SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
ข้อเสนอแนะในการเตรียมความพร้อม
  เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบ ๓ ของสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘
                                                                            โดย มาโนช จันทร์แจ่ม
                                                   ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

          จากการศึกษาข้อมูลผลการประเมินภายนอกรอบสาม และมีโอกาสไปนิเทศช่วยเหลือแนะนาสถานศึกษา
ในการเตรียมความพร้อมรับการประเมิน พบว่าสถานศึกษาจานวนมากยังมีปัญหาคือ ไม่ได้มีการพัฒนาระบบประกัน
คุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยเฉพาะในส่วนของแผนพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา ไม่เชื่อมโยงสอดคล้องกับตัวบ่งชี้การประเมินภายนอก
นอกจากนี้ในการเตรียมตัวรับการประเมินภายนอก สถานศึกษาจานวนไม่น้อยไม่ได้ศึกษาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การ
ประเมินภายนอกให้ชัดเจน จึงจัดระบบข้อมูลไม่ครบถ้วน และขาดการนาเสนอข้อมูลบางส่วน หรือสถานศึกษา
บางแห่งมีข้อมูลและผลการดาเนินงานตามแผนชัดเจนแต่นาเสนอไว้ไม่เป็นระบบ
          ในการแก้ปัญหาดังกล่าว สถานศึกษาควรมีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในที่ดและมีการดาเนินงาน
                                                                                         ี
ทั้งแปดองค์ประกอบอย่างต่อเนื่องและตรวจสอบเชื่อมโยงกับตัวบ่งชี่การประเมินภายนอก ให้ชัดเจน ประกอบกับ
มีกระบวนการทางานและผลการดาเนินงานที่ดี โดย สังเกตได้จากเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่เป็นร่องรอยหลักฐาน
ได้แก่ เอกสาร สถานที่ เมื่อมีผู้สอบถามหรือสัมภาษณ์ ทั้งผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา
และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ก็สามารถตอบได้อย่างมั่นใจไปในทิศทางเดียวกัน คาตอบสอดคล้องกับหลักฐานที่นาเสนอไว้
และที่สาคัญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยเฉพาะนักเรียนมีคุณลักษณะที่ดีตามเปาาหมายของการพัฒนา ที่ผู้ประเมินหรือ
บุคคลอื่นสามารถสังเกตได้ เมื่อสถานศึกษาจะมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ นักเรียนมีคุณภาพตามเปาาหมายแล้ว โอกาส
ที่จะได้รับการรับรองจากการประเมินภายนอกก็จะมีความเป็นไปได้มาก
          ในส่วนของการเตรียมรับการประเมินภายนอกรอบสาม เพื่อให้สถานศึกษามีความพร้อมรับการประเมิน
มากขึ้น มีจุดที่ควรพิจารณาซึ่งเป็นจุดอ่อนและได้นิเทศแนะนาแก่สถานศึกษาต่างๆไว้ จึงขอเสนอเป็นแนวคิดหรือ
มุมมองในการเตรียมความพร้อม ดังนี้
          รายละเอียดการนิเทศแนะนาแก่ผู้บริหารและครูเพื่อรองรับการประเมินภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานมี ดังนี้
           ๑. ในการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาควรยึดการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในเป็นหลัก
โดยปฏิบัติอย่างต่อเนื่องทุกปี
           ๒. การนาเสนอข้อมูลในการประเมินภายนอก นอกจากมีข้อมูลสรุปภาพรวมตามเกณฑ์ของ สมศ. แล้ว
ควรมีร่องรอยหลักฐานที่มาของข้อมูลด้วยเช่น แบบประเมิน แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ที่ใช้เก็บ
ข้อมูล นอกจากนี้ อาจจะต้องมีชิ้นงานหรือผลงานนักเรียน และคุณลักษณะรวมทั้งพฤติกรรมที่สะท้อนความรู้
ความสามารถตามข้อมูลที่มีอยู่ด้วย
-๒ –
             ๓. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ควรมีหลักฐานที่แสดงว่าโรงเรียนได้ประกาศ หรือแจ้ง
แก่ผู้เกี่ยวข้องว่าได้มีการกาหนดนโยบายส่งเสริมสุนทรียภาพของสถานศึกษา
             ๔. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ หลักฐานการเป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ควรให้ครบทุก
กิจกรรมตามคาอธิบาย คือ การบารุงดูแล กตัญญู สร้างความสุขความสบายใจให้พ่อแม่ ช่วยทากิจธุระ การงาน
สืบทอดรักษาวงศ์ตระกูล และการประพฤติตนเหมาะสมกับการเป็นลูกที่ดี ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากการสอบถาม
พ่อแม่ ผู้ปกครอง
             ๕. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ เนื่องจากตัวบ่งชี้นี้เป็นการประเมินโดยพิจารณาจาก
ร้อยละของนักเรียนที่มีคุณลักษณะของการเป็นผู้เรียนที่ดีตามประเด็นที่กาหนดจานวน ๙ ประเด็น จึง จาเป็น
อย่างยิ่งที่จะต้องช่วยกันเน้นย้า ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามที่กาหนดอย่างต่อเนื่องเป็นปัจจุบั น สามารถ
สังเกตเห็นได้ชัดเจน
             ๖. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ หลักฐานการบันทึกการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอจาก
การอ่านและใช้เทคโนโลยี              เรื่องนี้โรงเรียนส่วนมากเน้นปฏิบัติเฉพาะบันทึกการอ่านหนังสือจากห้องสมุด
ซึ่งยังน้อยเกินไป         เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีการอ่านอย่างกว้างขวางจึงควรส่งเสริมให้ผู้เรียนอ่านจากสื่อที่
หลากหลายและบันทึกไว้ทุกรายการได้แก่ อ่านหนังสือทั้งจากห้องสมุดและจากแหล่งอื่น อ่านหนังสือพิมพ์ อ่านปาาย
โฆษณา อ่านบทความจากวารสารต่างๆ อ่านใบลาน แผ่นศิลา อ่านจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมถึงบันทึกจากการ
ดูสารคดี ภาพยนตร์ และจากการฟัง เป็นต้น
             ๗. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ ผู้เรียนมีความสามารถด้านการคิด ควรให้ผู้เรียนทา
โครงงานอย่างต่อเนื่อง และจัดให้มีการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดหลายๆ แบบและเก็บผลงานจากการคิดไว้เป็นหลักฐาน
             ๘. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ส่วนมากโรงเรียนจะมีการตรวจแผนการสอนที่ไม่ใช่
การประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ และมีการเยี่ยมนิเทศ ไม่ใช่การประเมินการจัดการเรียนการสอน สิ่งที่ควรเตรียม
ร่องรอยหลักฐานเพิ่มขึ้นนอกจากสรุปผลการประเมิน ได้แก่เครื่องมือที่ใช้ประเมินแผนและประเมินการจัดการ
เรียนรู้ พร้อมทั้งร่องรอยการประเมินจริง นอกจากนี้ควรมีหลักฐานว่ามีการประเมินแบบวัด แบบทดสอบก่อน
นาไปใช้สอบจริงอีกด้วย
             ๙. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ การออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนอง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เพื่อนาผู้เรียนไปสู่เปาาหมาย ควรมีการจัดทาแผนการจัด
การเรียนรู้ให้ครบสมบูรณ์ มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย พัฒนาสมองทั้งสองซีก จัดกิจกรรมให้เหมาะกับ
กลุ่มเด็กที่ เก่ง ปานกลาง อ่อน ถ้ามีเด็กพิเศษเรียนร่วม ควรมีแผนการสอนรายบุคคล
             ๑๐. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๗ ส่วนที่เป็นจุดอ่อนที่ควรดาเนินการเพิ่มคือ ประสิทธิภาพ
ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเรื่องการส่งเสริมให้มีการพิทักษ์สิทธิเด็ก การมีส่วนร่วมในการบริหาร
จัดการด้าน วิชาการ งบประมาณ บริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น
-๓-

