SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  136
การจัดการสาธารณสุขใน
      ประเทศไทย


               Watcharin Chongkonsatit
                          M.B.A., M.Ed.
                        Ph.D. Candidate
สังคมไทยที่พึงประสงค์
                                                               เป็นสังคมที่คนดําเนินชีวิตบนพื้นฐานของ
                                                               ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาอย่างมี
                                                               ความสมดุล มีความมั่นคง ครอบครัวมีความ
                                                               อบอุ่น มีการวางแผนพัฒนาสอดคล้องกับ
                                         สังคมอย่างพอเพียง     ความต้องการของท้องถิ่น

                                                                          เป็นสังคมที่คนในชาติอยู่ร่วม
ทุกคนในสังคมได้รับความเป็น                                                กันอย่างสงบสุข รู้คุณค่าและ
ธรรมทั้งทางกฎหมายและความ                                                  คงความเป็นไทย จารีต
ยุติธรรม มีความปลอดภัยใน                                                  ประเพณีที่ต้องดํารงรักษาและ
                                 สังคมเป็นธรรม        สังคมเป็นไทย
ชีวิตและทรัพย์สิน ได้รับบริการ                                            สืบทอดให้คงอยู่ การดูแล
สังคมทางการศึกษา สุขภาพ                                                   ช่วยเหลือ เอื้ออาทร และมี
และสวัสดิการอย่างเป็นธรรม                                                 น้ําใจ ตลอดจนการดําเนินชีวิต
รวมทั้งเป็นเจ้าของและร่วมใช้                                              ตามแบบวิถีไทย อันมีชาติ
ประโยชน์จากทรัพยากรใน                                                     ศาสนา พระมหากษัตริย์เป็น
ธรรมชาติอย่างคุ้มค่า                                                      ศูนย์กลาง
                                                                              ดัดแปลงจาก สันติ
องค์ประกอบของการอยู่ดีมีสุข
    •มีการดูแลคนในสังคมให้                                        ช่วยเสริมสร้างศักยภาพของคนไทยให้มีทักษะ
   มีสิทธิเสรีภาพในการดํารง                                       ความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทัน
   ชีวิต                                             ความรู้
   •ประชาชนมีส่วนร่วมใน                                                               •เป็นที่มาของรายได้และ
   การพัฒนาและตรวจสอบ                                                                 อํานาจซื้อ
                                   การบริหาร
   รัฐ                                                              ชีวิตการทํางาน    •นําไปสู่ความสําเร็จและ
                                   จัดการที่ดี
   •รัฐกับประชาชนมี                                                                   คุณภาพชีวิตที่ดี
   สัมพันธภาพที่ดีต่อกัน                                                              •ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
                                                  สุขภาพอนามัย                        เศรษฐกิจภาพรวม
   •มีที่อยู่อาศัยมั่นคง ได้รับ
   สาธารณูปโภคพอเพียง                                                 รายได้และ
   •มีความปลอดภัยในชีวิต                                                              •ความเท่าเทียมกันของ
                                  สภาพแวดล้อม                       การกระจายราย      รายได้
   และทรัพย์สิน อนามัยสิ่ง                                               ได้
   แวดล้อม
                                                                                      •ปัญหาความยากจน
                                                  ชีวิตครอบครัว
•สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติ                   •ครอบครัวที่มีความรัก ความอบอุ่น รู้บทบาทหน้าที่
ปัญญา                                                             •มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ลดปัจจัยเสี่ยงของครอบครัว
•มีภาวะโภชนาการที่ดี                                              •สามารถพึ่งพาตนเองได้และเกื้อกูลสังคม
สุขภาพ
สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิต ทางสังคม
            และทางจิตวิญญาณ
                                          สุขภาวะ
                                             ทาง
                                          วิญญาณ

                                    สุขภาวะทางสังคม

                                      สุขภาวะทางจิต

                                     สุขภาวะทางกาย
                                                      ประเวศ วะสี
สุขภาพ 4 มิติ
ลําดับที่              สุขภาวะ                                            ความหมาย

                                                                       มีปัจจัย 4 เพียงพอ
                                               ร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยโดยไม่จําเป็น ไม่พิการ ไม่ตายก่อนวัยอันควร
   1              ทางกาย (Physical)
                                                           เมื่อป่วยได้รับการดูแลที่ดี หายดี หายเร็ว
                                                                        มีคุณภาพชีวิตที่ดี

                                                จิตใจมีความสุข ไม่เครียด ไม่บีบคั้น ไม่เจ็บป่วยทางจิต หรือเมื่อมี
   2                ทางใจ (Mental)
                                                            ความเครียดสามารถคลายเครียดได้

                                                 สังคมพึ่งพาช่วยเหลือเกื้อกูล สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมดี
                                                          มีคุณค่า มีศักดิ์ศรี อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
   3               ทางสังคม (Social)
                                                 ครอบครัวอบอุ่น สังคมดี มีอาชญากรรม และความรุนแรงน้อย
                                                              มีนโยบายสาธารณะ (Public policy) ดี
                                                                  เข้าใจสรรพสิ่งอย่างเป็นจริง
                                                                         จิตใจเปี่ยมสุข
   4        ทางปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual)
                                                                  เข้าใจสิ่งดีงามถูกต้องสูงสุด
                                                         จิตใจมีเมตตา กรุณา มีจิตใจสะอาด สง่า สงบ
                                                                                                    อําพล จินดา
นิยามสุขภาพ
•   พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2539
    “ภาวะที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ การสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ”
•   Ottawa charter for health promotion, WHO (1986)
    “สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สังคมและจิตใจ ประกอบกัน ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคภัย
    ไข้เจ็บหรือความพิการเท่านั้น”

•   วรรณา คุณาอภิสิทธิ, 2547
                      ์
    “ความเป็นดีอยู่ดี หรือภาวะที่เป็นสุขในลักษณะองค์รวมของสุขภาพด้านต่างๆ คือสุขภาวะทาง
    กาย สุขภาวะทางปัญญา สุขภาวะทางอารมณ์ สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะทางจิตวิญญาณ”
•   WHO, 1998
    “สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ (Spiritual well-being)
    ประกอบกัน ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บหรือความพิการเท่านั้น”
นิยามสุขภาพ
              Medical model                                  Sociological model

• โรคคือกลไกของร่างกายที่ผิดปกติ                  • ความเจ็บป่วยมีหลายสาเหตุ ไม่เพียงสาเหตุ
• ความผิดปกติของมนุษย์เกิดจากสาเหตุที่              ใดสาเหตุหนึ่ง และการรักษาที่ดีที่สุดอย่าง
  จําเพาะ                                           เดียวไม่มี
• การรักษาทางการแพทย์เป็นการรักษาสาย              • โรคคือการตีความหมายทางการแพทย์เกี่ยว
  หลัก ไม่จําเป็นต้องมีการรักษาทางเลือก             กับความจริง
• สันนิษฐานว่าร่างกายและจิตใจแยกจากกัน            • ความไม่สบายของมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของ
  อย่างชัดเจน                                       สังคม ความเป็นมาในอดีต และบริบททาง
• สิ่งที่ทําให้เจ็บป่วยอยู่ร่างกายของคนหรือสิ่ง     วัฒนธรรม
  แวดล้อม                                         • ความเจ็บป่วยเป็นตัวแปรกลางที่มีผลกระทบ
                                                    ต่อความสัมพันธ์ทางสังคม



                                                                                 Tuner, 1987
นิยามสุขภาพ (3)


                                    แนวคิดด้านจิตวิทยา
                                     (Psychological                แนวคิดด้านสังคมวิทยา
 แนวคิดด้านชีวเวชศาสตร์                approach)                 (Sociological approach)
(Biomedical approach) “การสะท้อนความรู้สึกทั้งมวลของ “ความสามารถของบุคคลในการ
 “การปราศจากโรคหรือการทํา บุคคลต่อสุขภาพของตนเอง ความ ปฏิบัติหน้าที่และกิจการในชีวิต
หน้าที่ผิดปกติของร่างกาย- ถ้า รู้สึกที่ดีในการดํารงชีวิตประจําวัน ประจําวันตามที่สังคมคาดหวัง เป้
ท่านไม่ป่วยท่านก็จะมีสุขภาพดี” การประสบความสําเร็จการทํางาน นความรู้สึกบวกที่ประกอบด้วยมิติ
                                 ความรู้สึกเปล่าเปลี่ยว และการ          ทุกด้านของบุคคล”
                                     วิพากษ์จากบุคคลอื่น”




                                                                                       Heiss and
นิยามสุขภาพ (4)




                  Smith, 1981
นิยามสุขภาพ (4)
                                 Eudemonistic perspective
 เป็นการตระหนักในศักยภาพของคนในการพัฒนาตนเอง เป็นภาวะที่บรรลุซึ่งความสําเร็จสูงสุดในชีวิต


                                        Adaptive model
 เป็นความสามารถที่จะมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพระหว่างร่างกายและสังคมสิ่งแวดล้อม เชื่อว่ามนุษย์มีการ
      ปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมอย่างตลอดเวลาเพื่อรักษาสมดุล การมีโรคจึงเป็นความล้มเหลวในการปรับตัว

                                 Role performance model
เป็นความสามารถที่จะปฏิบัติหน้าที่ทางสังคม เช่น ความสามารถในการทํางาน การเจ็บป่วยจึงถูกกําหนด
                      ด้วยความสามารถที่จะทําหน้าที่หรือกิจวัตรประจําวัน

                                         Clinical model
           สุขภาพเป็นการปราศจากโรคหรือการขาดสมดุล คนที่มีโรคคือคนที่มีสุขภาพไม่ดี


                                                                                            Smith, 1981
ความหมายของสุขภาพ
ความหมายของสุขภาพ
• สุขภาพเป็นวิถีชีวิต เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
 หรือเป็นพลวัต สุขภาพเป็นความสามารถของสิ่งมีชีวิตในการทํา
 หน้าที่อย่างเข้มแข็ง กระฉับกระเฉงจนบรรลุสุขภาพดีหรือสุข
 ภาวะ
ความหมายของสุขภาพ
• สุขภาพเป็นวิถีชีวิต เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
  หรือเป็นพลวัต สุขภาพเป็นความสามารถของสิ่งมีชีวิตในการทํา
  หน้าที่อย่างเข้มแข็ง กระฉับกระเฉงจนบรรลุสุขภาพดีหรือสุข
  ภาวะ
• สุขภาพ (Health) แปลว่า หน่วยรวม (wholeness) ดังนั้นสุขภาพ
  จึงเป็นกระบวนการซึ่งทุกๆ ส่วนในชีวิตของบุคคลทํางานไปด้วย
  กันในลักษณะผสมผสานโดยเน้นที่ความเป็นหน่วยรวมของคน
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ


                 HOST




AGENT                             ENVIRONMENT
ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง
             รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม
ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง
               รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม




Highest
 health
potential
ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง
               รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม




Highest
 health     Good health
potential
ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง
               รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม




Highest
                          Normal
 health     Good health
                          health
potential
ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง
               รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม




Highest
                          Normal
 health     Good health            Poor health
                          health
potential
ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง
               รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม




Highest
                          Normal                 Critical
 health     Good health            Poor health
                          health                 illness
potential
ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง
               รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม




Highest
                          Normal                 Critical
 health     Good health            Poor health              Death
                          health                 illness
potential
คุณลักษณะสุขภาพแบบองค์รวม
คุณลักษณะสุขภาพแบบองค์รวม
•   เน้นบุคคลเป็นหน่วยรวมที่มีการผสมผสานกลมกลืนจนสมดุล
•   เน้นสุขภาพเชิงบวก (Positive health/wellness)
•   เน้นการส่งเสริมให้เกิดกระบวนการฟื้นหายด้วยตนเอง
•   เน้นคุณค่าทางจิตวิญญาณ
•   ให้ความสําคัญกับแนวทางการดําเนินชีวิต
•   เป้าหมายของสุขภาพแบบองค์รวมคือการมีสุขภาพดีระดับสูงหรือมีสุขภาวะ (high-
    level wellness)
•   เน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันสุขภาพ และการป้องกันการเจ็บป่วย
•   เน้นความรับผิดชอบด้วยตนเองในการดูแลสุขภาพ (Self responsibility)
•   เน้นคุณค่าของความเป็นปัจเจกบุคคล การมีส่วนร่วม การมีอิสระ
สุขภาพองค์รวม VS สุขภาพแบบแยกส่วน
สุขภาพองค์รวม VS สุขภาพแบบแยกส่วน

