SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ
รายวิชา การนาเสนอด้วยวีดีทัศน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เริ่มต้นกับวีดีโอและการตัดต่อ
การเลือกใช้รูปแบบไฟล์ภาพ เสียงและวิดีโอที่ไม่เหมาะสมกับลักษณะงาน โดยไม่รู้จักความ
แตกต่างของงานแต่ละชนิดนั้น ส่งผลให้ได้งานที่มีลักษณะไม่สมบูรณ์และมีไฟล์ใหญ่เกินความจาเป็น มีผล
ต่อการใช้ทรัพยากรเช่น ปัญหาเครื่องรับไม่ได้ โปรแกรมไม่รู้จักไฟล์ทาให้งานไม่ประสบความสาเร็จ
1. รูปแบบไฟล์ภาพ
1.1 BMP (Bitmap)
ไฟล์ภาพประเภทที่เก็บจุดของภาพแบบจุดต่อจุดตรงๆ เรียกว่าไฟล์แบบ บิตแมพ(Bitmap)
ไฟล์ประเภทนี้จะมีขนาดใหญ่แต่สามารถเก็บรายละเอียดของภาพได้อย่างสมบูรณ์แต่เนื่องจากการเก็บ
แบบ Bitmap ใช้เนื้อที่ในการเก็บจานวนมาก จึงได้มีการคิดค้นวิธีการเก็บภาพให้มีขนาดเล็กลงโดยยังคง
สามารถเก็บภาพได้เช่นเดิม ขึ้นมาหลายวิธีการ เช่น JPEG และ GIF
1.2 JPEG ( Joint Graphics Expert Group )
เป็นการเก็บไฟล์ภาพแบบที่บีบอัด สามารถทาภาพ ให้มีขนาดของไฟล์ภาพเล็กกว่าแบบ
Bitmap หลายสิบเท่า แต่เหมาะจะใช้กับภาพที่ถ่ายจากธรรมชาติเท่านั้น ไม่เหมาะกับการเก็บภาพเหมือน
จริง เช่น ภาพการ์ตูน เป็นต้น
- เป็นภาพที่ต้องการความคมชัดสูง มีสีมาก
- เหมาะสมกับการนาเสนอทั้งระบบสื่อมัลติมีเดีย และเว็บไซต์
- สามารถกาหนดขนาดของไฟล์ได้ตามความเหมาะสม (File Compression)
- สามารถกาหนดคุณสมบัติการแสดงผลแบบหยาบ แล้วค่อยๆ ละเอียดเมื่อเวลาผ่านไป ที่
เรียกว่าคุณสมบัติ Progressive
1.3 GIF ( Graphics Interchange Format )
เป็นวิธีการเก็บไฟล์ภาพแบบบีบอัดคล้ายกับ JPEG โดยทั่วไปแล้วไม่สามารถเก็บภาพที่ถ่าย
จากธรรมชาติได้มีขนาดเล็กเท่ากับแบบ JPEG แต่สามารถเก็บภาพที่ไม่ใช่ภาพถ่ายจากธรรมชาติเช่น ภาพ
การ์ตูน ได้เป็นอย่างดีนากจากนี้GIF ยังสามารถเก็บภาพไว้ได้หลายๆภาพ ในไฟล์เดียว จึงถูกนาไปใช้สร้าง
ภาพเคลื่อนไหวง่ายๆ เช่น ในอินเตอร์เน็ต
1.4 TIFF ( Tagged Image File Format )
คือการเก็บไฟล์ภาพในลักษณะเดียวกับไฟล์แบบ BMP แต่ในไฟล์มีTagged File ซึ่งเป็น
สัญลักษณ์ที่ช่วยโปรแกรมควบคุมการแสดงภาพ เช่น การแสดงหรือไม่แสดงภาพบางส่วนได้ภาพที่เก็บไว้
ในลักษณะของ TIFF จึงมีความพิเศษกว่าการเก็บแบบอื่นที่กล่าวมา นอกจากนี้ยังมีไฟล์ภาพแบบต่างๆ อีก
หลายแบบ โดยแต่ละแบบจะมีจุดเด่นแตกต่างกันไป มักนิยมใช่ในงานกราฟิกการพิมพ์
1.5 PNG มาจาก Portable Network Graphics
- เป็นภาพที่ต้องการความคมชัดสูง
- รูปแบบล่าสุดในการนาเสนอภาพผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
- สามารถแสดงผลได้ในระบบสีเต็มพิกัด (True Color)
- มีขนาดไฟล์เล็ก และควบคุมคุณภาพได้ตามที่ต้องการ
- มีการกาหนดให้พื้นภาพเป็นพื้นโปร่งใสได้ (Transparent)
- แสดงผลแบบหยาบสู่ละเอียด (Interlaced)
- ส่วนขยายของไฟล์รูปแบบนี้คือ .png
ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ
รายวิชา การนาเสนอด้วยวีดีทัศน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เริ่มต้นกับวีดีโอและการตัดต่อ
2. รูปแบบของไฟล์วิดีโอ
Video file format เป็นรูปแบบที่ใช้บันทึกภาพ และเสียงที่สามารถทางานกับคอมพิวเตอร์ได้
เลย มีหลายรูปแบบได้แก่
