SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  120
Watcharin Chongkonsatit
M.Ed., Ph.D.
Certificate in Health Management
Vice Dean (Planning and QA)
Faculty of Dental Medicine, RSU
ข้อตกลงร่วมกัน
•เปิดพื้นที่ มีส่วนร่วม
•ใคร่ครวญ ทบทวน (เรื่องราวของตัวเอง) อยู่กับสิ่งที่เปนนอยู่ในปัจจจจบบัน
•เคารพตัวเอง เพื่อน และสิ่งแวดล้อม
•แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วม
•ขอความกรบณางดใช้อบปกรณ์ในการสื่อสาร
อิสรภาพ 5 ประการ
อิสรภาพที่จจะได้เหนน และได้ยินสิ่งที่เปนนอยู่ตรงนี้
อิสรภาพที่จจะพูดในสิ่งที่คบณรู้สึกและคิด
อิสรภาพที่จจะได้รู้สึกอย่างที่คบณรู้สึก
อิสรภาพที่จจะร้องขอในสิ่งที่ต้องการ
อิสระภาพที่จจะเสี่ยงด้วยตนเอง
2 Types of Knowledge
Divergen
ce
Knowled
geConverge
nce
Knowled
ge
Dangerous
zone
Mineral
Discomfort
zone
Comf
ort
zone
กลัว
อันนั้นไม่ใชฉ
ความคุ้นชิน
ความชอบ
ความไม่ชฉันเป็ นคน....
ความอาย
ไม่มีใครเขาทา
เขาจะมองว่ายังไง
มันต้องเป็ น...
ฉันควรจะ...
ตามประสบการณ์...
เสียง “คบณวิจจารณ์
ภายใน” ที่ขัดเรา สร้าง
แรงต้านไม่ให้เราก้าวข้าม
ขอบ
สภาวะขึ้นขอบจจะมีอาการทางร่างกายแสดงให้เหนนอย่าง
ชัดเจจน เช่น มือสั่น เหงื่อออก ใจจสั่น บางครั้งอาจจมีอาการ
ทางใจจ เช่น เขิน ประหม่า ฯลฯ
เพื่อน กัลยาณมิตร เสียงของครูใน
ใจจ และความรู้สึกปลอดภัยจจะ
สนับสนบนให้ก้าวไปยืนบนขอบ
ลองก้าวข้ามออกจจากพื้นที่เดิมๆ
ทดลองทาอะไรใหม่ๆ เริ่มทีละ
นิดสัก 1% หล่อเลี้ยงความสั่น
เสี้ยวเลนกๆ ให้
“พื้นที่ขยายออก”
ปมความเจจนบปวดในอดีตจจะเหนี่ยวรั้งให้ก้าวข้ามขอบ
ไม่ได้ และกลับมาอยู่ใน
“หลุมเสพติด” เช่น FB กิน ดื่ม เที่ยว งาน เกม
Experiential
tunnel
Constructivis
Reflective thinkingDeep listening Contemplativ
Learning by doing
Experiential learning
ACT
THINK LEARN
WISDOM
Concrete experience
Discussion &
reflection
Reflective dialogue
Conceptualization
Crystalize
Application
Induction
Generalize
Why
?
How?
What
?
Transformativ
e learning
Formative
learning
Informative
learning
Conventional A new paradigm
Modified from Simon Sinek. (2009), S
This slide is intended to leave blank be
MineralMineral
Mineral
Human equation
Mine
ral
M
Plants
M+X
Animal
M+X+Y
Human
M+X+Y+Z
Modified from Small is
Beautiful (Ernst Friedrich
“ความเป็ น
มนุษย์”
ในทัศนะของเราคือ…..