          สุขภาพองค์รวม                          สุขภาพแบบแยกส่วน
 บุคคลแต่ละบุคคลเป็นหน่วยเดียว และเป็น ร่างกายของบุคคลเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่
หน่วยรวมที่ได้ผสมผสานองค์ประกอบทุกส่วน สามารถนํามาวิเคราะห์แยกเป็นส่วนๆ ได้
เข้าด้วยกันจนไม่สามารถแยกบุคคลออกจาก
 สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และการเชื่อม
              โยงธรรมชาติได้


 การเจ็บป่วยเป็นการเสียสมดุล ไม่กลมกลืน การเจ็บป่วยเป็นการเสื่อมหน้าที่ในแต่ละส่วน
               กับธรรมชาติ                             ของร่างกาย
สุขภาพองค์รวม VS สุขภาพแบบแยกส่วน
สุขภาพองค์รวม VS สุขภาพแบบแยกส่วน

          สุขภาพองค์รวม                            สุขภาพแบบแยกส่วน

การเสื่อมหน้าที่ของร่างกายจะเข้าใจได้ต้อง
    เข้าใจบริบททางสังคม วัฒนธรรม สิ่ง          เครื่องจักรของร่างกายสามารถเข้าใจด้วย
แวดล้อม ของแต่ละบุคคล ดังนั้นเป้าประสงค์ ความรู้ทางชีววิทยา และโมเลกุล การรักษา
   การรักษาต้องผสานร่างกาย จิตใจ จิต           สนใจความเสื่อมของหน้าที่ในร่างกายและ
            วิญญาณเข้าด้วยกัน                 ระดับกรด ด่าง ดังนั้นเป้าประสงค์การรักษา
สนใจความเป็นองค์รวมโดยมีธรรมชาติเป็น จึงแยกร่างกายออกจากจิตใจให้ความสําคัญ
ตัวจัดการ และทุกสิ่งทุกอย่างจะเคลื่อนที่ไปสู่    กับปรากฏการณ์ที่เป็นสาเหตุของโรค
                 เป้าหมาย
สุขภาพองค์รวม VS สุขภาพแบบแยกส่วน
สุขภาพองค์รวม VS สุขภาพแบบแยกส่วน

         สุขภาพองค์รวม                     สุขภาพแบบแยกส่วน



เวลาไม่มีสิ้นสุด มวลสารเป็นพลวัต ซึ่งจะถูก
 เปลี่ยนแปลงอย่างแน่นอนตลอดเวลาด้วย มวลสารจะถูกทําให้เป็นหน่วยเล็กลงตามกาล
 การเชื่อมโยง เชื่อมต่อกันและกันเพื่อแลก              เวลา
      เปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกับกาลเวลา
สรุป
สรุป
•   สุขภาพแบบองค์รวมให้ความสนใจกับกระบวนการและรูปแบบของการ
    จัดการดูแลสุขภาพมากกว่าเทคโนโลยีทางการแพทย์ การรักษาด้วยยา และการ
    ผ่าตัด โดยมีเป้าหมายเพื่อสุขภาพดีหรือสุขภาวะอันเกิดจากการผสมผสานอย่าง
    กลมกลืนจนสมดุลและเป็นหน่วยเดียวของร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ และสังคม
    อันมีจิตวิญญาณในการเชื่อมโยงผสมผสาน
สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพของคนไทย




                         สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, 2542
สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพของคนไทย
•       ดัชนีชีวัดสุขภาพทางกายในภาพรวม
    •    อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของเด็กไทย
    •    ภาวะการตายของทารก
    •    อัตราทารกแรกเกิดที่มีน้ําหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
    •    อัตรามารดาตาย

•       ดัชนีชี้วัดสุขภาพทางจิต ได้แก่ อัตราการฆ่าตัวตาย อัตราการป่วยจากภาวะแปรปรวนทางจิต
•       การเปลี่ยนแปลงทางระบาดวิทยา (Epidemiological transition)
    •    สาเหตุการตาย
    •    ปัญหาสาธารณสุข/สุขภาพบางอย่างมีแนวโน้มลดลง
    •    ปัญหาสาธารณสุข/สุขภาพบางอย่างที่มีการเปลี่ยนแปลงไม่มาก
    •    ปัญหาสาธารณสุข/สุขภาพที่มีแนวโน้มสูงขึ้น
    •    ปัญหาสาธารณสุข/สุขภาพที่เคยลดลงและกําลังจะเกิดเป็นปัญหาขึ้นอีก


                                                                          สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, 2542
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนไทย

    สภาพทางเศรษฐกิจ


                              สภาพสังคมการเมือง

สภาพทางสังคม และวัฒนธรรม                             สุขภาพ

                              นโยบายของรัฐบาล

       สิ่งแวดล้อม




Socio-economic factors     Socio-political factors
การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ
                          ด้านลบ                                                         ด้านบวก
1.การคมนาคมที่สะดวก การเคลื่อนย้ายของประชากร/แรงงานที่           1.มีการกระจายบริการสาธารณสุขมากขึ้น และประชาชน
ผิดกฎหมายทําให้เกิดการระบาดของโรคที่ยากต่อการควบคุม              สามารถเลือกใช้บริการสาธารณสุขมากขึ้น
2.สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปทําให้เชื้อและพาหะเจิญเติบ          2.มีการปรับมาตรฐานการบริการสาธารณสุข
โตดีข้ึน มีการแพร่กระจายโรคมากขึ้น                               3.มีการสร้างหลักประกันสุขภาพ
3.พฤติกรรมบริโภคเกินความจําเป็นและไม่เหมาะสมก่อให้เกิด           4.มีการคมนาคมดีขึ้น ทําให้เข้าถึงการบริการสาธารณสุขดีขึ้น
ความเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น                                          5.เกิดการขยายตัวของตลาดผลิตภัณฑ์ และบริการที่เกี่ยวเนื่อง
4.ปัญหาทางสังคม อาทิ ปัญหาครอบครัวแตกแยก แรงงานเด็ก              กับสุขภาพ
สารเสพย์ติด                                                      6.ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขได้อย่างรวดเร็วและ
5.เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ถูกทอดทิ้ง ไม่ได้รับการดูแลด้าน   ทั่วถึง
สุขภาพ
6.ชุมชนแออัดทําให้ความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายโรคมากขึ้น
7.โรคที่เกี่ยวเนื่องกับมลพิษเกิดมากขึ้น
8.เกิดภาวะเครียด หรือโรคจิต โรคประสาท
9.ความไม่เสมอภาคความไม่เป็นธรรมในการบริการสาธารณสุข
10.เจ้าหน้าที่ทํางานยากขึ้น ประชาชนต่างคนต่างอยู่
                                                                                                        กรมควบคุมโรค
กรรมพันธ์ุ                                                                    กายภาพ/ชีวภาพ
                                                                             เศรษฐกิจ/การเมือง
พฤติกรรม
                                                                              วัฒนธรรม/ศาสนา
ความเชื่อ          ปัจเจกบุคคล                    สภาพแวดล้อม
                                                                             ประชากร/การศึกษา
จิตวิญญาณ
                                                                                ความมั่นคง
 วิถีชีวิต
                                       สุขภาพ
                                                                             การสื่อสาร/คมนาคม
                                                                        เทคโนโลยี/องค์ความรู้




             ความครอบคลุม/เสมอภาค                      คุณภาพ/ประสิทธิภาพ

                                     ระบบบริการ
             ประเภท/ระดับการบริการ
                                       สุขภาพ               ผู้จัด/ผู้จ่าย



                                     พลวัต
                                                     สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, 2542
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540
•   มาตรา 52 บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานและผู้ยากไร้มีสิทธิ
    ได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ตาม
    กฎหมายบัญญัติ
•   มาตรา 82 รัฐต้องจัดส่งเสริมการสาธารณสุขให้ประชาชนที่ได้มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ
    อย่างทั่วถึง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540
•   มาตรา 53
•   มาตรา 54
•   มาตรา 55 บุคคลซื่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับสิ่งอํานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ
    และความช่วยเหลืออื่นจากรัฐทั้งนี้ตามกฎหมายบัญญัติ
•   มาตรา 57
•   มาตรา 79
•   มาตรา 80
•   มาตรา 86
คําประกาศสิทธิผู้ป่วย (1)
1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
2. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ
   เนื่องมาจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ การเมือง เพศ อายุ
   และลักษณะของความเจ็บป่วย
3. ผู้ป่วยขอรับบริการด้านสุขภาพ ทีสิทธิที่จะทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจนจากผู้
   ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถที่จะตัดสินใจให้การยินยอมหรือไม่ยินยอม
   ให้ผู้ประกอบวิชาชีพปฏิบัติต่อตน เว่้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือจําเป็น
4. ผู้ป่วยที่ิอยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบ
   วิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแล้วแต่กรณี โดยที่ไม่คํานึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอ
   ความช่วยเหลือหรือไม่
5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็นผู้ให้บริการ
   แก่ตน
คําประกาศสิทธิผู้ป่วย (2)
6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่นที่มิได้เป็นผู้ให้บริการแก่ตน
   และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการและสถานบริการได้
7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเองจากผู้ประกอบวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
   เว้นแต่จะได้รับการยินยอมจากผู้ป่วย หรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย
8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่าครบถ้วนในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็น
   ผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฎในเวช
   ระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น
10. บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปีบริ
    บูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเองได้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (1)
•   มาตรา 51 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน และผู้ยากไร้
    มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
    บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขจากรัฐซึ่งต้องเป็นไปอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
    บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตรายจากรัฐอย่างเหมาะสม โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และ
    ทันต่อเหตุการณ์
•   มาตรา 52 เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยู่รอด และได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ตาม
    ศักยภาพในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมโดยคํานึงถึงการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนเป็นสําคัญ
    เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในครอบครัว มีสิทธิได้รับการคุ้มครองจากรัฐให้ปราศจากการใช้ความรุนแรงและ
    การปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม ทั้งมีสิทธิได้รับการฟื้นฟูในกรณีมีเหตุดังกล่าว
    การแทรกแซงและจํากัดสิทธิของเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว จะกระทํามิได้เว้นแต่อาศัยอํานาจตาม
    บทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อสงวนและรักษาไว้ซึ่งสถานะของครอบครัวหรือประโยชน์สูงสุดของบุคคลนั้น
    เด็กและเยาวชนซึ่งไม่มีผู้ดูแลมีสิทธิได้รับการเลี้ยงดูและศึกษาอบรมที่เหมาะสมจากรัฐ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (2)
•   มาตรา 53 บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพมีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่ง
    อํานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
•   มาตรา 54 บุคคลซึ่งพิการและทุพพลภาพ มีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสวัสดิการและสิ่งอํานวยความ
    สะดวกอันเป็นสาธารณะ และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
    บุคคลวิกลจริตย่อมได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
•   มาตรา 55 บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอต่อการยังชีพย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะ
    สมจากรัฐ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (3)
มาตรา 80 รัฐต้องดําเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ดัง
ต่อไปนี้
1...
2.ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการเสริมสร้างสุขภาพอันจะนําไปสู่สุขภาวะอย่าง
ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
และมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้่เอกชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพ และจัดบริการ
สาธารณสุข โดยผู้มีหน้าที่ให้บริการดังกล่าว ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรมย่อม
ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
3...
4...
5...
6.ส่งเสริมและสนับสนุนความรู้รักสามัคคี การเรียนรู้ ปลูกจิตสํานึก และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ ตลอดจนค่านิยมอันดีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ยุคทองของการวางแผน
                               ยุคผันผวน                                            ยุคเปลี่ยนผ่านสู่กระบวนทัศน์ใหม่
 แผนฯ 1                       ทางการเมือง
2504-2509
             แผนฯ 2                                                                   ยึดคนเป็นศูนย์กลาง เน้นการมี
            2510-2514                                 ยุคประชาธิปไตย                  ส่วนร่วม ใช้เศรษฐกิจเป็นเครื่อง
                         แผนฯ 3
                        2515-2519                                                              มือพัฒนาคน
                                     แผนฯ 4
                                    2520-2524    แผนฯ 5
                                                                                        ยึดการปฏิบัติตามปรัชญา
 เน้นการเติบโตทาง                               2525-2529
                                                             แผนฯ 6                   เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมุ่งสู่สังคม
  เศรษฐกิจด้วยการ                                           2530-2534
                                                                         แผนฯ 7            อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
   พัฒนาโครงสร้าง
                                                                        2535-2539
       พื้นฐาน                                                                       แผนฯ 8
                                                                                    2540-2544
                            เน้นการพัฒนา                                                         แผนฯ 9
                          เศรษฐกิจควบคู่กับ                                                     2545-2549    แผนฯ 10
                            การพัฒนาทาง                                                                     2550-2554
                                สังคม