2.1 .AVI (Audio / Video Interleave)
เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์เรียกว่า Video for Windows มีนามสกุลเป็น .avi
ปัจจุบันมีโปรแกรมแสดงผลติดตั้งมาพร้อมกับชุด Microsoft Windows คือ Windows Media Player
เป็นรูปแบบของไฟล์มัลติมีเดียบน Windows สาหรับเสียงและภาพเคลื่อนไหวที่ใช้คุณสมบัติของ RIFF
(Resource Interchange File Format) ของ Windows เป็นไฟล์วิดีโอที่มีความละเอียดสูง เหมาะสมกับ
การนามาใช้ในงานตัดต่อวิดีโอ แต่ไม่นิยมนามาใช้ในสื่อดิจิตอลอื่น ๆ เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก
2.2 MPEG - Moving Pictures Experts Group
รูปแบบของไฟล์ที่มีการบีบอัดไฟล์เพื่อให้มีขนาดเล็กลง โดยใช้เทคนิคการบีบข้อมูลแบบ Inter Frame
หมายถึง การนาความแตกต่างของข้อมูลในแต่ละภาพมาบีบ และเก็บ โดยสามารถบีบข้อมูลได้ถึง 200 : 1
หรือเหลือข้อมูลเพียง 100 kb/sec โดยคุณภาพยังดีอยู่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดย MPEG-1 มี
นามสกุล คือ .mpg
ไฟล์MPEG เป็นไฟล์มาตรฐานในการบีบอัดไฟล์วิดีโอ ซึ่งเป็นรูปแบบของวิดีโอที่มีคุณภาพสูง
และนิยมนามาใช้กับงานวิดีโอหลายประเภท ไฟล์MPEG ยังสามารถแบ่งออกตามคุณสมบัติต่างๆ ได้ดังนี้
MPEG-1 เป็นรูปแบบไฟล์ที่เข้ารหัสด้วยการบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็ก เพื่อสร้างไฟล์วิดีโอใน
รูปแบบ VCD ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 352 X 288 และมีการบีบอัดที่สูง มีค่าบิตเรทอยู่ที่ 1.5 Mb/s 2
ช่องสัญญาณเสียง
MPEG-2 เป็นรูปแบบการเข้ารหัสไฟล์ที่สร้างมาเพื่อภาพยนตร์โดยเฉพาะ โดยจะสร้างเป็น
SVCD หรือ DVD ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 1920X1080 ซึ่งอัตราการบีบอัดจะน้อยกว่ารูปแบบ MPEG-1
ไฟล์ที่ได้จึงมีขนาดใหญ่กว่าและมีคุณภาพที่ดีกว่า ซึ่งรูปแบบ MPEG-2 สามารถที่จะบีบอัดข้อมูลตามที่
ต้องการเองได้
MPEG-4 เป็นรูปแบบการเข้ารหัสไฟล์ที่ดีกว่า MPEG-1 และ MPEG-2 เป็นไฟล์วิดีโอบีบอัดที่มี
คุณภาพสูงซึ่งมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 720X576 รองรับสื่อวิดีโอดิจิตอลในปัจจุบัน เช่น Mobile Phone, PSP,
PDA และ iPod
2.3 .DAT
เป็นระบบของไฟล์ภาพยนตร์หรือไฟล์คาราโอเกะจากแผ่น VCD ที่อยู่ในรูปแบบไฟล์MPEG-1 สามารถ
เปิดเล่นด้วยโปรแกรมดูหนัง เช่น Power DVD หรือ โปรแกรม Windows Media Player มีการเข้ารหัส
บีบอัดไฟล์คล้ายกับไฟล์MPEG สามารถเล่นได้บนเครื่องเล่น VCD หรือ DVD ทั่วไป
2.4 .WMV (Windows Media Video)
เป็นไฟล์วิดีโอของบริษัทไมโครซอฟท์สร้างขึ้นมาจากโปรแกรม Windows Movie Maker เป็นไฟล์ที่
ได้รับความนิยมในปัจจุบันจากสื่ออินเทอร์เน็ต มีจุดประสงค์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อการชมวิดีโอแบบ Movie on
ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ
รายวิชา การนาเสนอด้วยวีดีทัศน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เริ่มต้นกับวีดีโอและการตัดต่อ
Demand ด้วยคุณภาพที่ดีและมีขนาดไฟล์ที่เล็ก สามารถที่จะ Upload ขึ้นเว็บไซต์ได้ง่ายและสะดวก
รวดเร็ว
2.5 Quick Time
เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัท Apple ซึ่งมีความนิยมสูงในเครื่องตระกูล Macintosh สามารถใช้ได้กับ
เครื่องที่ใช้ระบบ Windows แต่จาเป็นต้องติดตั้งโปรแกรม QuickTime ก่อน นิยมใช้นาเสนอข้อมูลไฟล์
ผ่านอินเทอร์เน็ต มีนามสกุลเป็น .mov หรือ qt
2.6 Real Player
เป็นรูปแบบของแฟ้มที่พัฒนาโดยบริษัท เรียลเน็ตเวิร์ก (Real Network) รูปแบบแฟ้มชนิดนี้มีส่วนขยาย
เป็น rm ra และ ram โปรแกรมใช้ในการอ่านข้อมูลของแฟ้มประเภทนี้ได้แก่เรียล เพลเยอร์ เรียลเพล
เยอร์จีทู (Real Player G2 ) และ เรียลวัน เพลเยอร์(Real One Player)
2.7 .VOB (Voice of Barbados)
เป็นไฟล์ของ ซึ่งใช้การเข้ารหัสหรือการบีบอัดในรูปแบบ ซึ่งมีคุณภาพสูงทั้งระบบภาพและเสียง สามารถ
เล่นได้จากเครื่องเล่น DVD หรือไดรว์DVD ในเครื่องคอมพิวเตอร์
2.8 Flash Video (.FLV)
เป็นไฟล์วิดีโอในรูปแบบของ Flash ซึ่งมีข้อดีคือ สามารถนามาใช้งานร่วมกับ Component ของ Flash
รวมทั้งไฟล์ที่บีบอัดแล้วมีขนาดเล็กแต่ยังคงรายละเอียดของไฟล์ต้นฉบับได้เป็นอย่างดีแต่มีข้อเสียคือไฟล์
วิดีโอที่ทาการบีบอัดแล้วจะไม่มีเสียง อันนี้ก็ขึ้นอยู่กับการนาไฟล์ไปประยุกต์ใช้งานของแต่ละคน
3. รูปแบบของไฟล์เสียงชนิดต่าง ๆ
ไฟล์ดนตรีที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกันหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทเหมาะกับงานที่
ต่างกัน ไฟล์รูปแบบหลักๆที่ใช้กับพีซี ได้แก่ Wave, CD Audio, MP3, WMA, RA ซึ่งทั้งหมดนี้เรียก
รวมกันว่าเป็นไฟล์รูปแบบคลื่นเสียง (waveform) ส่วนไฟล์ดนตรีอีกประเภทหนึ่งก็คือไฟล์ MIDI
รายละเอียดของไฟล์ดนตรีแต่ละประเภทมีดังนี้
3.1 Wave ไฟล์(เวฟ) ที่มีนามสกุล .wav เป็นไฟล์ข้อมูลคลื่นเสียงที่บันทึกจากเสียงอนาล็อก
เป็นรูปแบบดิจิตอล เก็บเอาไว้ในระบบคอมพิวเตอร์คล้ายกับการบันทึกเทปแต่เป็นการบันทึกไว้ในดิสก์
ของคอมพิวเตอร์แทน Wave เป็นรูปแบบไพล์พื้นฐานของระบบพีซีมีขนาดไฟล์ใหญ่สามารถกาหนด
คุณภาพเสียงได้หลากหลาย เช่น เสียงโมโนหรือสเตอริโอ มีระดับความละเอียดน้อยมาก
3.2 CD Audio เป็นแทร็กเสียงดิจิตอลที่รูปแบบเหมือนกับไฟล์Wave บรรจุไว้ในแผ่นซีดีเพลง
ด้วยรูปแบบพิเศษเฉพาะ ถ้าใส่แผ่นซีดีเพลงเข้าไปในไดรฟ์ซีดีรอมแล้วเปิด My Computer คุณจะเห็นชื่อ
ไฟล์ในแผ่นซีดีมีนามสกุลเป็น .cda เช่นไฟล์ trac1.cda ซึ่งมันไม่ใช่ไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์อย่าง Wave
หรือ MP3 คุณจึงไม่สามารถก๊อบปี้แทร็ก CD Audio เก็บไว้ในฮาร์ดิสก์ได้
3.3 MP3 (นามสกุล .mp3) เป็นไฟล์เสียงที่มีพื้นฐานจากไฟล์ Wave แต่มีขนาดเล็กกว่า
ประมาณ 8-10 เท่าเนื่องจากข้อมูลในไฟล์ถูกบับอัดให้เล็กลงแต่ยังคงคุณภาพไว้ใกล้เคียงต้นฉบับ ไฟล์
MP3 ได้รับความนิยมมากสาหรับการบันทึกเพลง ไฟล์ประเภทนี้ความยาว 4 นาทีมีขนาดประมาณ 5MB
สามารถก๊อบปี้เก็บไว้ในฮารด์ดิสก์ได้เหมือนไฟล์ข้อมูลข้อมูลปกติทั่วไป แต่การสร้างและการแก้ไขไฟล์
ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ
รายวิชา การนาเสนอด้วยวีดีทัศน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เริ่มต้นกับวีดีโอและการตัดต่อ
ค่อนข้างซับซ้อน ก่อนที่จะสร้างไฟล์ MP3 ได้คุณต้องใช้คอมพิวเตอร์บันทึกเสียงจากภายนอกให้เป็นไฟล์