แขน ขา
ตา
ใบหน้า
หัวใจ มือ
สมอง
ปอด กล้ามเนื้อ
เส้นเลือด
ผม
ความรัก
ความเข้าใจ
ความเคารพ
อิสระ
การยอมรับ
ความมั่นคง
ความเสมอภาค
สัมพันธภาพ
Feelings
Perception
s
Expectation
s
Yearning
Self
Actions
Behaviors
Personality
Experien
ce
Memor
y
Dream
Inspirat
ion
Respon
se
Triune brain
Reptilian brain Paleo-mammalian
complex
Neo-mammalian
complex
Brain step and
cerebellum
Limbic system Neocortex
Fight or flight Emotions, Habits, and
Memories
Languages, Abstracts,
Thoughts,
Conciousness
Autopilot Decision Reasons, Rationalizes
MacLean, Paul D. (1990). The triune brain in
evolution: role in paleocerebral functions.
ENNEAGRAM
ศูนย์กาย
ศูนย์
ใจจ
ศูนย์หัว
โครงสร้างของนพลักษณ์คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
สามเหลี่ยมแห่งการปรับตัว
สามเหลี่ยมแห่งพลังสามเหลี่ยมแห่งอบดมคติ
กิเลส 7 ประการ
ความเฉื่อยชา
ความโกรธ
ความทะนงตน
ความหลอกลวง
ความอิจฉา
ความงก
ความกลัว
ความตะกละ
ความทะยานอยาก
ศูนย์คิด
ความเรื่อยเปื่อย
ความขัดเคือง
การประจบ
การสาคัญตน
ความรันทดความตระหนี่
ความลังเลสงสัย
การวาดฝัน
การแก้แค้น
ความรัก
ความสมบูรณ์แบบ
อิสรภาพ
ความหวัง
ความเป็ นต้นแบบความรอบรู ้
ศรัทธา
การงาน
สัจจะ
ศูนย์คิด
ญาณ
ทัศนะ
ของ
ศูนย์คิด
ฝ่ ายสูง
ศูนย์อารมณ์
ความเฉื่อยชา
ความโกรธ
ความ
ทะนงตน
ความหลอกลวง
ความอิจฉาความงก
ความกลัว
ความตะกละ
ความทะยานอยาก
ลงมือทาเรื่องที่ควรทา
ความสงบเย็น
ความถ่อมตน
ความซื่อสัตย์
สงบ/สมดุลความไม่ยึดติด
ความกล้า
สติรู ้ประมาณ
ความใสซื่อ
ศูนย์อารมณ์
ญาณ
ทัศนะ
ของศูนย์
อารมณ์
ฝ่ ายสูง
ศูนย์ท้อง: ลักษณ์ย่อย
การผดบงตนเพื่อความอยู่รอด
สัมพันธภาพแบบใกล้ชิด
ปฏิสัมพันธ์กับทางสังคม
ศูนย์ท้อง: การผดบงตนให้อยู่รอด
ความอยากเสพ
ความกระสับกระส่าย
ความมีอภิสิทธิ
ความมั่นคง
ความบ้าบิ่น
ปราสาท
ความอบอุ่น
ความมีพรรคพวก
ความพออยู่รอด
ศูนย์ท้อง: ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
การมีส่วนร่วม
การปรับตัวไม่เป็ น
ความทะเยอทะยาน
ความมีหน้ามีตา
ความละอาย
รูปเคารพ
หน้าที่
ความเสียสละ
มิตรภาพ
ศูนย์ท้อง: สัมพันธภาพแบบใกล้ชิด
ความเป็ นหนึ่งเดียว
ความหึงหวง/ความร้อนแรง
ความยั่วยวน/ความก้าวร้าว
ความมีหน้ามีตา
ความละอาย
รูปเคารพ
หน้าที่
ความเสียสละ
มิตรภาพ
ภาวะเครียดและความมั่นคง
ภาวะเครียด ความมั่นคง
คนเราไม่ได้กลายเปนนคนอีกลักษณ์หนึ่งเมื่ออยู่ภาวะเครียดหรือมั่นคง เพียงแต่รับเอาลักษณะ