            ๑๑. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๘. สถานศึกษาควรมีหลักฐานแสดงว่าสถานศึกษามีการ
พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง ดาเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในทั้ง ๘ องค์ประกอบ
อย่างต่อเนื่อง สิ่งที่สถานศึกษาหลายแห่งไม่ค่อยดาเนินการ ควรดาเนินการและมีหลักฐานชัดเจนเพิ่มขึ้น คือ
                   ๑๑.๑ ควรมีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และค่าเปาาหมายตามมาตรฐาน
                   ๑๑.๒ มีเอกสารรายงานผลการดาเนินงานแต่ละโครงการ ตามแผนปฏิบัติการที่ละเอียด ชัดเจน
ตรงกับคุณภาพตามมาตรฐาน
                   ๑๑.๓ การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ควรมีรายละเอียดว่าได้นาข้อมูล
ข้อเสนอแนะ แต่ละปีไปใช้ปรับปรุงพัฒนางานในการทาแผนงานโครงการปีต่อไป โดยอาจระบุไว้ที่ความเป็นมา
ของโครงการหรือในบทนาของแผนปฏิบัติการ
           ๑๒ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับกลุ่มตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ ส่วนมากสถานศึกษามักจะดาเนินการในภาพรวม
ทั้งตัวบ่งชี้ที่ ๙ และ ๑๐ ทาให้ขาดความชัดเจน วิธีทาให้ชัดเจน ควรแยกออกแต่ละตัวบ่งชี้ ดังนี้
                  ๑๒.๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ควรดาเนินการให้ครบถ้วนตามเกณฑ์ ๕ ข้อ ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการกาหนด
แผนปฏิบัติการโดยระบุ เปาาหมาย และกลยุทธ์ทสอดคล้องกับ ปรัชญา ปณิธาน /วิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษา
                                                      ี่
สร้างระบบการมีส่วนร่มและมีการปฏิบัติตาม มีหลักฐานการประเมินความพึงพอใจ มีผลการดาเนินงาน และ
ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามที่กาหนด ซึ่งวิธีที่ทาให้ได้ผลดีจะต้องระบุคาจากัดความของปรัชญาโรงเรียนให้ชัด
ปฏิบัติได้ นาไปกาหนดไว้ในวิสัยทัศน์ พันธกิจ และปฏิบติจนเกิดผลดี มีหลักฐานในโครงการต่างๆ และหลักฐาน
                                                                 ั
การยอมรับ รางวัลต่างๆ (ในกรณีตัวบ่งชี้ที่ ๙ นี้ยังไม่ต้องกล่าวถึง จุดเน้น จุดเด่นใดๆที่เป็นเอกลักษณ์)
                  ๑๒.๒ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้นี้ กล่าวถึงจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของ
สถานศึกษา ซึ่งการดาเนินการให้เป็นเรื่องที่ผู้บริหาร ครู บุคลากร ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการ
กาหนดจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ หรือเป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถานจริงๆเช่น ด้านกีฬา
ศาสนา ภาษา วัฒนธรรมท้องถิ่น และวิชาการ และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติจนเกิดผลเป็นที่พึงพอใจของผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องและเป็นที่ยอมรับจากองค์กรภายนอกสถานศึกษา การเตรียมข้อมูลหลักฐาน ควรให้ครบตามเกณฑ์ของ
สมศ. ทั้ง ๕ ข้อของตัวบ่งชี้
                     กล่าวโดยสรุปเมื่อกล่าวถึงคาว่าลักษณ์ หมายถึงประเด็นที่ครอบคลุม ๒ ตัวบ่งชี้ ทั้งตัวบ่งชี้ที่ ๙
และ ๑๐ และควรดาเนินการให้ครบทั้ง ๒ ตัวบ่งชี้ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น ถ้าทาทั้ง ๒ ตัวบ่งชี้ชัดเจน เวลารับการ
ประเมินภายนอกก็จะประสบผลสาเร็จทั้งตัวบ่งชี้ที่ ๙ และ ๑๐ นอกจากนี้หลักฐานสาคัญที่สถานศึกษาไม่ควรลืม คือ
ควรมีเอกสารที่ยืนยันว่า รายละเอียดตามตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ทั้ง ข้อ ๙ และ ๑๐ ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
-๔-
          ๑๒. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม เป็นกลุ่มที่มี ๒ ตัวบ่งชี้เช่นเดียวกัน
 สถานศึกษาควรดาเนินการดังนี้
                ๑๒.๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ในการ
ดาเนินงานควรให้ครบและมีร่องรอยหลักฐานตามเกณฑ์ทั้ง๕ ข้อ แต่สิ่งสาคัญที่ควรเน้นคือโครงการพิเศษต้องเป็น
โครงการที่แก้ปัญหาและแสดงให้เห็นชัดเจนว่าปัญหาคืออะไร เมื่อดาเนินโครงการแล้วปัญหาได้ลดลง หรือมีการ
เปลี่ยนแปลงดีขึ้นมากน้อยเพียงใดรวมทั้งมีการน้อมนาหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้อย่างชัดเจน
                 ๑๒.๒ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน
และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ตัวบ่งชี้นี้ส่วนมากสถานศึกษาเข้าใจ
และดาเนินการได้อยู่แล้ว แต่จุดที่มักจะละเลยกันคือ การมีข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับหน่วยงานต้น
สังกัดหรือหน่วยงานสนับสนุน หรือหน่ายงานอื่นๆ กรณีนี้ถ้าหากสถานศึกษามีข้อมูลเชิงประจักษ์ว่ามีความร่วมมือ
แล้วก็ไม่น่ากังวล แต่เพื่อให้เกิดความมั่นใจ ก็ควรมีเอกสารการทาบันทึกความร่วมมือ (MOU)กับต้นสังกัดและ
หน่วยงานต่างๆไว้ ก็จะดี

