คุมคา มี​แนวทาง​ประสาน​ประโยชน​ระหวาง​รัฐ​และ​เอกชน และ​ความ​รวมมือ​ระหวาง​ประเทศ​จะ​ ตอง​เกื้อกูล​ตอ​การ​พัฒนา 2. องคการ​บริหาร​การ​พัฒนา​ชนบท ที่​มี​องคกร​กลาง​ทำ�หนาที่​ประสาน​นโยบาย​แผนงาน​และ​โครงการ​ อยาง​มี​ประสิทธิภาพ​และ​มี​อำ�นาจ​เด็ดขาด​ใน​การ​ลงทุน​ใน​หนวย​ปฏิบัติ​ตอง​ดำ�เนินการ​ตาม​นโยบาย แผนงาน และ​ โครงการ​ใน​แผน​ระดับชาติ และ​จัด​งบ​ประมาณการ​ติดตาม​ควบคุม​ที่​มี​ประสิทธิภาพ 3. วิทยา​การ​ที่​เหมาะสม​และ​การ​จัดการ​บริการ​ที่​สมบูรณ เลือก​พื้นที่​และ​กลุม​เปาหมาย​ที่​สอดคลองกับ​ ความ​เปนจริง และ​เลือก​วิทยา​การ​ที่​ประชาชน​จะ​ไดรับ​ให​เหมาะสม 4. การ​สนับสนุน​ระดับ​ทองถิ่น ความ​รับผิดชอบ​ของ​การ​สนับสนุน​งาน​ใน​ทอง​ถิ่นที่​มี​ประสิทธิภาพ​จะ​ เกิด​การ​พัฒนา​อยาง​แทจริง​ใน​ระยะยาว 5. การ​ควบคุม​ดูแล​และ​ติดตาม​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน ควร​เปนไปตาม​แผนงาน​และ​โครงการ​ทุก​ระดับ​และ​ ครอบคลุม​ทุก​พื้นที่ พรอมทั้ง​ให​สถาบัน​การ​ศึกษา​ทองถิ่น​ติดตาม​ประเมินผล ​
  • 18. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​10 อัชญา เคารพา​พงศ(2541 : 82 – 83)กลาว​ถึง​ปจจัย​สวนประกอบ​ที่​มือทธิ​พล​ตอ​การ​พัฒนา สรุป​ได​ดังนี้ 1. ผูนำ� ไดแก ผูนำ�​ทองถิ่น ทั้ง​เปนทางการ​และ​ไม​เปนทางการ​ใน​หมูบาน และ​จาก​องคกร​ภาครัฐ มี​ สวน​ให​ชุมชน​พัฒนา​ในทาง​ที่​ดีขึ้น เปน​ประโยชน ชุมชน​มี​เจตคติ​ที่​ดี​ยอมรับ​สิ่ง​ใหม​และ​สราง​พลัง​ตอสู​เพื่อ​การ​ เปลี่ยนแปลง 2. สังคม – วัฒนธรรม การ​ไดรับ​วัฒนธรรม​จาก​สังคมเมือง​มา​ปฏิบัติ​ทำ�ให​ชุมชน​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง 3. สิ่งแวดลอม การ​ปรับปรุง​สภาพแวดลอม​ภูมิศาสตร​ชุมชน สงผลให​ที่ดิน​อุดมสมบูรณ​ราคา​สินคา เกษตร​ดี ความ​เปนอยู​สะดวกสบาย​กวา​เดิม 4. ประวัติ​ศาสตร เหตุการณ​สำ�คัญ​ในอดีต​มีผลตอ​การ​พัฒนา​ความ​สามัคคี รัก​พวกพอง ชวยเหลือ​ซึ่ง​ กัน​และ​กัน ปรียา พรหม​จันทร (2542 : 25) ได​สรุป​องคประกอบ​ที่​เปน​ปจจัย​การ​พัฒนา​ชุมชน​ได​ดังนี้ 1. ดาน​เศรษฐกิจ ชุมชน​ที่​เศรษฐกิจ​ดี​การ​พัฒนา​ชุมชน​สามารถ​พัฒนา​ไดดี​ดวย 2. ดานสังคม วัฒนธรรม