ของคนลักษณ์นั้นมา โดยยังคงความสนใจจและมบมมองของลักษณ์ของตนเอาไว้
ปี ก
• ปีกเปนนอิทธิพลเฉพาะตัวบบคคล ไม่สามารถ
คาดเดาได้ทั้งรูปแบบและวาระ
คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน 1 คนเนี้ยบ (PERFECTIONISTS)
• วิพากษ์ตนเองและคนอื่นอยู่เสมอ เอาจจริงเอาจจังกับชีวิต
เข้มงวด ตัดสินคน บังคับตัวเอง
• มักหลบดปากว่า “ควร” “ไม่ควร” “ต้อง” เสมอๆ
• มบ่งมั่นให้สิ่งที่ตนเองทาปราศจจากข้อบกพร่อง ลาบากใจจใน
การรับคาชมหรือยอมรับในความสาเรนจจ
• กลัวความไม่สมบูรณ์แบบจจึงทาแล้วทาอีกเพื่อกันพลาด มี
มาตรฐานสูง อ่อนไหวต่อคาติวิจจารณ์
• ยึดมั่นในกฎ มีความรับผิดชอบ เปนนตัวของตัวเอง
• สามารถชี้จจบดบกพร่องได้ทันที และบอกได้ว่าจจะต้องแก้ไข
อย่างไรให้ถูกต้อง
ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้
ทางความคิด ความขัดเคือง ความขบ่นใจจ ความสมบูรณ์แบบ
ทางอารมณ์ ความโกรธ ความสงบเยนน
จุดเน้นของลักษณ์ย่อย
ทางเพศ หึงหวง
ทางสังคม ไม่ยืดหยบ่น
ทางการผดบงตน กระวนกระวาย/กังวล
ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 1คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
ภาวะมั่นคง
ปลดปล่อยตัวเองให้รู้สึกผ่อน
คลาย โดยอาจจใช้ชีวิตกับกีฬา
ธรรมชาติ ลาพัง หรือใช้ชีวิต
แบบแหกกฎบ้าง
ภาวะเสี่ยง
เตนมไปด้วยอบดมการณ์อันร้อน
ระอบที่ตอกย้าความเชื่อที่ว่า
ความสมบูรณ์พร้อมเปนนสิ่งที่
ไม่สามารถเข้าถึงได้ และเขา
เองไม่ควรค่า เอ่อล้นด้วย
ความรู้สึกไม่เปนนที่รัก จจึงเกิด
ความเศร้า หดหู่ และไม่มีทาง
ทาให้ถูกต้องได้อีก
สื่อสารแบบคน 1
• เมื่อจจะแนะนาใคร ควรมั่นใจจว่าได้รับทราบสิ่งที่เขาทาดีอยู่แล้วด้วย
• ชื่นชมยินดี สรรเสริญคนอื่นบ้าง
• ระวังการกระทบกระแทก เยาะเย้ย เวลาที่ตนเองสะเทือนใจจ หรือไม่รับการให้เกียรติ
• สื่อสารความรู้สึกออกมาเท่ากับสิ่งที่คิด “จจงพูดความรู้สึก”
• ถ้าคนอื่นไร้สบขหรือไม่พอใจจ เป้าหมายอาจจไม่ใช่ตัวเรา เพียงแค่รับฟังความทบกข์หรือความไม่สบายใจจกน
พอแล้ว
สื่อสารกับคน 1
• ช่วยให้เขาเข้าถึงอารมณ์ด้วยคาถามแบบไม่ติเตียน
• อย่าเอาความโกรธของเขาเข้าตัว อาจจเปนนเรื่องอื่นที่ต่างไปอย่างสิ้นเชิง แม้แต่ตัวเขากนไม่รู้ตัวว่าเปนนอะไร
• พูดคบยด้วยเหตบและผล (หลักเกณฑ์) มากกว่าอารมณ์และความรู้สึก
• ตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม คน 1 จจะไวและพินิจจพิเคราะห์กับการกระทาที่ไม่ตรงไปตรงมา
• บอกเขาเมื่อเหนนอะไรผิด หรือขออภัยในความผิดของเรา และย้าเตือนว่าใครๆ กนอาจจทาผิดพลาดได้