                                                   เน้นเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
                                                   มุ่งพัฒนาภูมิภาค และชนบท
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1
                    ยุคทางของการวางแผนเศรษฐกิจ (พ.ศ. 2504-2509)
                   •วางแผนจากส่วนกลางแบบ “จากบนลงล่าง” ใช้แนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
                   (Development with growth) โดยเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การคมนาคมขนส่ง
                   โทรคมนาคม เขื่อนเพื่อการชลประทานและไฟฟ้า และสาธารณูปการ -- Project oriented approach
                   •มุ่งยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชน -- รายได้
                   •ปรับปรุงการบริหารงานทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ
                    สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 1
                    •เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับภาคการเกษตร ข้าว ยางพารา ไม้สัก ดีบุก
                    •เศรษฐกิจขยายตัว 8% ต่อปี (เป้าหมาย 5%) และดําเนินโครงการเขื่อนเจ้าพระยา และก่อสร้างเชื่อ
                    ภูมิพล
                    •อัตราการเพิ่มของประชากรสูงขึ้น ประมาณ 3% ต่อปี
•2493 จัดตั้งสภาเศรษฐกิจแห่งชาติ เพื่อเสนอคําแนะนําด้านเศรษฐกิจของประเทศแก่รัฐบาล (จอมพล ป.พิบูลสงคราม)
•2502 เปลี่ยนชื่อสภาเศรษฐกิจแห่งชาติ เป็นสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติเป็นหน่วยงานถาวร มีหน้าที่จัดทําแผนพัฒนา
เศรษฐกิจแห่งชาติ หรือผังเศรษฐกิจแห่งชาติ และพิจารณาโครงการเสนอรัฐบาล
•2504 รัฐบาล จอมพลสฤษฎิ์ ธนะรัชต์ ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1 (ริเริ่มจัดทําแผนตั้งแต่ปี 2500)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2
                   ยุคทองของการพัฒนา (พ.ศ. 2510-2514)
                  •แนวคิดการวางแผนพัฒนารายสาขา (Sectoral development planning) และขยายขอบเขตแผน
                  ครอบคลุมการพัฒนารัฐวิสาหกิจและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น (อบท.)
                  •ลงทุนในโครงการพื้นฐานต่อเนื่องจากแผนฯ 1
                  •พัฒนาชนบทเพื่อเสริมสร้างความมั่งคั่ง และกระขายผลการพัฒนา (75-80% ของงบพัฒนาเป็นการ
                  ลงทุนในภูมิภาค
                  •ส่งเสริมเอกชนให้มีบทบาทร่วมในการพัฒนาประเทศ
                   สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 2
                   •ปัญหาความแตกต่างด้านรายได้ มีช่องว่างรายได้เพิ่มขึ้น
                   •เศรษฐกิจขยายตัว 7.2% ต่อปี เศรษฐกิจถดถอยหลังจากการขยายตัวมาเป็น 10 ปี
                   •ประชาชนได้รับประโยชน์จากโครงสร้างพื้่นฐานไม่เท่าเทียมกันและอยู่ในวงจํากัด
                   •การเพิ่มจํานวนของประชากรในอัตราสูงส่งผลต่อความเป็นอยู่ของประชากรโดยรวม
•ก่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน 1,700 กิโลเมตร และทางหลวงจังหวัด 2,100 กิโลเมตร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3
                   การพัฒนาสังคมควบคู่เศรษฐกิจ (พ.ศ. 2515-2519)
                  •กําเนิดของการวางแผนพัฒนาสังคมและวัตถุประสงค์ของการพัฒนาที่หลากหลาย (Growth-Social
                  fairness-Income distribution)
                  •กระจายการพัฒนาสู่ภูมิภาค เร่งรัดการพัฒนาภาคชนบท
                  •เน่้นการเพิ่มผลผลิตการเกษตร เพิ่มรายได้ประชาชนในชนบทเพื่อลดความแตกต่างของรายได้
                  •สร้างความเท่าเทียมในการใช้ประโยชน์จากบริการของรัฐ โดยเฉพาะด้านการศึกษาและสาธารณสุข
                   สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 3
                   •ปัญหาการกระจายรายได้ และความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการรัฐมีความรุนแรง
                   •เศรษฐกิจขยายตัว 6.5% ราคาน้ํามันเพิ่มขึ้น 4 เท่า (วิกฤติน้ํามันครั้งแรก) และอัตราเงินเฟ้อสูง 15.5%
                   ส่งผลให้เศรษฐกิจซึมเซาในช่วงหลังของแผนฯ 3
                   •การเมืองมีความผันผวน เปลี่ยนแปลงรัฐบาลบ่อยครั้ง เศรษฐกิจโลกตกต่ํา น้ํามันราคาแพง
                   •ราคาสินค้าเกษตรตกต่ํา
                   •การว่างงานเพิ่มขึ้น
•ก่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน 1,700 กิโลเมตร และทางหลวงจังหวัด 2,100 กิโลเมตร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4
                  การเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2520-2524)
                  •พัฒนาต่อเนื่องจากแผนฯ 3 โดยยึดถือความมั่นคงปลอดภัยของชาติเป็นพื้นฐานของการพัฒนา
                  แนวคิดการพัฒนาระหว่างสาขาร่วมกัน (Inter-sectoral planning)
                  •เร่งฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศให้มั่นคง เช่น การผลิตสินค้าเพื่อทดแทนการนําเข้า
                  ปรับปรุงนโยบายการควบคุมราคสินค้าและเร่งรัดการส่งออก
                  •เน้นเสริมสร้างสวัสดิภาพทางสังคมแก่คนในชาติมากกว่าเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็นหลัก
                  สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 4
                  •ยุคการเมืองรุนแรง พรรคคอมมิวนิสต์ขยายตัว
                  •การพัฒนาด้านประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตรต่ํา
                  •เศรษฐกิจขยายตัว 7.4% เงินเฟ้อสูงถึง 11.7% และขาดดุลทางการค้า
                  •ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม
                  •การให้บริการทางสังคมไม่เพียงพอและไม่ทั่วถึง
                  •ไทยยกระดับเป็นประเทศกําลังพัฒนาที่มีรายได้ปานกลาง จากประเทศรายได้ต่ํา
•สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมขยายตัวทําให้มีสัดส่วนมากกว่าภาคเกษตรกรรมเป็นครั้งแรกและต่อเนื่อง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5
                    การแก้ไขปัญหาและปรับสู่การพัฒนายุคใหม่ (พ.ศ. 2525-2529)
                    •วางแผนโดยยึดหลักภูมิภาคและพื้นที่ กําหนดพื้นที่เป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาความยากจน เป้าหมาย
                    เพื่อความมั่นคงและพื้นที่รองรับอุตสาหกรรม ESB
                    •เน้นการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจมากกว่าการมุ่งขยายอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
                    •พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนความสมดุล
                    •พัฒนาการแปลงแผนไปสู่ภาคปฏิบัติ
                    •เพิ่มบทบาทและระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน

                    สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 5
                    •แผนพัฒนาชนบท เพื่อแก้ไขปัญหายากจนในชนบท
                    •แผนพัฒนาเชิงรุก เช่น การพัฒนาพื้นที่ ESB การริเริ่ม กรอ.
                    •แผนพัฒนาเพื่อความมั่งคง เช่น หมู่บ้านอาสา และพัฒนาป้องกันตนเอง
                    •เศรษฐกิจขยายตัวต่ําเทียบกับช่วงแผนที่ผ่านมา คือ เพียง 5.4% ต่อปี
                    •รัฐบาลสามารถกระจายบริการสังคมได้กว้างขวางมากขึ้น เช่น โรงพยาบาลประจําอําเภอ

•สคช.กับแผนงานพัฒนาพื้นที่ ESB และพื้นที่เมืองหลัก เป็นการพัฒนาประเทศแนวใหม่ที่ยึดพื้นที่
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6
     การจัดทําแผนสู่ระดับกระทรวง (พ.ศ. 2530-2534)
     •กําหนดขอบเขตและวิธีการใช้แผนที่ชัดเจน มีทั้งระยะสั้น กลาง ยาว และแผนปฏิบัติระดับกระทรวง
     •เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาประเทศทั้งด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ
     การบริหารจัดการ
     •ปรับปรุงระบบการผลิตและการตลาด
     •ยกระดับคุณภาพปัจจยพื้นฐานเพื่อลดต้นทุน
     สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 6
     •หนี้ต่างประเทศลดลง ทุนสํารองเพิ่มขึ้น
     •เศรษฐกิจพื้นตัวและขยายตัว 10.9% ต่อปี (สูงสุดในรอบ 25 ปีที่ผ่านมา)
     •การจ้างงานภาคอุตสาหกรรม/บริการเพิ่มขึ้น
     •ปัญหาความเหลื่อมล้ํารายได้ระหว่างกลุ่มครัวเรือน และชนบทกับเมืองมากขึ้น
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7
                  การพัฒนาที่ยั่งยืน (พ.ศ. 2535-2539)
                  •เริ่มแนวคิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน”
                  •มุ่งสู่เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ รักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการพัมนาสู่ภูมิภาค
                  และชนบท และพัฒนาคุณภาพชีิวิต สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
                  •พัฒนาเศรษฐกิจสู่เศรษฐกิจด่านหน้าในภูมิภาคและยกระดับสู่ระดับนานาชาติ
                   สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 7
                   •รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น 28 เท่าจากแผนฯ 1 เป็น 77,000 บาทต่อหัวต่อปี
                   •เศรษฐกิจขยายตัวขยายตัว 8.1% ต่อปี เงินเฟ้อเฉลี่ย 4.8%
                   •ทุนสํารองสูงถึง 38,700 ล้านเหรียญสหรัฐ



•เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน
•2539 ในช่วงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่วิกฤติเศรษฐกิจ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8
                  การพัฒนาที่ยั่งยืน (พ.ศ. 2535-2539)
                  •เริ่มแนวคิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน”
                  •มุ่งสู่เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ รักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการพัมนาสู่ภูมิภาค
                  และชนบท และพัฒนาคุณภาพชีิวิต สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
                  •พัฒนาเศรษฐกิจสู่เศรษฐกิจด่านหน้าในภูมิภาคและยกระดับสู่ระดับนานาชาติ
                   สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 7
                   •รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น 28 เท่าจากแผนฯ 1 เป็น 77,000 บาทต่อหัวต่อปี
                   •เศรษฐกิจขยายตัวขยายตัว 8.1% ต่อปี เงินเฟ้อเฉลี่ย 4.8%
                   •ทุนสํารองสูงถึง 38,700 ล้านเหรียญสหรัฐ



•เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน
•2539 ในช่วงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่วิกฤติเศรษฐกิจ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9
•       วิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ
    •       มุ่งให้เกิด “การพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู่ดีมีสุขของคนไทย”
    •       มุ่งพัฒนาสู่ “สังคมที่เข้มแข็งและมีดุลยภาพ”
        •     สังคมคุณภาพ โดยยึดหลักความสมดุล ความพอดี สามารถสร้างทุกคนให้เป็นคนเก่ง คน
              ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวินัย มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ พึ่งตนเองได้
        •     สังคมแห่งภูมิปัญญา เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถคิดเป็น ทําเป็น มีเหตุผล มีความคิด
              ริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต รู้เท่าทันโลก เพื่อพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
        •     สังคมสมานฉันท์และเอื้ออาทรกันและกัน ซึ่งดํารงด้วยคุณธรรมและคุณค่าของเอกลักษณ์
              ไทยที่พึ่งพาเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี มีจารีตประเพณี มีความเอื้ออาทร รักและภูมิใจในชาติ
              และท้องถิ่น มีสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็ง ตลอดจนเครือข่ายชุมชนทั่วประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9
•   วัตถุประสงค์
    •   เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและภูมิคุ้มกัน สร้างความเข้มแข็งของภาคการเงิน
        ความมั่นคงและความเข้มแข็งของสถานะการคลัง เพิ่มสมรรถนะให้สามารถแข่งขันได้และ
        ก้าวทันเศรษฐกิจยุคใหม่
    •   เพื่อวางรากฐานการพัฒนาให้เข้มแข็ง ยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างรู้เท่าทันโลกผ่าน
        การพัฒนาคุณภาพคน การปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูประบบสุขภาพ การสร้างความ
        คุ้มครองความมั่นคงทางสังคม การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่ายชุมชน
    •   เพื่อให้เกิดการจัดการที่ดีในสังคมไทยในทุกระดับ
    •   เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพาตนเองให้
        ได้รับโอกาสในการศึกษาและบริการทางสังคมอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9
•   เป้าหมาย
    •   เป้าหมายดุลยภาพทางเศรษฐกิจ มุ่งสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจมหภาคให้เศรษฐกิจ
        โดยรวมขยายตัวอย่างมีคุณภาพและเสถียรภาพ โดยมีเป้าหมายการขยายตัวโดยเฉลี่ย
        ร้อยละ 4-5 ต่อปี อัตราเงินเฟ้อไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปี
    •   เป้าหมายการยกระดับคุณภาพชีวิต สร้างโครงสร้างประชากรที่สมดุล และขนาด
        ครอบครัวที่เหมาะสม คนไทยมีสุขภาพดี มีคุณภาพ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีคุณธรรม
        มีจิตสํานึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
    •   เป้าหมายการบริหารจัดการที่ดี มุ่งสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ มีขนาดและ
        โครงสร้างเหมาะสม มีการกระจายอํานาจ มีระบบการตรวจสอบ โปร่งใส
    •   เป้าหมายการลดความยากจน มีมาตรการทางเศรษฐกิจที่เอื้อต่อคนจน พร้อมทั้งเอื้อต่อ
        การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างศักยภาพให้คนจนเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน สามารถพึ่งพา
        ตนเองได้
ยุทธศาสตร์การพัฒนาตามแผนฯ 9
                                        ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการที่ดี



 ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะและขีด                                          ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและ
     ความสามารถในการแข่งขัน                                                      คุ้มครองทางสังคม



                                     ยุทธศาสตร์การพัฒนาความเข้มแข็งทาง
                                          วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


                                                                         ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างการพัฒนา
ยุทธศาสตร์การบริหารเศรษฐกิจส่วนรวม
                                                                                    ชนบทและเมือง


                                         ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ
                                      ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 9
                                     เร่งสร้างสุขภาพเชิงรุก
                                โดยมุ่งที่ปัจจัยหลักของการมีสุขภาพดี
                                ควบคู่กับมาตรการและกลไกการสร้าง
                                เสริมสุขภาพและการป้องกันโรคอย่าง
การพัฒนากําลังคนด้านสุขภาพ                      เป็นระบบ
                                                                       การสร้างหลักประกันและการเข้า
เพื่อรองรับการเปลีี่ยนแปลงและ
                                                                         ถึงบริการสุขภาพถ้วนหน้า
       ระบบสุขภาพใหม่




 การบริหารจัดการความรู้และ                                             ปฏิรูประบบ โครงสร้าง และกลไก
     ภูมิปัญญาสุขภาพ                                                    การบริหารจัดการระบบสุขภาพ
                                   การสร้างความเข้มแข็งของ
                                     ประชาคมเพื่อสุขภาพ
กลวิธีการพัฒนาสุขภาพ
•   เสริมสร้างศักยภาพใหม่และความเข้มแข็ง (Empowerment) ให้กับสังคมทุกระดับ
    ให้มีบทบาทในการเสริมสร้างและการดูแลสุขภาพ
•   การทํางานเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย (Network) ระหว่างชุมชน องค์กร และสถาบัน
    ต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ และธรรมาภิบาล (Good
    governance)
•   การทํางานโดยยึดหลัก Problem and Area-based approach
•   ส่งเสริมด้านนวัตกรรมด้านการเสริมสร้างสุขภาพ การพัฒนาระบบการบริการ การ
    ควบคุมป้องกันโรค และมาตรการคุ้มครองด้านสุขภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
    (Sustainable developement)
แนวคิดหลักในการพัฒนาสุขภาพ
•   แนวคิดที่ 1 สุขภาพคือสุขภาวะ
    •   สุขภาพเป็นมิติทั้งทางด้านกาย จิต สังคม และวิญญาณ ที่เชื่อมโยงกับเหตุปัจจัย
        ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และสิ่งแวดล้อม
    •   สุขภาพไม่ได้แยกจากวิถีชีวิต ดําเนินไปบนพื้นฐานของความถูกต้องพอดี
•   แนวคิดที่ 2 พัฒนาสุขภาพทั้งระบบ
    •   สุขภาพที่สมบูรณ์เกิดจากระบบสุขภาพที่สมบูรณ์
    •   สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาสุขภาพ
วิสัยทัศน์การพัฒนาสุขภาพ
คนในสังคมไทยทุกคนมีหลักประกันที่จะดํารงชีวิตอย่างมีสุขภาวะ และการเข้ถึงบริการ
ที่มีคุณภาพอย่างเสมอภาค รวมทั้งอยู่ในครอบครัว ชุมชน และสังคมที่มีศักยภาพ มี
การเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพโดยสามารถใช้ประโยชน์ ทั้งจาก
ภูมิปัญญาสากลและภูมิปัญญาไทยได้อย่างรู้เท่าทัน (Health for All) โดยระดมพลังทั้ง
สังคมเพื่อสร้างสุขภาพ (All for Health)
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
•   เพื่อสร้างระบบสุขภาพเชิงรุกที่มุ่งการสร้างเสริมสุขภาพดีและการคุ้มครองความ
    ปลอดภัยของชีวิตและสุขภาพ
•   เพื่อสร้างหลักประกันที่ช่วยคุ้มครองสุขภาพของประชาชนจากผลกระทบทาง
    เศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนา และสร้างหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพ
    ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง เสมอภาค และเป็นธรรม
•   เพื่อสร้างความเข้มแข็งของปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้มี
    ศักยภาพในการดูแลและการสร้างเสริมสุขภาพ มีการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการ
    สร้างและจัดการระบบสุขภาพ
•   เพื่อสร้างกลไกและมาตรการในการสร้าง แสวงหา และเพิ่มศักยภาพในการคัด
    กรองการใช้ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาสุขภาพ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
วิสัยทัศน์ประเทศไทย
•   มุ่งพัฒนาสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมี
    คุณธรรม นําความรอบรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข
    เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพและ
    ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยู่ภายใต้การบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล
    ดํารงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีประมหากษัตริย์เป็นประมุขและอยู่ในประชาคม
    โลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี”
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (2)
พันธกิจ (1)
•   พัฒนาคนให้มีคุณภาพ คุณธรรม นําความรอบรู้อย่างเท่าทัน มีสุขภาวะที่ดี อยู่ภายใต้ครอบครัว
    ที่อบอุ่น ชุมชนที่เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ มีความมั่นคงในการดํารงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้
    ดุลยภาพของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
•   เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม มุ่งปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของ
    ประเทศให้สามารถแข่งขันได้ มีภูมิคุ้มกันความเสี่ยงจากความผันผวนของสภาพแวดล้อมในยุค
    โลกาภิวัฒน์บนพื้นฐานการบริหารเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการออมที่พอ
    เพียง มีการปรับโครงสร้างการผลิตและบริการบนฐานความรู้และนวัตกรรม ใช้จุดแข็งของความ
    หลากหลายทางชีวภาพและความเป็นไทย ควบคู่กับการเชื่อมโยงกับต่างประเทศ และพัฒนา
    ปัจจัยสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ พลังงาน กฎ กติกา และกลไกสนับสนุนการ
    แข่งขันและกระจายประโยชน์อย่างเป็นธรรม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (3)
พันธกิจ (2)
•   ดํารงความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และ
    คุณภาพสิ่งแวดล้อม สร้างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เป็น
    ธรรมและมีการสร้างสรรค์คุณค่า สนับสนุนให้ชุมชนมีองค์ความรู้และสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อ
    คุ้มครองสิทธิ และส่งเสริมบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากร ปรับแบบแผนการ
    ผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกันสิ่งแวดล้อม ตลอดจนรักษาผลประโยชน์ของชาติจากข้อตกลง
    ตามพันธกรณีระหว่างประเทศ
•   พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศให้เกิดธรรมาภิบาลภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
    กษัตริย์ทรงเป็นประมุข มุ่งสร้างกลไกและกฎระเบียบที่เอื้อต่อการกระจายผลประโยชน์จากการ
    พัฒนาสู่ทุกภาคี ควบคู่กับการเสริมสร้างความโปร่งใส สุจริต ยุติธรรม รับผิดชอบต่อสาธารณะ
    มีการกระจายอํานาจและกระบวนการที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจสู่ความเป็นธรรม
    ทางเศรษฐกิจ สังคม และการใช้ทรัพยากร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (4)
วัตถุประสงค์ (1)
•   เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้คุณธรรม จริยธรรมอย่างต่อเนื่องที่ขับเคลื่อนด้วยการเชื่อมโยงบทบาท
    ครอบครัว สถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษา เสริมสร้างบริการสุขภาพอย่างสมดุลระหว่างการส่ง
    เสริม การป้องกัน การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ และสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
•   เพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชน เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เป็นฐานรากการพัฒนาเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต
    และอนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน นําไปสู่การพึ่งตนเองและลด
    ปัญหาความยากจนอย่างบูรณาการ
•   เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตสู่การเพิ่มคุณค่า (Value creation) ของสินค้าและบริการบนฐานความรู้
    และนวัตกรรม รวมทั้งสนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างสาขาการผลิตเพื่อทําให้มูลค่าการผลิต
    สูงขึ้น
•   เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน (Safety net) และระบบบริหารความเสี่ยงให้กับภาคการเงิน การคลัง พลังงาน
    ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดแรงงาน และการลงทุน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (5)
วัตถุประสงค์ (2)
•   เพื่อสร้างระบบการแข่งขันด้านการค้า และการลงทุนให้เป็นธรรม และคํานึงถึงผลประโยชน์ของ
    ประเทศ รวมทั้งสร้างกลไกการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาสู่ประชาชนในทุกภาคส่วนอย่าง
    เป็นธรรม
•   เพื่อเสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ
    ควบคู่กับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เป็นฐานที่มั่นคงของการพัฒนาประเทศ และการดํารงชีวิต
    ของคนไทยทั้งในรุ่นปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งสร้างกลไกการรักษาผลประโยชน์ของชาติอย่างเป็น
    ธรรมและยั่งยืน
•   เพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศสู่ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาค
    ประชาชน และขยายบทบาทขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควบคู่กับการเสริม
    กลไก และกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยให้เกิดผลในทางปฏิบัติต่อ
    การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย

Contenu connexe

Tendances

6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
06 health system governance
06 health system governance06 health system governance
06 health system governanceFreelance
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุBallista Pg
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557Kamol Khositrangsikun
 

Tendances (20)

6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
06 health system governance
06 health system governance06 health system governance
06 health system governance
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557Six building blocks   pdf 19 มิถุนายน 2557
Six building blocks pdf 19 มิถุนายน 2557
 

Similaire à 3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย

โครงงานคุณภาพชีวิต
โครงงานคุณภาพชีวิตโครงงานคุณภาพชีวิต
โครงงานคุณภาพชีวิตZoe A'Black
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานZoe A'Black
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาtassanee chaicharoen
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfรายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfFaiSurkumron1
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNan NaJa
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 

Similaire à 3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย (20)

โครงงานคุณภาพชีวิต
โครงงานคุณภาพชีวิตโครงงานคุณภาพชีวิต
โครงงานคุณภาพชีวิต
 
13 life
13 life13 life
13 life
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Sufficiency economy
Sufficiency economySufficiency economy
Sufficiency economy
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
8
88
8
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfรายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
 
Comprehen
ComprehenComprehen
Comprehen
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
nn
nnnn
nn
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 

Plus de Watcharin Chongkonsatit

บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyบทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyWatcharin Chongkonsatit
 
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนรูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนWatcharin Chongkonsatit
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 

Plus de Watcharin Chongkonsatit (12)

2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Introduction dgd641
Introduction dgd641Introduction dgd641
Introduction dgd641
 
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyบทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
 
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนรูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
บทที่ 4 staffing; hrm
บทที่ 4 staffing; hrmบทที่ 4 staffing; hrm
บทที่ 4 staffing; hrm
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 3 organizing
บทที่ 3 organizingบทที่ 3 organizing
บทที่ 3 organizing
 