และ​สิ่งแวดลอม เปน​บริบท​ที่​ปรับ​เปลี่ยน​สภาพ​ชุมชน​ไป​ตาม​ปจจัย 3. ดาน​การเมือง หมาย​รวมถึง​การเมือง​ระดับชาติ​และ​ชุมชน​ระดับ​ทองถิ่น 4. ดาน​ประวัติ​ศาสตร โดย​อาศัย​ประสบการณ​และ​วิกฤต​ของ​ชุมชน​เปน​ฐาน​และ​บทเรียน​การ​พัฒนา ชุมนุม นอกจากนี้​ปรียา พรหม​จันทร ยัง​ได​จำ�แนก​ออก​เปน​องคประกอบ​ที่​เปน​ปจจัย​การ​พัฒนา​ชุมชน​ปจจัย​ โดย​ตรง เชน คน ทุน ทรัพยากร การ​จัดการ เปนตน และ​ปจจัย​โดย​ออม เชน ภาวะ​เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การ​ ปกครอง เปนตน ไพบูลย ​วัฒนศิริ​ธรรม (2549) ได​กลาว​ถึง​การ​สราง​และ​พัฒนา​คน​รุนใหม​เพื่อ​พัฒนา​ชุมชน​ทองถิ่น มี​ ปจจัย​สำ�คัญ 4 ประการ ซึ่ง​ถือเปน​องคปะก​อบ​การ​พัฒนา​ชุมชน ดังนี้ 1. สังคม​ดี สิ่งแวดลอม​ดี มี​โอกาส​ใน​อาชีพ และ​กิจกรรม​ที่​หลากหลาย รวมไปถึง​วิถี​ชีวิต ศิลป​ วัฒนธรรม ความ​อบอุน ความ​สุข ความ​เจริญ​กาว​หนาที่​พึง​คาดหวัง​ใน​อนาคต​ดวย 2. ระบบ​การ​ศึกษา​ของ​ชาติ มี​เปาหมาย​ใน​การ​ผลิต​คน​เพื่อ​การ​พัฒนา​ชุมชน​หรือ​ทองถิ่น ให​เปนที่​พึง ปรารถนา​ของ​ทองถิ่น​เพียงไร 3. รัฐธรรมนูญ​และ​นโยบาย​ของ​รัฐ ที่​เอื้อ​ตอ​การ​พัฒนา​ชุมชน​ทองถิ่น​ให​เปนที่​พึงปรารถนา​นาอยู บทบาท​ของ​ชุมชน มี​สิ่ง​สำ�คัญ 3 ประการ คือ ความ​รัก​และ​ความ​ดี การ​เรียนรู​ที่​มากกวา​ความรู และ​การ​จัดการ​กับ​ ปจจัย​ชุมชน​ตาง ๆ กิจกรรม​ที่​ชุมชน​ตอง​รับผิดชอบ​คือ - ตั้ง​คณะกรรมการ​บริหาร - ประเมิน​สภาพ​ของ​ชุมชน - เตรียม​แผนการ​ปฏิบัติ - หา​ทรัพยากร​ที่​จำ�เปน - ทำ�ให​แนใจ​วา​กิจกรรม​ของ​ชุมชน​ทั้งหมด จะ​ตอง​มี​การ​ติดตาม​และ​การ​บริหาร​ที่​มี ประสิทธิภาพ​ สูงสุด​สำ�หรับ​การ​ปฏิบัติ​งาน
  • 19. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 11 แบบจำ�ลองชุมชนที่มีการบริหารจัดการที่ดี​ แผนชุมชนที่มีพลัง​
  • 20. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​12 กระบวนการ​ชุมชน 1. วิเคราะห​ชุมชน 2. การ​เรียนรู​และ​การ​ตัดสินใจ​ของ​ชุมชน 3. การ​วางแผน​ชุมชน 4. การ​ดำ�เนิน​กิจกรรม​ชุมชน 5. การ​ประเมินผล​การ​ดำ�เนินงาน​ของ​ชุมชน องค​ประกอบการ​ขับ​เคลื่อน​ชุมชน 1. โครงสราง​พื้นฐาน​ทาง​สังคม​ของ​ชุมชน 2. ความคิด​พื้นฐาน​ของ​ประชาชน 3. บรรทัดฐาน​ของ​ชุมชน 4. วิถี​ประชาธิปไตย ตัวอยาง​ชุมชน​พอเพียง​ที่​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ กุด​กะ​เสียน วันนี้​ที่​ยิ้ม​ได เวลา​ติดขัด​ก็​ไป​กู...