Wave แล้ว จากนั้นจึงเข้ารหัสบีบอัดให้กลายเป็น MP3 หรือต้องใช้อุปกรณ์พิเศษที่สามารถบันทึกและ
เข้ารหัส MP3 ในทันทีได้
3.4 WMA (Windows Media Audio) เป็นไฟล์เสียงดิจิตอลรูปแบบใหม่กว่า MP3 มีการบีบ
อัดดีกว่า ทาให้ไฟล์มีขนาดเล็กกว่า MP3 คุณสมบัติทั่วไปเหมือนกับ MP3
3.5 RA (Real Audio) เป็นไฟล์เสียงสาหรับใช้กับโปรแกรม Real Player โดยเฉพาะ มี
พื้นฐานมาจากไฟล์ Wave แต่ถูกบีบอัดให้เล็กลงด้วยเทคโนโลยีเฉพาะ เพื่อใช้ในการรับส่งข้อมูลเสียงทาง
อินเทอร์เน็ตเป็นหลัก
3.6 MIDI MIDI (Musical Instrument Digital Interface) (อ่านว่า “มิดี้”) ที่มีนามสกุล .mid
เป็นไฟล์ข้อมูลดนตรีที่ถูกบันทึกหรือโปรแกรมเอาไว้เช่น เสียงเครื่องดนตรีต่างๆ ตัวโน๊ต ความเร็วจังหวะ
ฯลฯ สาหรับนาไปใช้กับอุปกรณ์ดนตรีเช่น ซาวนด์การ์ด หรือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์เมื่อข้อมูลถูกส่ง
จากคอมพิวเตอร์เข้าสู่อุปกรณ์ดนตรีจะทาให้อุปกรณ์ดนตรีจะเล่นดนตรีตามข้อมูลในไฟล์เหมือนกับคนอื่น
มาเล่นดนตรีให้คุณฟังในวงการดนตรี MIDI คือลักษณะการต่อเชื่อมเครื่องดนตรีแบบดิจิตอล ใช้อ้างถึง
ความสามารถในการสื่อสารระหว่างเครื่องดนตรีผ่านทางพอร์ต MIDI (ช่องสาหรับเสียบสายสัญญาณ) โดย
เครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งส่งข้อมูลไปให้อีกเครื่องหนึ่ง เพื่อสั่งให้ทางานหรือส่งเสียงตามที่ต้องการได้
ตัวอย่างเช่น คุณเชื่อมต่อกีตาร์ไฟฟ้ากับคีย์บอร์ดเข้าด้วยกัน เมื่อคุณดีดกีต้าร์สมมุติว่าเป็นโน๊ตเสียงโด
คีย์บอร์ดก็จะส่งเสียงโด ออกมาพร้อมกันทันทีเหมือนกับมีอีกคนมาช่วยเล่นคีย์บอร์ดให้คุณ
4. ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์
ในปัจจุบันนี้มีระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่นิยมใช้ในแถบภูมิภาคต่างๆ คือ
4.1 ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) เป็นระบบโทรทัศน์สี
ระบบแรกที่ใช้งานในประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี ค.ศ.1953 ประเทศที่ใช้ระบบนี้ต่อ ๆ มาได้แก่ญี่ปุ่น
แคนาดา เปอเตอริโก้และเม็กซิโก เป็นต้น
4.2 ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เป็นระบบโทรทัศน์ที่พัฒนามาจากระบบ NTSC
ทาให้มีการเพี้ยนของสีน้อยลง เริ่มใช้งานมาตั้งแต่ปีค.ศ.1967 ในประเทศทางแถบยุโรป คือ เยอรมัน
ตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์และมีหลาย
ประเทศในแถบเอเซียที่ใช้กันคือ สิงคโปร์ มาเลเซีย รวมไปถึงประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้
4.3 ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memoire("memory sequential")) เป็นระบบโทรทัศน์
อีกระบบหนึ่งคิดค้นขึ้นโดย Dr.Henry D.France เริ่มใช้มาตั้งแต่ปีค.ศ.1967 นิยมใช้กันอยหู่ ลายประเทศ
แถบยุโรปตะวันออก ได้แก่ฝรั่งเศส อัลจีเรีย เยอรมันตะวันออก ฮังการีตูนีเซีย รูมาเนีย และรัสเซีย เป็นต้น
อ้างอิงจาก
http://www.guycomputer.com/mean/picturefile.htm
http://www.yupparaj.ac.th/CAI/graphic/type.html
http://www.ceted.org/cet_media/detail.php?mode=Knowledge&pid=185
http://forum.thaidvd.net/lofiversion/index.php/t814-1100.html