              รายละเอียดการนิเทศแนะนาแก่ผู้บริหารและครูเพื่อรองรับการประเมินภายนอกรอบสาม
ในระดับการศึกษาปฐมวัย มีดังนี้
              ๑. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ เด็กมีสุขภาพกายสมวัย ในส่วนของเกณฑ์การ
พิจารณา ข้อที่ ๓ ร้อยละของเด็กที่มีสมรรถภาพทางกลไกสมวัย ในส่วนนี้เน้นที่สมรรถภาพทางกลไก ซึ่งเกี่ยวข้อง
กับการเคลื่อนไหว ไม่ใช่สมรรถภาพทางกาย ถ้ามีข้อมูลการทดสอบสมรรถภาพทางกลไกไว้ก็จะยืนยัน
ความสามารถทางกลไกของนักเรียนได้
              ๒. ในส่วนของการศึกษาปฐมวัย ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานที่ ๑ ผลการจัดการศึกษา ส่วนใหญ่เน้นผลผลิต
ที่เป็นพัฒนาการของผู้เรียน โดยเกณฑ์การพิจารณาในการประเมินภายนอก จะกาหนดประเด็นที่เป็นพฤติกรรมของ
ผู้เรียนที่สะท้อนพัฒนาการด้านต่างๆ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนเป็นค่าร้อยละที่แสดงระดับคุณภาพ ส่วนมาก
โรงเรียนมีการสรุปค่าร้อยละเอาไว้ แต่ร่องรอยหลักฐานอื่นๆ ไม่ค่อยปรากฏ ดังนั้นจึงควร พัฒนาผู้เรียนให้เกิด
พฤติกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง มีการซ้าย้าทวนบ่อยๆ เก็บร่องรอยชิ้นงานผู้เรียนให้เป็นระบบ รวบรวมหลักฐาน
การประเมินพฤติกรรมต่างๆไว้ นอกจากจะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องแล้ว ยังจะเป็นข้อมูล
เชิงประจักษ์ที่สาคัญต่อการประเมินอีกด้วย
              ๓. สาหรับตัวบ่งชี้ในมาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามตัวบ่งชี้ที่ ๖
 ใน ๖ ตัวบ่งชี้ย่อย เน้นการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านต่างๆ หลักฐานสาคัญของครูและผู้เลี้ยงดูเด็ก
ที่ต้องเตรียม คือ แผนการจัดประสบการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าจัดกิจกรรมให้เกิดพัฒนาการครบทุกด้าน มีการบันทึก
ผลหลังการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน นอกจากนี้ควรมีสื่อและแหล่งการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมที่ใช้ตามแผน
-๕-
มีเครื่องมือที่ประเมินผู้เรียนที่แสดงว่ามีการใช้ประเมินจริง และที่สาคัญคือควรรวบรวมผลงานของนักเรียนที่ได้
จากการร่วมกิจกรรมไว้เป็นหลักฐาน
               ๔. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๗.๒ ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน โรงเรียนจะมีร่องรอยการทาหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาในเรื่องการให้ความเห็นชอบหลักสูตร
และแผนงานโครงการของโรงเรียนเท่านั้น ดังนั้นจึงควรให้คณะกรรมการได้มีส่วนร่วมในการบริหารงานให้ครบ
ทุกด้าน ทั้งด้าน บริหารงานวิชาการ งบประมาณ งานบุคคล และงานบริหารทั่วไป โดย ร่องรอยการมีส่วนร่วม
อาจจะเป็น รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา รวมทั้งให้คณะกรรมการได้แสดงบทบาทในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา เช่นการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเข้ารับการศึกษาอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ การพิทักษ์สิทธิเด็ก
การดูแลเด็กพิการเด็กด้อยโอกาส และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ เป็นต้น
               ๕. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๘.๒ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย
สถานศึกษาและต้นสังกัด ตัวบ่งชี้นี้ควรดาเนินการลักษะเดียวกับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสถานศึกษาควรมี
หลักฐานแสดงว่าสถานศึกษามีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง ดาเนินการตามระบบประกัน
คุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่สถานศึกษาส่วนมากยังไม่ชัดเจน ควรดาเนินการและมีหลักฐานชัดเจนเพิ่มขึ้นคือ
                  ๕.๑ ควรมีการประกาศมาตรฐานของสถานศึกษา และค่าเปาาหมายตามมาตรฐาน
                  ๕.๒ มีเอกสารรายงานผลการดาเนินงานแต่ละโครงการตามแผนปฏิบัติการที่ละเอียด ชัดเจน
ตอบสนองต่อคุณภาพ ตามมาตรฐาน
                  ๕.๓ การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ควรมีรายละเอียดว่าได้นาข้อมูล
ข้อเสนอแนะ แต่ละปีไปใช้ปรับปรุงพัฒนางานในการทาแผนงานโครงการปีต่อไป โดยอาจระบุไว้ที่ความเป็นมา
ของโครงการ
             ๖. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๙ และ ๑๐ ซึ่งเป็นกลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และตัวบ่งชี้ที่ ๑๑
และ ๑๒ ซึ่งเป็นกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม สถานศึกษาส่วนมากมีจุดอ่อนคล้ายกับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จึงควรปฏิบัติลักษณะเดียวกันตามที่กล่าวไว้ข้างต้น
          จากที่กล่าวไว้ข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งที่ได้พบจุดอ่อนของสถานศึกษา จึงได้แนะนาไว้เป็นแนวทางเตรียม
ความพร้อม แต่เพื่อให้เกิดความมั่นใจโดยเฉพาะสถานศึกษาที่กาลังจะรับการประเมินภายนอกในเวลาอันใกล้นี้
ซึ่งมีเวลาเตรียมตัวน้อย สถานศึกษาควรเร่งศึกษาวิเคราะห์เอกสาร คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามทั้ง
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับ ปฐมวัย ในส่วนของ คาอธิบายตัวบ่งชี้ เกณฑ์การพิจารณา และข้อมูล
ประกอบการพิจารณา ให้ชัดเจน เพื่อจะได้เตรียมข้อมูล เอกสาร หลักฐานร่องรอยต่างๆ รวมทั้งเตรียมบุคคล
ได้อย่างครบถ้วน และพร้อมรับการประเมิน