เขา​มา​ทำ�​ทุน พอ​หาได ขาย​ได​ก็​เอาไป​ฝาก...เขา” เขา​ใน​ความ​หมาย ของ​คนใน​ ชุมชนกุด​กะ​เสียน คือ สถาบัน​การเงิ​น​ชุมชนกุด​กะ​เสียน​รวมใจ ทามกลาง​ภาวะ​เศรษฐกิจ​เงินเฟอ​พุง ดอกเบี้ย​เพิ่ม ทั้ง​เงินกู เงินฝาก (ติดลบ​เมื่อ​เทียบกับ​เงินเฟอ) ทุ กอยาง​อยู​ใน​ชวง​ขา​ขึ้น(ราคา) จะ​มี​ที่​ลดลง​คง​เปน​กำ�ลังใจ​ประชาชน​โดยเฉพาะ​คนเมือง ยิ้ม​ฝนๆ เผชิญ​ชะตา​ใน​ยุค​ ขาว(แก)ยาก น้ำ�มัน​แพง​กัน​ไป แตกตางจาก​คนใน​ชุมชน​บานกุด​กะ​เสียน ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี หมูบาน​รางวัล​ พระราชทาน “เศรษฐกิจ​พอเพียง อยู​เย็น​เปนสุข” สมเด็จพระ​เทพรั​ตน​ราช​สุดา สยาม​บรม​ราช​กุมารี ซึ่ง​มี​นายส​ มาน ทวี​ศรี กำ�นัน​ตำ�บล​เขื่องใน เปน​ผูนำ�​สราง​รอยยิ้ม​ให​คนใน​ชุมชน
  • 21. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 13 จาก​หมูบาน​ที่​มี​อาชีพ​ทำ�​นาป​ละ 2 ครั้ง แต​เนื่องจาก​สภาพ​พื้นที่​เปน​ที่ลุม​มี​น้ำ�ทวม​ถึง ทำ�ให​มี​ปญหา​น้ำ� ทวม​นาจึง​ตองหา​ปลา​แลก​ขาวตอมา​ประกอบ​อาชีพ​คาขาย​สียอมผา ทำ�ให​มี​ปญหา​หนี้สิน​เพราะ​ตอง​ไป​กู​นายทุน​ ดอกเบี้ย​สูง แต​สภาพ​ใน​ปจจุบัน​ของกุด​กะ​เสียน ผูคน​ยิ้มแยม​แจม​ใจ เนื่องจาก​เศรษฐกิจ​ของ​หมูบาน​ดีขึ้น​มาก สืบ​ เนื่องจาก​การ​ริเริ่ม​ของ​ผูนำ�​ชุมชน​ที่​เห็น​ปญหา​ของ​หมูบาน จึง​ได​สงเสริม​ให​มี​การ​ตั้ง​กลุม​ออมทรัพย​จนกระทั่ง​ พัฒนา​มา​เปน​ธนาคารกุด​กะ​เสียน​รวมใจ โดย​การ​ปลอย​สินเชื่อ​ใน​อัตรา​ดอกเบี้ย​ต่ำ�​ให​คนใน​ชุมชน​ไป​ประกอบ​ อาชีพ อาชีพ​หลัก​ทำ�นา คาขาย เฟอรนิเจอร เครื่องใช​ไฟฟา ชุด​เครื่อง​นอน ชุด​เครื่องครัว ฯลฯ ทั้ง​มี​การ​รวมกลุม​อาชีพ กลุม​เลี้ยง​โค กลุม​ทำ�​น้ำ�ยา​ลางจาน น้ำ�​ยาสระผม กลุม​เพาะ​เห็ด กลุม​เกษตรกร​ ทำ�นา กลุม​จักสาน หนึ่ง​ใน​ชุมชน​ตัวอยาง​ที่​กรมการ​พัฒนา​ชุมชน กระทรวง​มหาดไทย คัดเลือก​มา​เปน​ตนแบบ​ใน​การ​สง เสริม​การ​บริหาร​การ​จัดการ​ชุมชน​ให​เขมแข็ง​อยาง​ยั่งยืน