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนแบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
somchao
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
dnavaroj
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศี
netissfs
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 

Tendances (20)

เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนแบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศี
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 

Similaire à ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ

ใบงานที่ 2.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ เรื่อง นำไฟล์วิดีโอจำกแหล่งต่ำงๆเข้ำมำ...
ใบงานที่ 2.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ เรื่อง นำไฟล์วิดีโอจำกแหล่งต่ำงๆเข้ำมำ...ใบงานที่ 2.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ เรื่อง นำไฟล์วิดีโอจำกแหล่งต่ำงๆเข้ำมำ...
ใบงานที่ 2.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ เรื่อง นำไฟล์วิดีโอจำกแหล่งต่ำงๆเข้ำมำ...
Kung Kung
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดีย
Duangsuwun Lasadang
 
Moviemaker
MoviemakerMoviemaker
Moviemaker
kunploy
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
bangfa
 

Similaire à ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ (20)

ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียเล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
 
ใบงานที่ 2.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ เรื่อง นำไฟล์วิดีโอจำกแหล่งต่ำงๆเข้ำมำ...
ใบงานที่ 2.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ เรื่อง นำไฟล์วิดีโอจำกแหล่งต่ำงๆเข้ำมำ...ใบงานที่ 2.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ เรื่อง นำไฟล์วิดีโอจำกแหล่งต่ำงๆเข้ำมำ...
ใบงานที่ 2.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ เรื่อง นำไฟล์วิดีโอจำกแหล่งต่ำงๆเข้ำมำ...
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
 
videospin
videospinvideospin
videospin
 
Onet-work4-11
Onet-work4-11Onet-work4-11
Onet-work4-11
 
Onet-work4-11
Onet-work4-11Onet-work4-11
Onet-work4-11
 
Thunnichaworl4 docx
Thunnichaworl4 docxThunnichaworl4 docx
Thunnichaworl4 docx
 
Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Proshow gold by wutjung
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดีย
 
Moviemaker
MoviemakerMoviemaker
Moviemaker
 
0123
01230123
0123
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
onet-work4-56
onet-work4-56onet-work4-56
onet-work4-56
 
e-Publishing
e-Publishinge-Publishing
e-Publishing
 
Course Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียCourse Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดีย
 
06550149
0655014906550149
06550149
 

Plus de Melody Moon

หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
Melody Moon
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์
Melody Moon
 
อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้
Melody Moon
 
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
Melody Moon
 
Group9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisGroup9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysis
Melody Moon
 
Group9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisGroup9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysis
Melody Moon
 

Plus de Melody Moon (8)

Reflection
ReflectionReflection
Reflection
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์
 
อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้
 
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
วิถีสร้างการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์
 
Website
WebsiteWebsite
Website
 
Group9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisGroup9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysis
 
Group9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysisGroup9 (present) web analysis
Group9 (present) web analysis
 

ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ รายวิชา การนาเสนอด้วยวีดีทัศน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เริ่มต้นกับวีดีโอและการตัดต่อ การเลือกใช้รูปแบบไฟล์ภาพ เสียงและวิดีโอที่ไม่เหมาะสมกับลักษณะงาน โดยไม่รู้จักความ แตกต่างของงานแต่ละชนิดนั้น ส่งผลให้ได้งานที่มีลักษณะไม่สมบูรณ์และมีไฟล์ใหญ่เกินความจาเป็น มีผล ต่อการใช้ทรัพยากรเช่น ปัญหาเครื่องรับไม่ได้ โปรแกรมไม่รู้จักไฟล์ทาให้งานไม่ประสบความสาเร็จ 1. รูปแบบไฟล์ภาพ 1.1 BMP (Bitmap) ไฟล์ภาพประเภทที่เก็บจุดของภาพแบบจุดต่อจุดตรงๆ เรียกว่าไฟล์แบบ บิตแมพ(Bitmap) ไฟล์ประเภทนี้จะมีขนาดใหญ่แต่สามารถเก็บรายละเอียดของภาพได้อย่างสมบูรณ์แต่เนื่องจากการเก็บ แบบ Bitmap ใช้เนื้อที่ในการเก็บจานวนมาก จึงได้มีการคิดค้นวิธีการเก็บภาพให้มีขนาดเล็กลงโดยยังคง สามารถเก็บภาพได้เช่นเดิม ขึ้นมาหลายวิธีการ เช่น JPEG และ GIF 1.2 JPEG ( Joint Graphics Expert Group ) เป็นการเก็บไฟล์ภาพแบบที่บีบอัด สามารถทาภาพ ให้มีขนาดของไฟล์ภาพเล็กกว่าแบบ Bitmap หลายสิบเท่า แต่เหมาะจะใช้กับภาพที่ถ่ายจากธรรมชาติเท่านั้น ไม่เหมาะกับการเก็บภาพเหมือน จริง เช่น ภาพการ์ตูน เป็นต้น - เป็นภาพที่ต้องการความคมชัดสูง มีสีมาก - เหมาะสมกับการนาเสนอทั้งระบบสื่อมัลติมีเดีย และเว็บไซต์ - สามารถกาหนดขนาดของไฟล์ได้ตามความเหมาะสม (File Compression) - สามารถกาหนดคุณสมบัติการแสดงผลแบบหยาบ แล้วค่อยๆ ละเอียดเมื่อเวลาผ่านไป ที่ เรียกว่าคุณสมบัติ Progressive 1.3 GIF ( Graphics Interchange Format ) เป็นวิธีการเก็บไฟล์ภาพแบบบีบอัดคล้ายกับ JPEG โดยทั่วไปแล้วไม่สามารถเก็บภาพที่ถ่าย จากธรรมชาติได้มีขนาดเล็กเท่ากับแบบ JPEG แต่สามารถเก็บภาพที่ไม่ใช่ภาพถ่ายจากธรรมชาติเช่น ภาพ การ์ตูน ได้เป็นอย่างดีนากจากนี้GIF ยังสามารถเก็บภาพไว้ได้หลายๆภาพ ในไฟล์เดียว จึงถูกนาไปใช้สร้าง ภาพเคลื่อนไหวง่ายๆ เช่น ในอินเตอร์เน็ต 1.4 TIFF ( Tagged Image File Format ) คือการเก็บไฟล์ภาพในลักษณะเดียวกับไฟล์แบบ BMP แต่ในไฟล์มีTagged File ซึ่งเป็น สัญลักษณ์ที่ช่วยโปรแกรมควบคุมการแสดงภาพ เช่น การแสดงหรือไม่แสดงภาพบางส่วนได้ภาพที่เก็บไว้ ในลักษณะของ TIFF จึงมีความพิเศษกว่าการเก็บแบบอื่นที่กล่าวมา นอกจากนี้ยังมีไฟล์ภาพแบบต่างๆ อีก หลายแบบ โดยแต่ละแบบจะมีจุดเด่นแตกต่างกันไป มักนิยมใช่ในงานกราฟิกการพิมพ์ 1.5 PNG มาจาก Portable Network Graphics - เป็นภาพที่ต้องการความคมชัดสูง - รูปแบบล่าสุดในการนาเสนอภาพผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต - สามารถแสดงผลได้ในระบบสีเต็มพิกัด (True Color) - มีขนาดไฟล์เล็ก และควบคุมคุณภาพได้ตามที่ต้องการ - มีการกาหนดให้พื้นภาพเป็นพื้นโปร่งใสได้ (Transparent) - แสดงผลแบบหยาบสู่ละเอียด (Interlaced) - ส่วนขยายของไฟล์รูปแบบนี้คือ .png
  • 2. ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ รายวิชา การนาเสนอด้วยวีดีทัศน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เริ่มต้นกับวีดีโอและการตัดต่อ 2. รูปแบบของไฟล์วิดีโอ Video file format เป็นรูปแบบที่ใช้บันทึกภาพ และเสียงที่สามารถทางานกับคอมพิวเตอร์ได้ เลย มีหลายรูปแบบได้แก่ 2.1 .AVI (Audio / Video Interleave) เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์เรียกว่า Video for Windows มีนามสกุลเป็น .avi ปัจจุบันมีโปรแกรมแสดงผลติดตั้งมาพร้อมกับชุด Microsoft Windows คือ Windows Media Player เป็นรูปแบบของไฟล์มัลติมีเดียบน Windows สาหรับเสียงและภาพเคลื่อนไหวที่ใช้คุณสมบัติของ RIFF (Resource Interchange File Format) ของ Windows เป็นไฟล์วิดีโอที่มีความละเอียดสูง เหมาะสมกับ การนามาใช้ในงานตัดต่อวิดีโอ แต่ไม่นิยมนามาใช้ในสื่อดิจิตอลอื่น ๆ เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก 2.2 MPEG - Moving Pictures Experts Group รูปแบบของไฟล์ที่มีการบีบอัดไฟล์เพื่อให้มีขนาดเล็กลง โดยใช้เทคนิคการบีบข้อมูลแบบ Inter Frame หมายถึง การนาความแตกต่างของข้อมูลในแต่ละภาพมาบีบ และเก็บ โดยสามารถบีบข้อมูลได้ถึง 200 : 1 หรือเหลือข้อมูลเพียง 100 kb/sec โดยคุณภาพยังดีอยู่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดย MPEG-1 มี นามสกุล คือ .mpg ไฟล์MPEG