3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย

  • 1. การจัดการสาธารณสุขใน ประเทศไทย Watcharin Chongkonsatit M.B.A., M.Ed. Ph.D. Candidate
  • 2. สังคมไทยที่พึงประสงค์ เป็นสังคมที่คนดําเนินชีวิตบนพื้นฐานของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาอย่างมี ความสมดุล มีความมั่นคง ครอบครัวมีความ อบอุ่น มีการวางแผนพัฒนาสอดคล้องกับ สังคมอย่างพอเพียง ความต้องการของท้องถิ่น เป็นสังคมที่คนในชาติอยู่ร่วม ทุกคนในสังคมได้รับความเป็น กันอย่างสงบสุข รู้คุณค่าและ ธรรมทั้งทางกฎหมายและความ คงความเป็นไทย จารีต ยุติธรรม มีความปลอดภัยใน ประเพณีที่ต้องดํารงรักษาและ สังคมเป็นธรรม สังคมเป็นไทย ชีวิตและทรัพย์สิน ได้รับบริการ สืบทอดให้คงอยู่ การดูแล สังคมทางการศึกษา สุขภาพ ช่วยเหลือ เอื้ออาทร และมี และสวัสดิการอย่างเป็นธรรม น้ําใจ ตลอดจนการดําเนินชีวิต รวมทั้งเป็นเจ้าของและร่วมใช้ ตามแบบวิถีไทย อันมีชาติ ประโยชน์จากทรัพยากรใน ศาสนา พระมหากษัตริย์เป็น ธรรมชาติอย่างคุ้มค่า ศูนย์กลาง ดัดแปลงจาก สันติ
  • 3. องค์ประกอบของการอยู่ดีมีสุข •มีการดูแลคนในสังคมให้ ช่วยเสริมสร้างศักยภาพของคนไทยให้มีทักษะ มีสิทธิเสรีภาพในการดํารง ความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทัน ชีวิต ความรู้ •ประชาชนมีส่วนร่วมใน •เป็นที่มาของรายได้และ การพัฒนาและตรวจสอบ อํานาจซื้อ การบริหาร รัฐ ชีวิตการทํางาน •นําไปสู่ความสําเร็จและ จัดการที่ดี •รัฐกับประชาชนมี คุณภาพชีวิตที่ดี สัมพันธภาพที่ดีต่อกัน •ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ สุขภาพอนามัย เศรษฐกิจภาพรวม •มีที่อยู่อาศัยมั่นคง ได้รับ สาธารณูปโภคพอเพียง รายได้และ •มีความปลอดภัยในชีวิต •ความเท่าเทียมกันของ สภาพแวดล้อม การกระจายราย รายได้ และทรัพย์สิน อนามัยสิ่ง ได้ แวดล้อม •ปัญหาความยากจน ชีวิตครอบครัว •สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติ •ครอบครัวที่มีความรัก ความอบอุ่น รู้บทบาทหน้าที่ ปัญญา •มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ลดปัจจัยเสี่ยงของครอบครัว •มีภาวะโภชนาการที่ดี •สามารถพึ่งพาตนเองได้และเกื้อกูลสังคม
  • 4. สุขภาพ สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ สุขภาวะ ทาง วิญญาณ สุขภาวะทางสังคม สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางกาย ประเวศ วะสี
  • 5. สุขภาพ 4 มิติ ลําดับที่ สุขภาวะ ความหมาย มีปัจจัย 4 เพียงพอ ร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยโดยไม่จําเป็น ไม่พิการ ไม่ตายก่อนวัยอันควร 1 ทางกาย (Physical) เมื่อป่วยได้รับการดูแลที่ดี หายดี หายเร็ว มีคุณภาพชีวิตที่ดี จิตใจมีความสุข ไม่เครียด ไม่บีบคั้น ไม่เจ็บป่วยทางจิต หรือเมื่อมี 2 ทางใจ (Mental) ความเครียดสามารถคลายเครียดได้ สังคมพึ่งพาช่วยเหลือเกื้อกูล สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมดี มีคุณค่า มีศักดิ์ศรี อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 3 ทางสังคม (Social) ครอบครัวอบอุ่น สังคมดี มีอาชญากรรม และความรุนแรงน้อย มีนโยบายสาธารณะ (Public policy) ดี เข้าใจสรรพสิ่งอย่างเป็นจริง จิตใจเปี่ยมสุข 4 ทางปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual) เข้าใจสิ่งดีงามถูกต้องสูงสุด จิตใจมีเมตตา กรุณา มีจิตใจสะอาด สง่า สงบ อําพล จินดา
  • 6. นิยามสุขภาพ • พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2539 “ภาวะที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ การสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ” • Ottawa charter for health promotion, WHO (1986) “สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สังคมและจิตใจ ประกอบกัน ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคภัย ไข้เจ็บหรือความพิการเท่านั้น” • วรรณา คุณาอภิสิทธิ, 2547 ์ “ความเป็นดีอยู่ดี หรือภาวะที่เป็นสุขในลักษณะองค์รวมของสุขภาพด้านต่างๆ คือสุขภาวะทาง กาย สุขภาวะทางปัญญา สุขภาวะทางอารมณ์ สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะทางจิตวิญญาณ” • WHO, 1998 “สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ (Spiritual well-being) ประกอบกัน ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บหรือความพิการเท่านั้น”
  • 7. นิยามสุขภาพ Medical model Sociological model • โรคคือกลไกของร่างกายที่ผิดปกติ • ความเจ็บป่วยมีหลายสาเหตุ ไม่เพียงสาเหตุ • ความผิดปกติของมนุษย์เกิดจากสาเหตุที่ ใดสาเหตุหนึ่ง และการรักษาที่ดีที่สุดอย่าง จําเพาะ เดียวไม่มี • การรักษาทางการแพทย์เป็นการรักษาสาย • โรคคือการตีความหมายทางการแพทย์เกี่ยว หลัก ไม่จําเป็นต้องมีการรักษาทางเลือก กับความจริง • สันนิษฐานว่าร่างกายและจิตใจแยกจากกัน • ความไม่สบายของมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของ อย่างชัดเจน สังคม ความเป็นมาในอดีต และบริบททาง • สิ่งที่ทําให้เจ็บป่วยอยู่ร่างกายของคนหรือสิ่ง วัฒนธรรม แวดล้อม • ความเจ็บป่วยเป็นตัวแปรกลางที่มีผลกระทบ ต่อความสัมพันธ์ทางสังคม Tuner, 1987
  • 8. นิยามสุขภาพ (3) แนวคิดด้านจิตวิทยา (Psychological แนวคิดด้านสังคมวิทยา แนวคิดด้านชีวเวชศาสตร์ approach) (Sociological approach) (Biomedical approach) “การสะท้อนความรู้สึกทั้งมวลของ “ความสามารถของบุคคลในการ “การปราศจากโรคหรือการทํา บุคคลต่อสุขภาพของตนเอง ความ ปฏิบัติหน้าที่และกิจการในชีวิต หน้าที่ผิดปกติของร่างกาย- ถ้า รู้สึกที่ดีในการดํารงชีวิตประจําวัน ประจําวันตามที่สังคมคาดหวัง เป้ ท่านไม่ป่วยท่านก็จะมีสุขภาพดี” การประสบความสําเร็จการทํางาน นความรู้สึกบวกที่ประกอบด้วยมิติ ความรู้สึกเปล่าเปลี่ยว และการ ทุกด้านของบุคคล” วิพากษ์จากบุคคลอื่น” Heiss and
  • 10. นิยามสุขภาพ (4) Eudemonistic perspective เป็นการตระหนักในศักยภาพของคนในการพัฒนาตนเอง เป็นภาวะที่บรรลุซึ่งความสําเร็จสูงสุดในชีวิต Adaptive model เป็นความสามารถที่จะมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพระหว่างร่างกายและสังคมสิ่งแวดล้อม เชื่อว่ามนุษย์มีการ ปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมอย่างตลอดเวลาเพื่อรักษาสมดุล การมีโรคจึงเป็นความล้มเหลวในการปรับตัว Role performance model เป็นความสามารถที่จะปฏิบัติหน้าที่ทางสังคม เช่น ความสามารถในการทํางาน การเจ็บป่วยจึงถูกกําหนด ด้วยความสามารถที่จะทําหน้าที่หรือกิจวัตรประจําวัน Clinical model สุขภาพเป็นการปราศจากโรคหรือการขาดสมดุล คนที่มีโรคคือคนที่มีสุขภาพไม่ดี Smith, 1981
  • 12. ความหมายของสุขภาพ • สุขภาพเป็นวิถีชีวิต เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หรือเป็นพลวัต สุขภาพเป็นความสามารถของสิ่งมีชีวิตในการทํา หน้าที่อย่างเข้มแข็ง กระฉับกระเฉงจนบรรลุสุขภาพดีหรือสุข ภาวะ
  • 13. ความหมายของสุขภาพ • สุขภาพเป็นวิถีชีวิต เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หรือเป็นพลวัต สุขภาพเป็นความสามารถของสิ่งมีชีวิตในการทํา หน้าที่อย่างเข้มแข็ง กระฉับกระเฉงจนบรรลุสุขภาพดีหรือสุข ภาวะ • สุขภาพ (Health) แปลว่า หน่วยรวม (wholeness) ดังนั้นสุขภาพ จึงเป็นกระบวนการซึ่งทุกๆ ส่วนในชีวิตของบุคคลทํางานไปด้วย กันในลักษณะผสมผสานโดยเน้นที่ความเป็นหน่วยรวมของคน
  • 17. ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม Highest health Good health potential
  • 18. ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม Highest Normal health Good health health potential
  • 19. ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม Highest Normal health Good health Poor health health potential
  • 20. ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม Highest Normal Critical health Good health Poor health health illness potential
  • 21. ความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพกับความเจ็บป่วยที่แสดงถึง รูปแบบสุขภาพแบบองค์รวม Highest Normal Critical health Good health Poor health Death health illness potential
  • 23. คุณลักษณะสุขภาพแบบองค์รวม • เน้นบุคคลเป็นหน่วยรวมที่มีการผสมผสานกลมกลืนจนสมดุล • เน้นสุขภาพเชิงบวก (Positive health/wellness) • เน้นการส่งเสริมให้เกิดกระบวนการฟื้นหายด้วยตนเอง • เน้นคุณค่าทางจิตวิญญาณ • ให้ความสําคัญกับแนวทางการดําเนินชีวิต • เป้าหมายของสุขภาพแบบองค์รวมคือการมีสุขภาพดีระดับสูงหรือมีสุขภาวะ (high- level wellness) • เน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันสุขภาพ และการป้องกันการเจ็บป่วย • เน้นความรับผิดชอบด้วยตนเองในการดูแลสุขภาพ (Self responsibility) • เน้นคุณค่าของความเป็นปัจเจกบุคคล การมีส่วนร่วม การมีอิสระ
  • 25. สุขภาพองค์รวม VS สุขภาพแบบแยกส่วน สุขภาพองค์รวม สุขภาพแบบแยกส่วน บุคคลแต่ละบุคคลเป็นหน่วยเดียว และเป็น ร่างกายของบุคคลเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่ หน่วยรวมที่ได้ผสมผสานองค์ประกอบทุกส่วน สามารถนํามาวิเคราะห์แยกเป็นส่วนๆ ได้ เข้าด้วยกันจนไม่สามารถแยกบุคคลออกจาก สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และการเชื่อม โยงธรรมชาติได้ การเจ็บป่วยเป็นการเสียสมดุล ไม่กลมกลืน การเจ็บป่วยเป็นการเสื่อมหน้าที่ในแต่ละส่วน กับธรรมชาติ ของร่างกาย
  • 27. สุขภาพองค์รวม VS สุขภาพแบบแยกส่วน สุขภาพองค์รวม สุขภาพแบบแยกส่วน การเสื่อมหน้าที่ของร่างกายจะเข้าใจได้ต้อง เข้าใจบริบททางสังคม วัฒนธรรม สิ่ง เครื่องจักรของร่างกายสามารถเข้าใจด้วย แวดล้อม ของแต่ละบุคคล ดังนั้นเป้าประสงค์ ความรู้ทางชีววิทยา และโมเลกุล การรักษา การรักษาต้องผสานร่างกาย จิตใจ จิต สนใจความเสื่อมของหน้าที่ในร่างกายและ วิญญาณเข้าด้วยกัน ระดับกรด ด่าง ดังนั้นเป้าประสงค์การรักษา สนใจความเป็นองค์รวมโดยมีธรรมชาติเป็น จึงแยกร่างกายออกจากจิตใจให้ความสําคัญ ตัวจัดการ และทุกสิ่งทุกอย่างจะเคลื่อนที่ไปสู่ กับปรากฏการณ์ที่เป็นสาเหตุของโรค เป้าหมาย
  • 29. สุขภาพองค์รวม VS สุขภาพแบบแยกส่วน สุขภาพองค์รวม สุขภาพแบบแยกส่วน เวลาไม่มีสิ้นสุด มวลสารเป็นพลวัต ซึ่งจะถูก เปลี่ยนแปลงอย่างแน่นอนตลอดเวลาด้วย มวลสารจะถูกทําให้เป็นหน่วยเล็กลงตามกาล การเชื่อมโยง เชื่อมต่อกันและกันเพื่อแลก เวลา เปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกับกาลเวลา
  • 31. สรุป • สุขภาพแบบองค์รวมให้ความสนใจกับกระบวนการและรูปแบบของการ จัดการดูแลสุขภาพมากกว่าเทคโนโลยีทางการแพทย์ การรักษาด้วยยา และการ ผ่าตัด โดยมีเป้าหมายเพื่อสุขภาพดีหรือสุขภาวะอันเกิดจากการผสมผสานอย่าง กลมกลืนจนสมดุลและเป็นหน่วยเดียวของร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ และสังคม อันมีจิตวิญญาณในการเชื่อมโยงผสมผสาน
  • 32. สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพของคนไทย สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, 2542
  • 33. สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพของคนไทย • ดัชนีชีวัดสุขภาพทางกายในภาพรวม • อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของเด็กไทย • ภาวะการตายของทารก • อัตราทารกแรกเกิดที่มีน้ําหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม • อัตรามารดาตาย • ดัชนีชี้วัดสุขภาพทางจิต ได้แก่ อัตราการฆ่าตัวตาย อัตราการป่วยจากภาวะแปรปรวนทางจิต • การเปลี่ยนแปลงทางระบาดวิทยา (Epidemiological transition) • สาเหตุการตาย • ปัญหาสาธารณสุข/สุขภาพบางอย่างมีแนวโน้มลดลง • ปัญหาสาธารณสุข/สุขภาพบางอย่างที่มีการเปลี่ยนแปลงไม่มาก • ปัญหาสาธารณสุข/สุขภาพที่มีแนวโน้มสูงขึ้น • ปัญหาสาธารณสุข/สุขภาพที่เคยลดลงและกําลังจะเกิดเป็นปัญหาขึ้นอีก สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, 2542
  • 34. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนไทย สภาพทางเศรษฐกิจ สภาพสังคมการเมือง สภาพทางสังคม และวัฒนธรรม สุขภาพ นโยบายของรัฐบาล สิ่งแวดล้อม Socio-economic factors Socio-political factors
  • 35. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ ด้านลบ ด้านบวก 1.การคมนาคมที่สะดวก การเคลื่อนย้ายของประชากร/แรงงานที่ 1.มีการกระจายบริการสาธารณสุขมากขึ้น และประชาชน ผิดกฎหมายทําให้เกิดการระบาดของโรคที่ยากต่อการควบคุม สามารถเลือกใช้บริการสาธารณสุขมากขึ้น 2.สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปทําให้เชื้อและพาหะเจิญเติบ 2.มีการปรับมาตรฐานการบริการสาธารณสุข โตดีข้ึน มีการแพร่กระจายโรคมากขึ้น 3.มีการสร้างหลักประกันสุขภาพ 3.พฤติกรรมบริโภคเกินความจําเป็นและไม่เหมาะสมก่อให้เกิด 4.มีการคมนาคมดีขึ้น ทําให้เข้าถึงการบริการสาธารณสุขดีขึ้น ความเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น 5.เกิดการขยายตัวของตลาดผลิตภัณฑ์ และบริการที่เกี่ยวเนื่อง 4.ปัญหาทางสังคม อาทิ ปัญหาครอบครัวแตกแยก แรงงานเด็ก กับสุขภาพ สารเสพย์ติด 6.ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขได้อย่างรวดเร็วและ 5.เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ถูกทอดทิ้ง ไม่ได้รับการดูแลด้าน ทั่วถึง สุขภาพ 6.ชุมชนแออัดทําให้ความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายโรคมากขึ้น 7.โรคที่เกี่ยวเนื่องกับมลพิษเกิดมากขึ้น 8.เกิดภาวะเครียด หรือโรคจิต โรคประสาท 9.ความไม่เสมอภาคความไม่เป็นธรรมในการบริการสาธารณสุข 10.เจ้าหน้าที่ทํางานยากขึ้น ประชาชนต่างคนต่างอยู่ กรมควบคุมโรค
  • 36. กรรมพันธ์ุ กายภาพ/ชีวภาพ เศรษฐกิจ/การเมือง พฤติกรรม วัฒนธรรม/ศาสนา ความเชื่อ ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ประชากร/การศึกษา จิตวิญญาณ ความมั่นคง วิถีชีวิต สุขภาพ การสื่อสาร/คมนาคม เทคโนโลยี/องค์ความรู้ ความครอบคลุม/เสมอภาค คุณภาพ/ประสิทธิภาพ ระบบบริการ ประเภท/ระดับการบริการ สุขภาพ ผู้จัด/ผู้จ่าย พลวัต สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, 2542
  • 37. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 • มาตรา 52 บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานและผู้ยากไร้มีสิทธิ ได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ตาม กฎหมายบัญญัติ • มาตรา 82 รัฐต้องจัดส่งเสริมการสาธารณสุขให้ประชาชนที่ได้มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ อย่างทั่วถึง
  • 38. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 • มาตรา 53 • มาตรา 54 • มาตรา 55 บุคคลซื่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับสิ่งอํานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ และความช่วยเหลืออื่นจากรัฐทั้งนี้ตามกฎหมายบัญญัติ • มาตรา 57 • มาตรา 79 • มาตรา 80 • มาตรา 86
  • 39. คําประกาศสิทธิผู้ป่วย (1) 1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ เนื่องมาจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ การเมือง เพศ อายุ และลักษณะของความเจ็บป่วย 3. ผู้ป่วยขอรับบริการด้านสุขภาพ ทีสิทธิที่จะทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจนจากผู้ ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถที่จะตัดสินใจให้การยินยอมหรือไม่ยินยอม ให้ผู้ประกอบวิชาชีพปฏิบัติต่อตน เว่้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือจําเป็น 4. ผู้ป่วยที่ิอยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบ วิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแล้วแต่กรณี โดยที่ไม่คํานึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอ ความช่วยเหลือหรือไม่ 5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็นผู้ให้บริการ แก่ตน
  • 40. คําประกาศสิทธิผู้ป่วย (2) 6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่นที่มิได้เป็นผู้ให้บริการแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการและสถานบริการได้ 7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเองจากผู้ประกอบวิชาชีพอย่างเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับการยินยอมจากผู้ป่วย หรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย 8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่าครบถ้วนในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็น ผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ 9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฎในเวช ระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น 10. บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปีบริ บูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเองได้
  • 41. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (1) • มาตรา 51 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน และผู้ยากไร้ มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขจากรัฐซึ่งต้องเป็นไปอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตรายจากรัฐอย่างเหมาะสม โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และ ทันต่อเหตุการณ์ • มาตรา 52 เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยู่รอด และได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ตาม ศักยภาพในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมโดยคํานึงถึงการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนเป็นสําคัญ เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในครอบครัว มีสิทธิได้รับการคุ้มครองจากรัฐให้ปราศจากการใช้ความรุนแรงและ การปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม ทั้งมีสิทธิได้รับการฟื้นฟูในกรณีมีเหตุดังกล่าว การแทรกแซงและจํากัดสิทธิของเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว จะกระทํามิได้เว้นแต่อาศัยอํานาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อสงวนและรักษาไว้ซึ่งสถานะของครอบครัวหรือประโยชน์สูงสุดของบุคคลนั้น เด็กและเยาวชนซึ่งไม่มีผู้ดูแลมีสิทธิได้รับการเลี้ยงดูและศึกษาอบรมที่เหมาะสมจากรัฐ
  • 42. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (2) • มาตรา 53 บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพมีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่ง อํานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ • มาตรา 54 บุคคลซึ่งพิการและทุพพลภาพ มีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสวัสดิการและสิ่งอํานวยความ สะดวกอันเป็นสาธารณะ และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ บุคคลวิกลจริตย่อมได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ • มาตรา 55 บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอต่อการยังชีพย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะ สมจากรัฐ
  • 43. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 (3) มาตรา 80 รัฐต้องดําเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ดัง ต่อไปนี้ 1... 2.ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการเสริมสร้างสุขภาพอันจะนําไปสู่สุขภาวะอย่าง ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้่เอกชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพ และจัดบริการ สาธารณสุข โดยผู้มีหน้าที่ให้บริการดังกล่าว ซึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรมย่อม ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย 3... 4... 5... 6.ส่งเสริมและสนับสนุนความรู้รักสามัคคี การเรียนรู้ ปลูกจิตสํานึก และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ ตลอดจนค่านิยมอันดีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 44. ยุคทองของการวางแผน ยุคผันผวน ยุคเปลี่ยนผ่านสู่กระบวนทัศน์ใหม่ แผนฯ 1 ทางการเมือง 2504-2509 แผนฯ 2 ยึดคนเป็นศูนย์กลาง เน้นการมี 2510-2514 ยุคประชาธิปไตย ส่วนร่วม ใช้เศรษฐกิจเป็นเครื่อง แผนฯ 3 2515-2519 มือพัฒนาคน แผนฯ 4 2520-2524 แผนฯ 5 ยึดการปฏิบัติตามปรัชญา เน้นการเติบโตทาง 2525-2529 แผนฯ 6 เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมุ่งสู่สังคม เศรษฐกิจด้วยการ 2530-2534 แผนฯ 7 อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน พัฒนาโครงสร้าง 2535-2539 พื้นฐาน แผนฯ 8 2540-2544 เน้นการพัฒนา แผนฯ 9 เศรษฐกิจควบคู่กับ 2545-2549 แผนฯ 10 การพัฒนาทาง 2550-2554 สังคม เน้นเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ มุ่งพัฒนาภูมิภาค และชนบท