Contenu connexe

Tendances

Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนนางดวงใจ ฝุ่นแก้ว
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานtanongsak
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1 Prasong Somarat
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการWatcharasak Chantong
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานKatekyo Sama
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกphiphitthanawat
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบWongduean Phumnoi
 
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306จุลี สร้อยญานะ
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอลิศลา กันทาเดช
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57somdetpittayakom school
 

Tendances (20)

Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
Bp
BpBp
Bp
 
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
Sar 58 wichai li
Sar 58 wichai liSar 58 wichai li
Sar 58 wichai li
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57
 

En vedette

การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมrbsupervision
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization CultureKomsun See
 
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์Nirut Uthatip
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...Nirut Uthatip
 
การนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidreการนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ PidreNirut Uthatip
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงNirut Uthatip
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวNirut Uthatip
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยchakaew4524
 

En vedette (12)

การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
 
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
 
การนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidreการนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidre
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนว
 
O net
O netO net
O net
 
สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
 

Similaire à บทความนิเทศ ประกัน

การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามrbsupervision
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)Pochchara Tiamwong
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางPratuan Kumjudpai
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1AseansTradition55
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาบันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาkrooprakarn
 
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาบันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาkrooprakarn
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าaon04937
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 

Similaire à บทความนิเทศ ประกัน (20)

การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
 
B1
B1B1
B1
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทาง
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
17
1717
17
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาบันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
 
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาบันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 

Plus de Nirut Uthatip

บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงบทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงNirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐคู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐNirut Uthatip
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบNirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือNirut Uthatip
 
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์Nirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือNirut Uthatip
 
1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ดNirut Uthatip
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิดNirut Uthatip
 
1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิดNirut Uthatip
 
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติNirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 

Plus de Nirut Uthatip (20)

บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงบทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Audit chartern2
Audit chartern2Audit chartern2
Audit chartern2
 
ปก Ita
ปก Itaปก Ita
ปก Ita
 
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐคู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบ
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด
 
Full
FullFull
Full
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
3 moral project
3 moral project3 moral project
3 moral project
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
 