เป็นไฟล์มาตรฐานในการบีบอัดไฟล์วิดีโอ ซึ่งเป็นรูปแบบของวิดีโอที่มีคุณภาพสูง และนิยมนามาใช้กับงานวิดีโอหลายประเภท ไฟล์MPEG ยังสามารถแบ่งออกตามคุณสมบัติต่างๆ ได้ดังนี้ MPEG-1 เป็นรูปแบบไฟล์ที่เข้ารหัสด้วยการบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็ก เพื่อสร้างไฟล์วิดีโอใน รูปแบบ VCD ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 352 X 288 และมีการบีบอัดที่สูง มีค่าบิตเรทอยู่ที่ 1.5 Mb/s 2 ช่องสัญญาณเสียง MPEG-2 เป็นรูปแบบการเข้ารหัสไฟล์ที่สร้างมาเพื่อภาพยนตร์โดยเฉพาะ โดยจะสร้างเป็น SVCD หรือ DVD ซึ่งจะมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 1920X1080 ซึ่งอัตราการบีบอัดจะน้อยกว่ารูปแบบ MPEG-1 ไฟล์ที่ได้จึงมีขนาดใหญ่กว่าและมีคุณภาพที่ดีกว่า ซึ่งรูปแบบ MPEG-2 สามารถที่จะบีบอัดข้อมูลตามที่ ต้องการเองได้ MPEG-4 เป็นรูปแบบการเข้ารหัสไฟล์ที่ดีกว่า MPEG-1 และ MPEG-2 เป็นไฟล์วิดีโอบีบอัดที่มี คุณภาพสูงซึ่งมีขนาดสูงสุดอยู่ที่ 720X576 รองรับสื่อวิดีโอดิจิตอลในปัจจุบัน เช่น Mobile Phone, PSP, PDA และ iPod 2.3 .DAT เป็นระบบของไฟล์ภาพยนตร์หรือไฟล์คาราโอเกะจากแผ่น VCD ที่อยู่ในรูปแบบไฟล์MPEG-1 สามารถ เปิดเล่นด้วยโปรแกรมดูหนัง เช่น Power DVD หรือ โปรแกรม Windows Media Player มีการเข้ารหัส บีบอัดไฟล์คล้ายกับไฟล์MPEG สามารถเล่นได้บนเครื่องเล่น VCD หรือ DVD ทั่วไป 2.4 .WMV (Windows Media Video) เป็นไฟล์วิดีโอของบริษัทไมโครซอฟท์สร้างขึ้นมาจากโปรแกรม Windows Movie Maker เป็นไฟล์ที่ ได้รับความนิยมในปัจจุบันจากสื่ออินเทอร์เน็ต มีจุดประสงค์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อการชมวิดีโอแบบ Movie on
  • 3. ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ รายวิชา การนาเสนอด้วยวีดีทัศน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เริ่มต้นกับวีดีโอและการตัดต่อ Demand ด้วยคุณภาพที่ดีและมีขนาดไฟล์ที่เล็ก สามารถที่จะ Upload ขึ้นเว็บไซต์ได้ง่ายและสะดวก รวดเร็ว 2.5 Quick Time เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัท Apple ซึ่งมีความนิยมสูงในเครื่องตระกูล Macintosh สามารถใช้ได้กับ เครื่องที่ใช้ระบบ Windows แต่จาเป็นต้องติดตั้งโปรแกรม QuickTime ก่อน นิยมใช้นาเสนอข้อมูลไฟล์ ผ่านอินเทอร์เน็ต มีนามสกุลเป็น .mov หรือ qt 2.6 Real Player เป็นรูปแบบของแฟ้มที่พัฒนาโดยบริษัท เรียลเน็ตเวิร์ก (Real Network) รูปแบบแฟ้มชนิดนี้มีส่วนขยาย เป็น rm ra และ ram โปรแกรมใช้ในการอ่านข้อมูลของแฟ้มประเภทนี้ได้แก่เรียล เพลเยอร์ เรียลเพล เยอร์จีทู (Real Player G2 ) และ เรียลวัน เพลเยอร์(Real One Player) 2.7 .VOB (Voice of Barbados) เป็นไฟล์ของ ซึ่งใช้การเข้ารหัสหรือการบีบอัดในรูปแบบ ซึ่งมีคุณภาพสูงทั้งระบบภาพและเสียง สามารถ เล่นได้จากเครื่องเล่น DVD หรือไดรว์DVD ในเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.8 Flash Video (.FLV) เป็นไฟล์วิดีโอในรูปแบบของ Flash ซึ่งมีข้อดีคือ สามารถนามาใช้งานร่วมกับ Component ของ Flash รวมทั้งไฟล์ที่บีบอัดแล้วมีขนาดเล็กแต่ยังคงรายละเอียดของไฟล์ต้นฉบับได้เป็นอย่างดีแต่มีข้อเสียคือไฟล์ วิดีโอที่ทาการบีบอัดแล้วจะไม่มีเสียง อันนี้ก็ขึ้นอยู่กับการนาไฟล์ไปประยุกต์ใช้งานของแต่ละคน 3. รูปแบบของไฟล์เสียงชนิดต่าง ๆ ไฟล์ดนตรีที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกันหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทเหมาะกับงานที่ ต่างกัน ไฟล์รูปแบบหลักๆที่ใช้กับพีซี ได้แก่ Wave, CD Audio, MP3, WMA, RA ซึ่งทั้งหมดนี้เรียก รวมกันว่าเป็นไฟล์รูปแบบคลื่นเสียง (waveform) ส่วนไฟล์ดนตรีอีกประเภทหนึ่งก็คือไฟล์ MIDI รายละเอียดของไฟล์ดนตรีแต่ละประเภทมีดังนี้ 3.1 Wave ไฟล์(เวฟ) ที่มีนามสกุล .wav เป็นไฟล์ข้อมูลคลื่นเสียงที่บันทึกจากเสียงอนาล็อก เป็นรูปแบบดิจิตอล เก็บเอาไว้ในระบบคอมพิวเตอร์คล้ายกับการบันทึกเทปแต่เป็นการบันทึกไว้ในดิสก์ ของคอมพิวเตอร์แทน Wave เป็นรูปแบบไพล์พื้นฐานของระบบพีซีมีขนาดไฟล์ใหญ่สามารถกาหนด คุณภาพเสียงได้หลากหลาย เช่น เสียงโมโนหรือสเตอริโอ มีระดับความละเอียดน้อยมาก 3.2 CD Audio เป็นแทร็กเสียงดิจิตอลที่รูปแบบเหมือนกับไฟล์Wave บรรจุไว้ในแผ่นซีดีเพลง ด้วยรูปแบบพิเศษเฉพาะ ถ้าใส่แผ่นซีดีเพลงเข้าไปในไดรฟ์ซีดีรอมแล้วเปิด My Computer คุณจะเห็นชื่อ ไฟล์ในแผ่นซีดีมีนามสกุลเป็น .cda เช่นไฟล์ trac1.cda ซึ่งมันไม่ใช่ไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์อย่าง Wave หรือ MP3 คุณจึงไม่สามารถก๊อบปี้แทร็ก CD Audio เก็บไว้ในฮาร์ดิสก์ได้ 3.3 MP3 (นามสกุล .mp3) เป็นไฟล์เสียงที่มีพื้นฐานจากไฟล์ Wave แต่มีขนาดเล็กกว่า ประมาณ 8-10 เท่าเนื่องจากข้อมูลในไฟล์ถูกบับอัดให้เล็กลงแต่ยังคงคุณภาพไว้ใกล้เคียงต้นฉบับ ไฟล์ MP3 ได้รับความนิยมมากสาหรับการบันทึกเพลง ไฟล์ประเภทนี้ความยาว 4 นาทีมีขนาดประมาณ 5MB สามารถก๊อบปี้เก็บไว้ในฮารด์ดิสก์ได้เหมือนไฟล์ข้อมูลข้อมูลปกติทั่วไป แต่การสร้างและการแก้ไขไฟล์
  • 4. ใบความรู้ที่ 1 รู้จักรูปแบบไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วีดีโอ รายวิชา การนาเสนอด้วยวีดีทัศน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เริ่มต้นกับวีดีโอและการตัดต่อ ค่อนข้างซับซ้อน ก่อนที่จะสร้างไฟล์ MP3 ได้คุณต้องใช้คอมพิวเตอร์บันทึกเสียงจากภายนอกให้เป็นไฟล์ Wave แล้ว จากนั้นจึงเข้ารหัสบีบอัดให้กลายเป็น MP3 หรือต้องใช้อุปกรณ์พิเศษที่สามารถบันทึกและ เข้ารหัส MP3 ในทันทีได้ 3.4 WMA (Windows Media Audio) เป็นไฟล์เสียงดิจิตอลรูปแบบใหม่กว่า MP3 มีการบีบ อัดดีกว่า ทาให้ไฟล์มีขนาดเล็กกว่า MP3 คุณสมบัติทั่วไปเหมือนกับ MP3 3.5 RA (Real Audio) เป็นไฟล์เสียงสาหรับใช้กับโปรแกรม Real Player โดยเฉพาะ มี พื้นฐานมาจากไฟล์ Wave แต่ถูกบีบอัดให้เล็กลงด้วยเทคโนโลยีเฉพาะ เพื่อใช้ในการรับส่งข้อมูลเสียงทาง อินเทอร์เน็ตเป็นหลัก 3.6 MIDI MIDI (Musical Instrument Digital Interface) (อ่านว่า “มิดี้”) ที่มีนามสกุล .mid เป็นไฟล์ข้อมูลดนตรีที่ถูกบันทึกหรือโปรแกรมเอาไว้เช่น เสียงเครื่องดนตรีต่างๆ ตัวโน๊ต ความเร็วจังหวะ ฯลฯ สาหรับนาไปใช้กับอุปกรณ์ดนตรีเช่น ซาวนด์การ์ด หรือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์เมื่อข้อมูลถูกส่ง จากคอมพิวเตอร์เข้าสู่อุปกรณ์ดนตรีจะทาให้อุปกรณ์ดนตรีจะเล่นดนตรีตามข้อมูลในไฟล์เหมือนกับคนอื่น มาเล่นดนตรีให้คุณฟังในวงการดนตรี MIDI คือลักษณะการต่อเชื่อมเครื่องดนตรีแบบดิจิตอล ใช้อ้างถึง ความสามารถในการสื่อสารระหว่างเครื่องดนตรีผ่านทางพอร์ต MIDI (ช่องสาหรับเสียบสายสัญญาณ) โดย เครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งส่งข้อมูลไปให้อีกเครื่องหนึ่ง เพื่อสั่งให้ทางานหรือส่งเสียงตามที่ต้องการได้ ตัวอย่างเช่น คุณเชื่อมต่อกีตาร์ไฟฟ้ากับคีย์บอร์ดเข้าด้วยกัน เมื่อคุณดีดกีต้าร์สมมุติว่าเป็นโน๊ตเสียงโด คีย์บอร์ดก็จะส่งเสียงโด ออกมาพร้อมกันทันทีเหมือนกับมีอีกคนมาช่วยเล่นคีย์บอร์ดให้คุณ 4. ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ ในปัจจุบันนี้มีระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่นิยมใช้ในแถบภูมิภาคต่างๆ คือ 4.1 ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) เป็นระบบโทรทัศน์สี ระบบแรกที่ใช้งานในประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี ค.ศ.1953 ประเทศที่ใช้ระบบนี้ต่อ ๆ มาได้แก่ญี่ปุ่น แคนาดา เปอเตอริโก้และเม็กซิโก เป็นต้น 4.2 ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เป็นระบบโทรทัศน์ที่พัฒนามาจากระบบ NTSC ทาให้มีการเพี้ยนของสีน้อยลง เริ่มใช้งานมาตั้งแต่ปีค.ศ.1967 ในประเทศทางแถบยุโรป คือ เยอรมัน ตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์และมีหลาย ประเทศในแถบเอเซียที่ใช้กันคือ สิงคโปร์ มาเลเซีย รวมไปถึงประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้ 4.3 ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memoire("memory sequential")) เป็นระบบโทรทัศน์ อีกระบบหนึ่งคิดค้นขึ้นโดย Dr.Henry D.France เริ่มใช้มาตั้งแต่ปีค.ศ.1967 นิยมใช้กันอยหู่ ลายประเทศ แถบยุโรปตะวันออก ได้แก่ฝรั่งเศส อัลจีเรีย เยอรมันตะวันออก ฮังการีตูนีเซีย รูมาเนีย และรัสเซีย เป็นต้น อ้างอิงจาก http://www.guycomputer.com/mean/picturefile.htm http://www.yupparaj.ac.th/CAI/graphic/type.html http://www.ceted.org/cet_media/detail.php?mode=Knowledge&pid=185 http://forum.thaidvd.net/lofiversion/index.php/t814-1100.html