  • 45. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 ยุคทางของการวางแผนเศรษฐกิจ (พ.ศ. 2504-2509) •วางแผนจากส่วนกลางแบบ “จากบนลงล่าง” ใช้แนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Development with growth) โดยเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การคมนาคมขนส่ง โทรคมนาคม เขื่อนเพื่อการชลประทานและไฟฟ้า และสาธารณูปการ -- Project oriented approach •มุ่งยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชน -- รายได้ •ปรับปรุงการบริหารงานทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 1 •เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับภาคการเกษตร ข้าว ยางพารา ไม้สัก ดีบุก •เศรษฐกิจขยายตัว 8% ต่อปี (เป้าหมาย 5%) และดําเนินโครงการเขื่อนเจ้าพระยา และก่อสร้างเชื่อ ภูมิพล •อัตราการเพิ่มของประชากรสูงขึ้น ประมาณ 3% ต่อปี •2493 จัดตั้งสภาเศรษฐกิจแห่งชาติ เพื่อเสนอคําแนะนําด้านเศรษฐกิจของประเทศแก่รัฐบาล (จอมพล ป.พิบูลสงคราม) •2502 เปลี่ยนชื่อสภาเศรษฐกิจแห่งชาติ เป็นสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติเป็นหน่วยงานถาวร มีหน้าที่จัดทําแผนพัฒนา เศรษฐกิจแห่งชาติ หรือผังเศรษฐกิจแห่งชาติ และพิจารณาโครงการเสนอรัฐบาล •2504 รัฐบาล จอมพลสฤษฎิ์ ธนะรัชต์ ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1 (ริเริ่มจัดทําแผนตั้งแต่ปี 2500)
  • 46. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 ยุคทองของการพัฒนา (พ.ศ. 2510-2514) •แนวคิดการวางแผนพัฒนารายสาขา (Sectoral development planning) และขยายขอบเขตแผน ครอบคลุมการพัฒนารัฐวิสาหกิจและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น (อบท.) •ลงทุนในโครงการพื้นฐานต่อเนื่องจากแผนฯ 1 •พัฒนาชนบทเพื่อเสริมสร้างความมั่งคั่ง และกระขายผลการพัฒนา (75-80% ของงบพัฒนาเป็นการ ลงทุนในภูมิภาค •ส่งเสริมเอกชนให้มีบทบาทร่วมในการพัฒนาประเทศ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 2 •ปัญหาความแตกต่างด้านรายได้ มีช่องว่างรายได้เพิ่มขึ้น •เศรษฐกิจขยายตัว 7.2% ต่อปี เศรษฐกิจถดถอยหลังจากการขยายตัวมาเป็น 10 ปี •ประชาชนได้รับประโยชน์จากโครงสร้างพื้่นฐานไม่เท่าเทียมกันและอยู่ในวงจํากัด •การเพิ่มจํานวนของประชากรในอัตราสูงส่งผลต่อความเป็นอยู่ของประชากรโดยรวม •ก่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน 1,700 กิโลเมตร และทางหลวงจังหวัด 2,100 กิโลเมตร
  • 47. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3 การพัฒนาสังคมควบคู่เศรษฐกิจ (พ.ศ. 2515-2519) •กําเนิดของการวางแผนพัฒนาสังคมและวัตถุประสงค์ของการพัฒนาที่หลากหลาย (Growth-Social fairness-Income distribution) •กระจายการพัฒนาสู่ภูมิภาค เร่งรัดการพัฒนาภาคชนบท •เน่้นการเพิ่มผลผลิตการเกษตร เพิ่มรายได้ประชาชนในชนบทเพื่อลดความแตกต่างของรายได้ •สร้างความเท่าเทียมในการใช้ประโยชน์จากบริการของรัฐ โดยเฉพาะด้านการศึกษาและสาธารณสุข สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 3 •ปัญหาการกระจายรายได้ และความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการรัฐมีความรุนแรง •เศรษฐกิจขยายตัว 6.5% ราคาน้ํามันเพิ่มขึ้น 4 เท่า (วิกฤติน้ํามันครั้งแรก) และอัตราเงินเฟ้อสูง 15.5% ส่งผลให้เศรษฐกิจซึมเซาในช่วงหลังของแผนฯ 3 •การเมืองมีความผันผวน เปลี่ยนแปลงรัฐบาลบ่อยครั้ง เศรษฐกิจโลกตกต่ํา น้ํามันราคาแพง •ราคาสินค้าเกษตรตกต่ํา •การว่างงานเพิ่มขึ้น •ก่อสร้างทางหลวงแผ่นดิน 1,700 กิโลเมตร และทางหลวงจังหวัด 2,100 กิโลเมตร
  • 48. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 การเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2520-2524) •พัฒนาต่อเนื่องจากแผนฯ 3 โดยยึดถือความมั่นคงปลอดภัยของชาติเป็นพื้นฐานของการพัฒนา แนวคิดการพัฒนาระหว่างสาขาร่วมกัน (Inter-sectoral planning) •เร่งฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศให้มั่นคง เช่น การผลิตสินค้าเพื่อทดแทนการนําเข้า ปรับปรุงนโยบายการควบคุมราคสินค้าและเร่งรัดการส่งออก •เน้นเสริมสร้างสวัสดิภาพทางสังคมแก่คนในชาติมากกว่าเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็นหลัก สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 4 •ยุคการเมืองรุนแรง พรรคคอมมิวนิสต์ขยายตัว •การพัฒนาด้านประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตรต่ํา •เศรษฐกิจขยายตัว 7.4% เงินเฟ้อสูงถึง 11.7% และขาดดุลทางการค้า •ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม •การให้บริการทางสังคมไม่เพียงพอและไม่ทั่วถึง •ไทยยกระดับเป็นประเทศกําลังพัฒนาที่มีรายได้ปานกลาง จากประเทศรายได้ต่ํา •สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมขยายตัวทําให้มีสัดส่วนมากกว่าภาคเกษตรกรรมเป็นครั้งแรกและต่อเนื่อง
  • 49. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 การแก้ไขปัญหาและปรับสู่การพัฒนายุคใหม่ (พ.ศ. 2525-2529) •วางแผนโดยยึดหลักภูมิภาคและพื้นที่ กําหนดพื้นที่เป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาความยากจน เป้าหมาย เพื่อความมั่นคงและพื้นที่รองรับอุตสาหกรรม ESB •เน้นการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจมากกว่าการมุ่งขยายอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ •พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนความสมดุล •พัฒนาการแปลงแผนไปสู่ภาคปฏิบัติ •เพิ่มบทบาทและระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 5 •แผนพัฒนาชนบท เพื่อแก้ไขปัญหายากจนในชนบท •แผนพัฒนาเชิงรุก เช่น การพัฒนาพื้นที่ ESB การริเริ่ม กรอ. •แผนพัฒนาเพื่อความมั่งคง เช่น หมู่บ้านอาสา และพัฒนาป้องกันตนเอง •เศรษฐกิจขยายตัวต่ําเทียบกับช่วงแผนที่ผ่านมา คือ เพียง 5.4% ต่อปี •รัฐบาลสามารถกระจายบริการสังคมได้กว้างขวางมากขึ้น เช่น โรงพยาบาลประจําอําเภอ •สคช.กับแผนงานพัฒนาพื้นที่ ESB และพื้นที่เมืองหลัก เป็นการพัฒนาประเทศแนวใหม่ที่ยึดพื้นที่
  • 50. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 การจัดทําแผนสู่ระดับกระทรวง (พ.ศ. 2530-2534) •กําหนดขอบเขตและวิธีการใช้แผนที่ชัดเจน มีทั้งระยะสั้น กลาง ยาว และแผนปฏิบัติระดับกระทรวง •เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาประเทศทั้งด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ การบริหารจัดการ •ปรับปรุงระบบการผลิตและการตลาด •ยกระดับคุณภาพปัจจยพื้นฐานเพื่อลดต้นทุน สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 6 •หนี้ต่างประเทศลดลง ทุนสํารองเพิ่มขึ้น •เศรษฐกิจพื้นตัวและขยายตัว 10.9% ต่อปี (สูงสุดในรอบ 25 ปีที่ผ่านมา) •การจ้างงานภาคอุตสาหกรรม/บริการเพิ่มขึ้น •ปัญหาความเหลื่อมล้ํารายได้ระหว่างกลุ่มครัวเรือน และชนบทกับเมืองมากขึ้น
  • 51. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 การพัฒนาที่ยั่งยืน (พ.ศ. 2535-2539) •เริ่มแนวคิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน” •มุ่งสู่เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ รักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการพัมนาสู่ภูมิภาค และชนบท และพัฒนาคุณภาพชีิวิต สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ •พัฒนาเศรษฐกิจสู่เศรษฐกิจด่านหน้าในภูมิภาคและยกระดับสู่ระดับนานาชาติ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 7 •รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น 28 เท่าจากแผนฯ 1 เป็น 77,000 บาทต่อหัวต่อปี •เศรษฐกิจขยายตัวขยายตัว 8.1% ต่อปี เงินเฟ้อเฉลี่ย 4.8% •ทุนสํารองสูงถึง 38,700 ล้านเหรียญสหรัฐ •เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน •2539 ในช่วงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่วิกฤติเศรษฐกิจ
  • 52. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 การพัฒนาที่ยั่งยืน (พ.ศ. 2535-2539) •เริ่มแนวคิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน” •มุ่งสู่เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ รักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการพัมนาสู่ภูมิภาค และชนบท และพัฒนาคุณภาพชีิวิต สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ •พัฒนาเศรษฐกิจสู่เศรษฐกิจด่านหน้าในภูมิภาคและยกระดับสู่ระดับนานาชาติ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 7 •รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น 28 เท่าจากแผนฯ 1 เป็น 77,000 บาทต่อหัวต่อปี •เศรษฐกิจขยายตัวขยายตัว 8.1% ต่อปี เงินเฟ้อเฉลี่ย 4.8% •ทุนสํารองสูงถึง 38,700 ล้านเหรียญสหรัฐ •เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน •2539 ในช่วงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่วิกฤติเศรษฐกิจ
  • 53. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 • วิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ • มุ่งให้เกิด “การพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู่ดีมีสุขของคนไทย” • มุ่งพัฒนาสู่ “สังคมที่เข้มแข็งและมีดุลยภาพ” • สังคมคุณภาพ โดยยึดหลักความสมดุล ความพอดี สามารถสร้างทุกคนให้เป็นคนเก่ง คน ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวินัย มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ พึ่งตนเองได้ • สังคมแห่งภูมิปัญญา เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถคิดเป็น ทําเป็น มีเหตุผล มีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต รู้เท่าทันโลก เพื่อพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง • สังคมสมานฉันท์และเอื้ออาทรกันและกัน ซึ่งดํารงด้วยคุณธรรมและคุณค่าของเอกลักษณ์ ไทยที่พึ่งพาเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี มีจารีตประเพณี มีความเอื้ออาทร รักและภูมิใจในชาติ และท้องถิ่น มีสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็ง ตลอดจนเครือข่ายชุมชนทั่วประเทศ
  • 54. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 • วัตถุประสงค์ • เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและภูมิคุ้มกัน สร้างความเข้มแข็งของภาคการเงิน ความมั่นคงและความเข้มแข็งของสถานะการคลัง เพิ่มสมรรถนะให้สามารถแข่งขันได้และ ก้าวทันเศรษฐกิจยุคใหม่ • เพื่อวางรากฐานการพัฒนาให้เข้มแข็ง ยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างรู้เท่าทันโลกผ่าน การพัฒนาคุณภาพคน การปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูประบบสุขภาพ การสร้างความ คุ้มครองความมั่นคงทางสังคม การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่ายชุมชน • เพื่อให้เกิดการจัดการที่ดีในสังคมไทยในทุกระดับ • เพื่อแก้ปัญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพาตนเองให้ ได้รับโอกาสในการศึกษาและบริการทางสังคมอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง
  • 55. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 • เป้าหมาย • เป้าหมายดุลยภาพทางเศรษฐกิจ มุ่งสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจมหภาคให้เศรษฐกิจ โดยรวมขยายตัวอย่างมีคุณภาพและเสถียรภาพ โดยมีเป้าหมายการขยายตัวโดยเฉลี่ย ร้อยละ 4-5 ต่อปี อัตราเงินเฟ้อไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปี • เป้าหมายการยกระดับคุณภาพชีวิต สร้างโครงสร้างประชากรที่สมดุล และขนาด ครอบครัวที่เหมาะสม คนไทยมีสุขภาพดี มีคุณภาพ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีคุณธรรม มีจิตสํานึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม • เป้าหมายการบริหารจัดการที่ดี มุ่งสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ มีขนาดและ โครงสร้างเหมาะสม มีการกระจายอํานาจ มีระบบการตรวจสอบ โปร่งใส • เป้าหมายการลดความยากจน มีมาตรการทางเศรษฐกิจที่เอื้อต่อคนจน พร้อมทั้งเอื้อต่อ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างศักยภาพให้คนจนเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน สามารถพึ่งพา ตนเองได้
  • 56. ยุทธศาสตร์การพัฒนาตามแผนฯ 9 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการที่ดี ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะและขีด ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและ ความสามารถในการแข่งขัน คุ้มครองทางสังคม ยุทธศาสตร์การพัฒนาความเข้มแข็งทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างการพัฒนา ยุทธศาสตร์การบริหารเศรษฐกิจส่วนรวม ชนบทและเมือง ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • 57. แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 9 เร่งสร้างสุขภาพเชิงรุก โดยมุ่งที่ปัจจัยหลักของการมีสุขภาพดี ควบคู่กับมาตรการและกลไกการสร้าง เสริมสุขภาพและการป้องกันโรคอย่าง การพัฒนากําลังคนด้านสุขภาพ เป็นระบบ การสร้างหลักประกันและการเข้า เพื่อรองรับการเปลีี่ยนแปลงและ ถึงบริการสุขภาพถ้วนหน้า ระบบสุขภาพใหม่ การบริหารจัดการความรู้และ ปฏิรูประบบ โครงสร้าง และกลไก ภูมิปัญญาสุขภาพ การบริหารจัดการระบบสุขภาพ การสร้างความเข้มแข็งของ ประชาคมเพื่อสุขภาพ
  • 58. กลวิธีการพัฒนาสุขภาพ • เสริมสร้างศักยภาพใหม่และความเข้มแข็ง (Empowerment) ให้กับสังคมทุกระดับ ให้มีบทบาทในการเสริมสร้างและการดูแลสุขภาพ • การทํางานเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย (Network) ระหว่างชุมชน องค์กร และสถาบัน ต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ และธรรมาภิบาล (Good governance) • การทํางานโดยยึดหลัก Problem and Area-based approach • ส่งเสริมด้านนวัตกรรมด้านการเสริมสร้างสุขภาพ การพัฒนาระบบการบริการ การ ควบคุมป้องกันโรค และมาตรการคุ้มครองด้านสุขภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable developement)
  • 59. แนวคิดหลักในการพัฒนาสุขภาพ • แนวคิดที่ 1 สุขภาพคือสุขภาวะ • สุขภาพเป็นมิติทั้งทางด้านกาย จิต สังคม และวิญญาณ ที่เชื่อมโยงกับเหตุปัจจัย ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และสิ่งแวดล้อม • สุขภาพไม่ได้แยกจากวิถีชีวิต ดําเนินไปบนพื้นฐานของความถูกต้องพอดี • แนวคิดที่ 2 พัฒนาสุขภาพทั้งระบบ • สุขภาพที่สมบูรณ์เกิดจากระบบสุขภาพที่สมบูรณ์ • สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาสุขภาพ
  • 60. วิสัยทัศน์การพัฒนาสุขภาพ คนในสังคมไทยทุกคนมีหลักประกันที่จะดํารงชีวิตอย่างมีสุขภาวะ และการเข้ถึงบริการ ที่มีคุณภาพอย่างเสมอภาค รวมทั้งอยู่ในครอบครัว ชุมชน และสังคมที่มีศักยภาพ มี การเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพโดยสามารถใช้ประโยชน์ ทั้งจาก ภูมิปัญญาสากลและภูมิปัญญาไทยได้อย่างรู้เท่าทัน (Health for All) โดยระดมพลังทั้ง สังคมเพื่อสร้างสุขภาพ (All for Health)
  • 61. วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • เพื่อสร้างระบบสุขภาพเชิงรุกที่มุ่งการสร้างเสริมสุขภาพดีและการคุ้มครองความ ปลอดภัยของชีวิตและสุขภาพ • เพื่อสร้างหลักประกันที่ช่วยคุ้มครองสุขภาพของประชาชนจากผลกระทบทาง เศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนา และสร้างหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง เสมอภาค และเป็นธรรม • เพื่อสร้างความเข้มแข็งของปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้มี ศักยภาพในการดูแลและการสร้างเสริมสุขภาพ มีการเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการ สร้างและจัดการระบบสุขภาพ • เพื่อสร้างกลไกและมาตรการในการสร้าง แสวงหา และเพิ่มศักยภาพในการคัด กรองการใช้ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาสุขภาพ
  • 62. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 วิสัยทัศน์ประเทศไทย • มุ่งพัฒนาสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมี คุณธรรม นําความรอบรู้ รู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพและ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยู่ภายใต้การบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดํารงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีประมหากษัตริย์เป็นประมุขและอยู่ในประชาคม โลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี”
  • 63. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (2) พันธกิจ (1) • พัฒนาคนให้มีคุณภาพ คุณธรรม นําความรอบรู้อย่างเท่าทัน มีสุขภาวะที่ดี อยู่ภายใต้ครอบครัว ที่อบอุ่น ชุมชนที่เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ มีความมั่นคงในการดํารงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้ ดุลยภาพของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม • เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม มุ่งปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของ ประเทศให้สามารถแข่งขันได้ มีภูมิคุ้มกันความเสี่ยงจากความผันผวนของสภาพแวดล้อมในยุค โลกาภิวัฒน์บนพื้นฐานการบริหารเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการออมที่พอ เพียง มีการปรับโครงสร้างการผลิตและบริการบนฐานความรู้และนวัตกรรม ใช้จุดแข็งของความ หลากหลายทางชีวภาพและความเป็นไทย ควบคู่กับการเชื่อมโยงกับต่างประเทศ และพัฒนา ปัจจัยสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ พลังงาน กฎ กติกา และกลไกสนับสนุนการ แข่งขันและกระจายประโยชน์อย่างเป็นธรรม
  • 64. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (3) พันธกิจ (2) • ดํารงความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สร้างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เป็น ธรรมและมีการสร้างสรรค์คุณค่า สนับสนุนให้ชุมชนมีองค์ความรู้และสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อ คุ้มครองสิทธิ และส่งเสริมบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากร ปรับแบบแผนการ ผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกันสิ่งแวดล้อม ตลอดจนรักษาผลประโยชน์ของชาติจากข้อตกลง ตามพันธกรณีระหว่างประเทศ • พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศให้เกิดธรรมาภิบาลภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข มุ่งสร้างกลไกและกฎระเบียบที่เอื้อต่อการกระจายผลประโยชน์จากการ พัฒนาสู่ทุกภาคี ควบคู่กับการเสริมสร้างความโปร่งใส สุจริต ยุติธรรม รับผิดชอบต่อสาธารณะ มีการกระจายอํานาจและกระบวนการที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจสู่ความเป็นธรรม ทางเศรษฐกิจ สังคม และการใช้ทรัพยากร
  • 65. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (4) วัตถุประสงค์ (1) • เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้คุณธรรม จริยธรรมอย่างต่อเนื่องที่ขับเคลื่อนด้วยการเชื่อมโยงบทบาท ครอบครัว สถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษา เสริมสร้างบริการสุขภาพอย่างสมดุลระหว่างการส่ง เสริม การป้องกัน การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ และสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • เพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชน เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย เป็นฐานรากการพัฒนาเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต และอนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน นําไปสู่การพึ่งตนเองและลด ปัญหาความยากจนอย่างบูรณาการ • เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตสู่การเพิ่มคุณค่า (Value creation) ของสินค้าและบริการบนฐานความรู้ และนวัตกรรม รวมทั้งสนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างสาขาการผลิตเพื่อทําให้มูลค่าการผลิต สูงขึ้น • เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน (Safety net) และระบบบริหารความเสี่ยงให้กับภาคการเงิน การคลัง พลังงาน ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดแรงงาน และการลงทุน
  • 66. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (5) วัตถุประสงค์ (2) • เพื่อสร้างระบบการแข่งขันด้านการค้า และการลงทุนให้เป็นธรรม และคํานึงถึงผลประโยชน์ของ ประเทศ รวมทั้งสร้างกลไกการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาสู่ประชาชนในทุกภาคส่วนอย่าง เป็นธรรม • เพื่อเสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ ควบคู่กับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เป็นฐานที่มั่นคงของการพัฒนาประเทศ และการดํารงชีวิต ของคนไทยทั้งในรุ่นปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งสร้างกลไกการรักษาผลประโยชน์ของชาติอย่างเป็น ธรรมและยั่งยืน • เพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศสู่ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาค ประชาชน และขยายบทบาทขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควบคู่กับการเสริม กลไก และกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยให้เกิดผลในทางปฏิบัติต่อ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