นาย​ปรีชา บุตร​ศรี อธิบดี​กรมการ​พัฒนา​ชุมชน​กลาว​วา ประเด็น​ยุทธศาสตร​หนึ่ง​ใน​การ​สงเสริม​การ​บริหาร​การ​จัดการ​ชุมชน คือ การ​เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ผูนำ�​ชุมชน​เพื่อ ให​ผูนำ�​ชุมชน​เปนกำ�ลัง​หลัก​ใน​การ​บริหาร​การ​จัดการ​ชุมชน​ให​ชุมชน​เขมแข็ง​และ​พึ่งตนเอง​ได​ในที่สุด
  • 22. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​14 ยุทธศาสตร​ใน​การ​ทำ�งาน​ของ​กรมการ​พัฒนา​ชุมชน ทั้ง 5 ประเด็น ประกอบดวย การ​พัฒนา​ทุน​ชุมชน​ การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​ชุมชน​ให​เขมแข็ง การ​เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ผูนำ�​ชุมชน​นำ�​ขับ​เคลื่อน​แผน​ชุมชน และ​การ​สง เสริม​การ​จัดการ​ความรู​ชุมชน บน​พื้นฐาน​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ซึ่ง​มี​เปาหมาย​สราง​ผูนำ�​ชุมชน ระดับ​แกนนำ�​ ทั่วประเทศ​จำ�นวน691,110คน​ภายใน4ปใน​ป2551ดำ�เนินการ​ใน217หมูบาน​ทั่วประเทศเพื่อให​ได​ผูนำ�​ชุมชน ที่​มี​ภาวะผูนำ� มี​คุณธรรม จริยธรรม องคความรู เปนกลุม​แกนนำ�​ใน​การ​ขับ​เคลื่อน​และ​ผลักดัน​นโยบาย​ของ​รัฐ​ใน​ ระดับ​ชุมชน ให​มี​ทิศทาง​การ​พัฒนา​ชุมชน สอดคลองกับ​การ​พัฒนา​ประเทศ “สิ่ง​ที่​ทำ�ให​หมูบาน​ไดรับ​การ​คัดเลือก​มาจาก​การ​ดำ�เนินการ​ทั้ง6ดานประกอบดวยการ​ลด​รายจายเพิ่ม​ รายได การ​เรียนรู อนุรักษ เอื้ออาทร และ​การ​ประหยัด สิ่ง​ที่​คณะกรรมการ​มา​ดู​แลว​ประทับใจ​ที่สุด คือ สถาบัน​ การเงิน”นายส​มาน​กลาว ซึ่ง​ได​นำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ใช​ใน​การ​ดำ�เนินการ​บริหาร​ธนาคาร​ชุมชน กุด​ กะ​เสียน​รวมใจ การ​ประหยัด อดออม อ​อม​เพื่อ​นำ�ไปใช​ใน​การ​ผลิต ไม​นำ�ไปใช​ฟุมเฟอย ให​กู​โดย​ถือ​หลัก​ความ​ พอประมาณ ถือ​หลัก​มีเหตุมีผล และ​มี​ภูมิ​คุมกัน​ใน​ตัว​ที่​ดี ภายใต​เงื่อนไข​ความรู คือ รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง และ​เงื่อนไข​คุณธรรม ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน​และ​แบงปน​ปจจุบัน​มี​เงินทุน​หมุนเวียน​ประมาณ 14 ลาน​บาท สมาชิก​สถาบัน​การเงิน​ชุมชน ประกอบดวย​หมู​ที่ 10,11,12 บานกุด​กะ​เสียน ตำ�บล​เขื่องใน ซึ่ง​มี​สมาชิก 246 ครัว เรือน 285 คน มี​จำ�นวน​สมาชิก​เงินฝาก 464 คน “สราง​ผล​ดี​ให​ชุมชน ผู​กู กู​ถูก คน​ฝาก​ได​ดอกเบี้ย​สูง ตั้งแต​รอยละ 2 สูงสุด​หาก​มี​เงินฝาก 5 แสน​บาท​ ขึ้น​ไป​ดอกเบี้ย​รอยละ 5 บาท​ไม​หัก​ภาษี​ดอกเบี้ย​กู​งาย​กวา แต​ให​กู​เฉพาะ​คนใน​ชุมชน เทานั้น สวน​ผูฝาก​นอก​ ชุมชน ก็​ฝาก​ได​ดอกเบี้ย​เทา​คนใน​ชุมชน แต​กู​ไมได ทำ�ให​ประชาชน​ประหยัด​ดอกเบี้ย​เงินกู​ได ชุมชน ก็​พึงพอใจ เสีย​ดอกเบี้ย​นอยกวา​และ​ยัง​ได​สวัสดิการ​กลับ​คืน​สู​ชุมชน “ นายส​มาน ทวี​ศรี ประธาน​กรรมการ​สถาบัน​การเงิน​ ชุมชน กุด​กะ​เสียน​รวมใจ​กลาว ใน​มุมมอง​ของ​คนใน​ชุมชน บานกุด​กะ​เสียน​ตาง​บอก​เปน​เสียง​เดียวกัน​วาที่​มี​วันนี้​ได​เพราะ “ผูนำ�​ดี” เปน​ผูนำ�​ชุมชน ที่​เขมแข็ง นอกจาก​การ​ยอมรับ​ของ​คนใน​ชุมชน แลว​ยังมี​รางวัล​มากมาย​รับรอง อาทิ ผูใหญ​บาน​ ยอดเยี่ยม​แหนบ​ทองคำ�​ป2523กำ�นัน​ยอดเยี่ยม​แหนบ​ทองคำ�​ป2546ประกาศ​เกียรติคุณ“คนดี​ศรี​อุบล” ป2550 และ​รางวัล​ผูนำ�​ชุมชน ดีเดน​ระดับ​เขต​ป 2550 ใน​ฐานะ​ที่​เปน​แกนนำ�​สราง​รอยยิ้ม​ให​ชุมชน ตัวอยาง​ของ​ชุมชน​พอเพียง​ดาน​พลังงาน ตลอด 3 ป (2549-2551) ของ​การ​เดินหนา​โครงการ​จัดทำ�​แผน​พลังงาน​ชุมชน 80 ชุมชน สนอง​พระ​ ราช​ดำ�ริ “เศรษฐกิจ​พอเพียง” ของ​สำ�นัก​นโยบาย​และ​ยุทธศาสตร สำ�นักงาน​ปลัด​กระทรวง​พลังงาน ดวย​มอง เห็น​ศักยภาพ​ชุมชน​ใน​การ​จัดการ​ดาน​พลังงาน​ที่​ชุมชน​ทำ�​เอง​ได ภายใต​การ​บริหาร​จัดการ​ทรัพยากร​ทอง​ถิ่นที่​ สามารถ​นำ�มา​เปลี่ยน​เปน​พลังงาน​ทดแทน​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​นั้น​ทำ�ได​จริง “แผน​พลังงาน​ชุมชน” คือ สิ่ง​ที่เกิด​ขึ้นกับ​ทุก​ชุมชน​ที่​เขารวม​ใน​ระยะเวลา​ที่​ตางกัน​พรอมกับ​กลไก​การ​ ทำ�งาน​รวมกัน ระหวาง​ภาค​ชุมชน​และ​ภาค​วิชาการ โดยเฉพาะ​เจาหนาที่​พลังงาน​จังหวัด หรือ​สำ�นักงาน​พลังงาน​ ภูมิภาคซึ่ง​เปน​ตัวแทน​กระทรวง​พลังงาน​ไป​เผยแพร​ความรู​สราง​ความ​เขาใจ“พลังงาน​เรื่อง​ใกล​ตัว”และ​นำ�เสนอ​ เทคโนโลยี​พลังงาน​ทางเลือก หรือ​พลังงาน​ทดแทน​หลาก​หลายประเภท ให​ชาวบาน​เลือก​นำ�ไป​ใชได​อยาง​เหมาะ