1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด
 
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 

บทความนิเทศ ประกัน

  • 1. ข้อเสนอแนะในการเตรียมความพร้อม เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบ ๓ ของสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘ โดย มาโนช จันทร์แจ่ม ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา จากการศึกษาข้อมูลผลการประเมินภายนอกรอบสาม และมีโอกาสไปนิเทศช่วยเหลือแนะนาสถานศึกษา ในการเตรียมความพร้อมรับการประเมิน พบว่าสถานศึกษาจานวนมากยังมีปัญหาคือ ไม่ได้มีการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยเฉพาะในส่วนของแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา ไม่เชื่อมโยงสอดคล้องกับตัวบ่งชี้การประเมินภายนอก นอกจากนี้ในการเตรียมตัวรับการประเมินภายนอก สถานศึกษาจานวนไม่น้อยไม่ได้ศึกษาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การ ประเมินภายนอกให้ชัดเจน จึงจัดระบบข้อมูลไม่ครบถ้วน และขาดการนาเสนอข้อมูลบางส่วน หรือสถานศึกษา บางแห่งมีข้อมูลและผลการดาเนินงานตามแผนชัดเจนแต่นาเสนอไว้ไม่เป็นระบบ ในการแก้ปัญหาดังกล่าว สถานศึกษาควรมีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในที่ดและมีการดาเนินงาน ี ทั้งแปดองค์ประกอบอย่างต่อเนื่องและตรวจสอบเชื่อมโยงกับตัวบ่งชี่การประเมินภายนอก ให้ชัดเจน ประกอบกับ มีกระบวนการทางานและผลการดาเนินงานที่ดี โดย สังเกตได้จากเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่เป็นร่องรอยหลักฐาน ได้แก่ เอกสาร สถานที่ เมื่อมีผู้สอบถามหรือสัมภาษณ์ ทั้งผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ก็สามารถตอบได้อย่างมั่นใจไปในทิศทางเดียวกัน คาตอบสอดคล้องกับหลักฐานที่นาเสนอไว้ และที่สาคัญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยเฉพาะนักเรียนมีคุณลักษณะที่ดีตามเปาาหมายของการพัฒนา ที่ผู้ประเมินหรือ บุคคลอื่นสามารถสังเกตได้ เมื่อสถานศึกษาจะมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ นักเรียนมีคุณภาพตามเปาาหมายแล้ว โอกาส ที่จะได้รับการรับรองจากการประเมินภายนอกก็จะมีความเป็นไปได้มาก ในส่วนของการเตรียมรับการประเมินภายนอกรอบสาม เพื่อให้สถานศึกษามีความพร้อมรับการประเมิน มากขึ้น มีจุดที่ควรพิจารณาซึ่งเป็นจุดอ่อนและได้นิเทศแนะนาแก่สถานศึกษาต่างๆไว้ จึงขอเสนอเป็นแนวคิดหรือ มุมมองในการเตรียมความพร้อม ดังนี้ รายละเอียดการนิเทศแนะนาแก่ผู้บริหารและครูเพื่อรองรับการประเมินภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานมี ดังนี้ ๑. ในการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาควรยึดการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในเป็นหลัก โดยปฏิบัติอย่างต่อเนื่องทุกปี ๒. การนาเสนอข้อมูลในการประเมินภายนอก นอกจากมีข้อมูลสรุปภาพรวมตามเกณฑ์ของ สมศ. แล้ว ควรมีร่องรอยหลักฐานที่มาของข้อมูลด้วยเช่น แบบประเมิน แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ที่ใช้เก็บ ข้อมูล นอกจากนี้ อาจจะต้องมีชิ้นงานหรือผลงานนักเรียน และคุณลักษณะรวมทั้งพฤติกรรมที่สะท้อนความรู้ ความสามารถตามข้อมูลที่มีอยู่ด้วย
  • 2. -๒ – ๓. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ ควรมีหลักฐานที่แสดงว่าโรงเรียนได้ประกาศ หรือแจ้ง แก่ผู้เกี่ยวข้องว่าได้มีการกาหนดนโยบายส่งเสริมสุนทรียภาพของสถานศึกษา ๔. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ หลักฐานการเป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ควรให้ครบทุก กิจกรรมตามคาอธิบาย คือ การบารุงดูแล กตัญญู สร้างความสุขความสบายใจให้พ่อแม่ ช่วยทากิจธุระ การงาน สืบทอดรักษาวงศ์ตระกูล และการประพฤติตนเหมาะสมกับการเป็นลูกที่ดี ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากการสอบถาม พ่อแม่ ผู้ปกครอง ๕. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ เนื่องจากตัวบ่งชี้นี้เป็นการประเมินโดยพิจารณาจาก ร้อยละของนักเรียนที่มีคุณลักษณะของการเป็นผู้เรียนที่ดีตามประเด็นที่กาหนดจานวน ๙ ประเด็น จึง จาเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องช่วยกันเน้นย้า ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามที่กาหนดอย่างต่อเนื่องเป็นปัจจุบั น สามารถ สังเกตเห็นได้ชัดเจน ๖. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ หลักฐานการบันทึกการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอจาก การอ่านและใช้เทคโนโลยี เรื่องนี้โรงเรียนส่วนมากเน้นปฏิบัติเฉพาะบันทึกการอ่านหนังสือจากห้องสมุด ซึ่งยังน้อยเกินไป เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีการอ่านอย่างกว้างขวางจึงควรส่งเสริมให้ผู้เรียนอ่านจากสื่อที่ หลากหลายและบันทึกไว้ทุกรายการได้แก่ อ่านหนังสือทั้งจากห้องสมุดและจากแหล่งอื่น อ่านหนังสือพิมพ์ อ่านปาาย โฆษณา อ่านบทความจากวารสารต่างๆ อ่านใบลาน แผ่นศิลา อ่านจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมถึงบันทึกจากการ ดูสารคดี ภาพยนตร์ และจากการฟัง เป็นต้น ๗. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ ผู้เรียนมีความสามารถด้านการคิด ควรให้ผู้เรียนทา โครงงานอย่างต่อเนื่อง และจัดให้มีการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดหลายๆ แบบและเก็บผลงานจากการคิดไว้เป็นหลักฐาน ๘. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ส่วนมากโรงเรียนจะมีการตรวจแผนการสอนที่ไม่ใช่ การประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ และมีการเยี่ยมนิเทศ ไม่ใช่การประเมินการจัดการเรียนการสอน สิ่งที่ควรเตรียม ร่องรอยหลักฐานเพิ่มขึ้นนอกจากสรุปผลการประเมิน ได้แก่เครื่องมือที่ใช้ประเมินแผนและประเมินการจัดการ เรียนรู้ พร้อมทั้งร่องรอยการประเมินจริง นอกจากนี้ควรมีหลักฐานว่ามีการประเมินแบบวัด แบบทดสอบก่อน นาไปใช้สอบจริงอีกด้วย ๙. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ การออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนอง ความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เพื่อนาผู้เรียนไปสู่เปาาหมาย ควรมีการจัดทาแผนการจัด การเรียนรู้ให้ครบสมบูรณ์ มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย พัฒนาสมองทั้งสองซีก จัดกิจกรรมให้เหมาะกับ กลุ่มเด็กที่ เก่ง ปานกลาง อ่อน ถ้ามีเด็กพิเศษเรียนร่วม ควรมีแผนการสอนรายบุคคล ๑๐. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๗ ส่วนที่เป็นจุดอ่อนที่ควรดาเนินการเพิ่มคือ ประสิทธิภาพ ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเรื่องการส่งเสริมให้มีการพิทักษ์สิทธิเด็ก การมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการด้าน วิชาการ งบประมาณ บริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 3. -๓- ๑๑. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๘. สถานศึกษาควรมีหลักฐานแสดงว่าสถานศึกษามีการ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง ดาเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในทั้ง ๘ องค์ประกอบ อย่างต่อเนื่อง สิ่งที่สถานศึกษาหลายแห่งไม่ค่อยดาเนินการ ควรดาเนินการและมีหลักฐานชัดเจนเพิ่มขึ้น คือ ๑๑.๑ ควรมีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และค่าเปาาหมายตามมาตรฐาน ๑๑.๒ มีเอกสารรายงานผลการดาเนินงานแต่ละโครงการ ตามแผนปฏิบัติการที่ละเอียด ชัดเจน ตรงกับคุณภาพตามมาตรฐาน ๑๑.๓ การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ควรมีรายละเอียดว่าได้นาข้อมูล ข้อเสนอแนะ แต่ละปีไปใช้ปรับปรุงพัฒนางานในการทาแผนงานโครงการปีต่อไป โดยอาจระบุไว้ที่ความเป็นมา ของโครงการหรือในบทนาของแผนปฏิบัติการ ๑๒ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับกลุ่มตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ ส่วนมากสถานศึกษามักจะดาเนินการในภาพรวม ทั้งตัวบ่งชี้ที่ ๙ และ ๑๐ ทาให้ขาดความชัดเจน วิธีทาให้ชัดเจน ควรแยกออกแต่ละตัวบ่งชี้ ดังนี้ ๑๒.๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ควรดาเนินการให้ครบถ้วนตามเกณฑ์ ๕ ข้อ ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการกาหนด แผนปฏิบัติการโดยระบุ เปาาหมาย และกลยุทธ์ทสอดคล้องกับ ปรัชญา ปณิธาน /วิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษา ี่ สร้างระบบการมีส่วนร่มและมีการปฏิบัติตาม มีหลักฐานการประเมินความพึงพอใจ มีผลการดาเนินงาน และ ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามที่กาหนด ซึ่งวิธีที่ทาให้ได้ผลดีจะต้องระบุคาจากัดความของปรัชญาโรงเรียนให้ชัด ปฏิบัติได้ นาไปกาหนดไว้ในวิสัยทัศน์ พันธกิจ และปฏิบติจนเกิดผลดี มีหลักฐานในโครงการต่างๆ และหลักฐาน ั การยอมรับ รางวัลต่างๆ (ในกรณีตัวบ่งชี้ที่ ๙ นี้ยังไม่ต้องกล่าวถึง จุดเน้น จุดเด่นใดๆที่เป็นเอกลักษณ์) ๑๒.๒ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ตัวบ่งชี้นี้ กล่าวถึงจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของ สถานศึกษา ซึ่งการดาเนินการให้เป็นเรื่องที่ผู้บริหาร ครู บุคลากร ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการ กาหนดจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ หรือเป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถานจริงๆเช่น ด้านกีฬา ศาสนา ภาษา วัฒนธรรมท้องถิ่น และวิชาการ และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติจนเกิดผลเป็นที่พึงพอใจของผู้มีส่วน เกี่ยวข้องและเป็นที่ยอมรับจากองค์กรภายนอกสถานศึกษา การเตรียมข้อมูลหลักฐาน ควรให้ครบตามเกณฑ์ของ สมศ. ทั้ง ๕ ข้อของตัวบ่งชี้ กล่าวโดยสรุปเมื่อกล่าวถึงคาว่าลักษณ์ หมายถึงประเด็นที่ครอบคลุม ๒ ตัวบ่งชี้ ทั้งตัวบ่งชี้ที่ ๙ และ ๑๐ และควรดาเนินการให้ครบทั้ง ๒ ตัวบ่งชี้ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น ถ้าทาทั้ง ๒ ตัวบ่งชี้ชัดเจน เวลารับการ ประเมินภายนอกก็จะประสบผลสาเร็จทั้งตัวบ่งชี้ที่ ๙ และ ๑๐ นอกจากนี้หลักฐานสาคัญที่สถานศึกษาไม่ควรลืม คือ ควรมีเอกสารที่ยืนยันว่า รายละเอียดตามตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ทั้ง ข้อ ๙ และ ๑๐ ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
  • 4. -๔- ๑๒. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม เป็นกลุ่มที่มี ๒ ตัวบ่งชี้เช่นเดียวกัน สถานศึกษาควรดาเนินการดังนี้ ๑๒.๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ในการ ดาเนินงานควรให้ครบและมีร่องรอยหลักฐานตามเกณฑ์ทั้ง๕ ข้อ แต่สิ่งสาคัญที่ควรเน้นคือโครงการพิเศษต้องเป็น โครงการที่แก้ปัญหาและแสดงให้เห็นชัดเจนว่าปัญหาคืออะไร เมื่อดาเนินโครงการแล้วปัญหาได้ลดลง หรือมีการ เปลี่ยนแปลงดีขึ้นมากน้อยเพียงใดรวมทั้งมีการน้อมนาหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้อย่างชัดเจน ๑๒.๒ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ตัวบ่งชี้นี้ส่วนมากสถานศึกษาเข้าใจ และดาเนินการได้อยู่แล้ว แต่จุดที่มักจะละเลยกันคือ การมีข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับหน่วยงานต้น สังกัดหรือหน่วยงานสนับสนุน หรือหน่ายงานอื่นๆ กรณีนี้ถ้าหากสถานศึกษามีข้อมูลเชิงประจักษ์ว่ามีความร่วมมือ แล้วก็ไม่น่ากังวล แต่เพื่อให้เกิดความมั่นใจ ก็ควรมีเอกสารการทาบันทึกความร่วมมือ (MOU)กับต้นสังกัดและ หน่วยงานต่างๆไว้ ก็จะดี รายละเอียดการนิเทศแนะนาแก่ผู้บริหารและครูเพื่อรองรับการประเมินภายนอกรอบสาม ในระดับการศึกษาปฐมวัย มีดังนี้ ๑. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ เด็กมีสุขภาพกายสมวัย ในส่วนของเกณฑ์การ พิจารณา ข้อที่ ๓ ร้อยละของเด็กที่มีสมรรถภาพทางกลไกสมวัย ในส่วนนี้เน้นที่สมรรถภาพทางกลไก ซึ่งเกี่ยวข้อง กับการเคลื่อนไหว ไม่ใช่สมรรถภาพทางกาย ถ้ามีข้อมูลการทดสอบสมรรถภาพทางกลไกไว้ก็จะยืนยัน ความสามารถทางกลไกของนักเรียนได้ ๒. ในส่วนของการศึกษาปฐมวัย ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานที่ ๑ ผลการจัดการศึกษา ส่วนใหญ่เน้นผลผลิต ที่เป็นพัฒนาการของผู้เรียน โดยเกณฑ์การพิจารณาในการประเมินภายนอก จะกาหนดประเด็นที่เป็นพฤติกรรมของ ผู้เรียนที่สะท้อนพัฒนาการด้านต่างๆ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนเป็นค่าร้อยละที่แสดงระดับคุณภาพ ส่วนมาก โรงเรียนมีการสรุปค่าร้อยละเอาไว้ แต่ร่องรอยหลักฐานอื่นๆ ไม่ค่อยปรากฏ ดังนั้นจึงควร พัฒนาผู้เรียนให้เกิด พฤติกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง มีการซ้าย้าทวนบ่อยๆ เก็บร่องรอยชิ้นงานผู้เรียนให้เป็นระบบ รวบรวมหลักฐาน การประเมินพฤติกรรมต่างๆไว้ นอกจากจะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องแล้ว ยังจะเป็นข้อมูล เชิงประจักษ์ที่สาคัญต่อการประเมินอีกด้วย ๓. สาหรับตัวบ่งชี้ในมาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามตัวบ่งชี้ที่ ๖ ใน ๖ ตัวบ่งชี้ย่อย เน้นการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านต่างๆ หลักฐานสาคัญของครูและผู้เลี้ยงดูเด็ก ที่ต้องเตรียม คือ แผนการจัดประสบการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าจัดกิจกรรมให้เกิดพัฒนาการครบทุกด้าน มีการบันทึก ผลหลังการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน นอกจากนี้ควรมีสื่อและแหล่งการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมที่ใช้ตามแผน
  • 5. -๕- มีเครื่องมือที่ประเมินผู้เรียนที่แสดงว่ามีการใช้ประเมินจริง และที่สาคัญคือควรรวบรวมผลงานของนักเรียนที่ได้ จากการร่วมกิจกรรมไว้เป็นหลักฐาน ๔. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๗.๒ ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน โรงเรียนจะมีร่องรอยการทาหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาในเรื่องการให้ความเห็นชอบหลักสูตร และแผนงานโครงการของโรงเรียนเท่านั้น ดังนั้นจึงควรให้คณะกรรมการได้มีส่วนร่วมในการบริหารงานให้ครบ ทุกด้าน ทั้งด้าน บริหารงานวิชาการ งบประมาณ งานบุคคล และงานบริหารทั่วไป โดย ร่องรอยการมีส่วนร่วม อาจจะเป็น รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา รวมทั้งให้คณะกรรมการได้แสดงบทบาทในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา เช่นการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเข้ารับการศึกษาอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ การพิทักษ์สิทธิเด็ก การดูแลเด็กพิการเด็กด้อยโอกาส และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ เป็นต้น ๕. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๘.๒ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย สถานศึกษาและต้นสังกัด ตัวบ่งชี้นี้ควรดาเนินการลักษะเดียวกับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสถานศึกษาควรมี หลักฐานแสดงว่าสถานศึกษามีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง ดาเนินการตามระบบประกัน คุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่สถานศึกษาส่วนมากยังไม่ชัดเจน ควรดาเนินการและมีหลักฐานชัดเจนเพิ่มขึ้นคือ ๕.๑ ควรมีการประกาศมาตรฐานของสถานศึกษา และค่าเปาาหมายตามมาตรฐาน ๕.๒ มีเอกสารรายงานผลการดาเนินงานแต่ละโครงการตามแผนปฏิบัติการที่ละเอียด ชัดเจน ตอบสนองต่อคุณภาพ ตามมาตรฐาน ๕.๓ การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ควรมีรายละเอียดว่าได้นาข้อมูล ข้อเสนอแนะ แต่ละปีไปใช้ปรับปรุงพัฒนางานในการทาแผนงานโครงการปีต่อไป โดยอาจระบุไว้ที่ความเป็นมา ของโครงการ ๖. การดาเนินงานที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ ๙ และ ๑๐ ซึ่งเป็นกลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ และ ๑๒ ซึ่งเป็นกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม สถานศึกษาส่วนมากมีจุดอ่อนคล้ายกับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงควรปฏิบัติลักษณะเดียวกันตามที่กล่าวไว้ข้างต้น จากที่กล่าวไว้ข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งที่ได้พบจุดอ่อนของสถานศึกษา จึงได้แนะนาไว้เป็นแนวทางเตรียม ความพร้อม แต่เพื่อให้เกิดความมั่นใจโดยเฉพาะสถานศึกษาที่กาลังจะรับการประเมินภายนอกในเวลาอันใกล้นี้ ซึ่งมีเวลาเตรียมตัวน้อย สถานศึกษาควรเร่งศึกษาวิเคราะห์เอกสาร คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามทั้ง ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับ ปฐมวัย ในส่วนของ คาอธิบายตัวบ่งชี้ เกณฑ์การพิจารณา และข้อมูล ประกอบการพิจารณา ให้ชัดเจน เพื่อจะได้เตรียมข้อมูล เอกสาร หลักฐานร่องรอยต่างๆ รวมทั้งเตรียมบุคคล ได้อย่างครบถ้วน และพร้อมรับการประเมิน