Notes de l'éditeur

  1. \n
  2. \n
  3. \n
  4. \n
  5. \n
  6. \n
  7. \n
  8. \n
  9. \n
  10. \n
  11. \n
  12. \n
  13. \n
  14. \n
  15. \n
  16. \n
  17. \n
  18. \n
  19. \n
  20. \n
  21. \n
  22. \n
  23. \n
  24. \n
  25. \n
  26. \n
  27. \n
  28. \n
  29. \n
  30. \n
  31. \n
  32. \n
  33. \n
  34. \n
  35. \n
  36. \n
  37. \n
  38. \n
  39. \n
  40. \n
  41. \n
  42. \n
  43. \n
  44. \n
  45. \n
  46. \n
  47. \n
  48. \n
  49. \n
  50. \n
  51. \n
  52. \n
  53. \n
  54. \n
  55. \n
  56. \n
  57. \n
  58. \n
  59. \n
  60. \n
  61. \n
  62. \n
  63. \n
  64. \n
  65. \n
  66. \n
  67. \n
  68. \n
  69. \n
  70. \n
  71. \n
  72. \n
  73. \n
  74. \n
  75. \n
  76. \n
  77. \n
  78. \n
  79. \n
  80. \n
  81. \n
  82. \n
  83. \n
  84. \n
  85. \n
  86. \n
  87. \n
  88. \n
  89. \n
  90. \n
  91. \n
  92. \n
  93. \n
  94. \n
  95. \n
  96. \n
  97. \n
  98. \n
  99. \n
  100. \n
  101. \n
  102. \n
  103. \n
  104. \n
  105. \n
  106. \n
  107. \n
  108. \n
  109. \n
  110. \n
  111. \n
  112. \n
  113. \n
  114. \n
  115. \n
  116. \n
  117. \n