• ถ้าเขาไม่ฟังเราเวลาที่เราพูด ขอให้เขาช่วยบอกเราว่ากาลังคิดอะไรอยู่
• ชี้ให้เขาเหนนด้านที่สดใสของสิ่งต่าง ๆ มีส่วนร่วมในเรื่องขบขัน
สิ่งที่คน 1 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต
เรียนรู้ที่จจะปล่อยให้ตัวเองทาผิดพลาดเลนกๆ น้อยๆ บ้าง โดยไม่ตาหนิโทษ
หากลบ่มที่ส่งเสริมให้แสดงอารมณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้นในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
จจัดความคิดในความถูก-ผิด ขาว-ดา แล้วรวมหลายๆ มบมมองเข้าด้วยกัน
ตระหนักรู้ว่าความแตกต่างไม่จจาเปนนต้องเปนนความผิด หรือข้อบกพร่องเสมอไป
จจัดตารางเวลาให้ว่างจจากกิจจกรรมที่บีบรัดตัว เพื่อให้สามารถลาดับความสาคัญได้
ใส่เรื่องสนบกๆ และการพักผ่อนไว้ในรายการที่ควรทา จจนกว่าจจะทาได้เองโดยไม่มีรายการ
คน 2 ผู้ให้ (HELPER)
• ชอบสมาคม ร่าเริง เปนนมิตร มีชีวิตชีวา มบ่งสร้างสัมพันธภาพ
• ชอบการช่วยเหลือ พิถีพิถันในการตอบสนองความปรารถนา
ของผู้อื่น
• ลดทอนตัวเองเพื่อให้ได้การยอมรับ
• ไวต่อความรู้สึกและความต้องการของคนอื่น
• ต้องการเปนนที่ยอมรับ หลีกเลี่ยงการปฏิเสธ รู้สึกว่าตนเอง
เปนนที่ต้องการ เปนนศูนย์กลางของชีวิตคนอื่นๆ
• มักพูด หรือคิดว่า “ฉันไม่ได้ต้องการอะไร”
ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้
ทางความคิด การประจจบ เจจตจจานง (อิสรภาพ)
ทางอารมณ์ ความทะนงตน ความถือตัว ความถ่อมตน
จุดเน้นของลักษณ์ย่อย
ทางเพศ ความก้าวร้าว/เสน่ห์ดึงดูด
ทางสังคม ความทะเยอทะยาน/อานาจจหลังบัลลังก์
ทางการผดบงตน ความมีอภิสิทธิ์/ฉันต้องมาก่อน
ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 2คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
ภาวะมั่นคง
เกิดขึ้นเมื่อรู้สึกปลอดภัยกับ
การรับรู้ว่าตนต้องการอะไร
หากแต่เน้นอยู่ที่ตนเอง
มากกว่าคนอื่น “อะไรที่ฉัน
ชอบและไม่ชอบ” “อะไรคือ
ความรู้สึกของฉันไม่ใช่ปรับ
เพื่อให้ได้รับการยอมรับ” จจน
อาจจเกิดความหดหู่เมื่อ
มองเหนนว่าการอยู่เพื่อคนอื่น
ง่ายกว่าการอยู่เพื่อตนเอง อาจจ
รู้สึกเหมือนถูกหลอกใช้ ได้ขาย
ตัวเองเพื่อให้คนมารัก
ภาวะเสี่ยง
เกิดขึ้นเมื่อหมกหมบ่นกับความ
ต้องการของผู้อื่นและกดข่ม
ความต้องการของตนเองมาก
จจนเกินไป จจนเกิดการระเบิด
ความฉบนเฉียวออกมา ทาให้พบ่ง
ปะทะ กลายเปนนคนที่ไม่ยอม
ผ่อนปรนอะไร ลบกขึ้นต่อสู้เพื่อ
อิสรภาพ และจจะเอาเรื่องให้ถึง
ที่สบด
สื่อสารแบบคน 2
• ลองเล่าเรื่องของตัวเองให้คนอื่นฟังบ้าง
• เปนนตัวของตัวเองมากกว่าคอยเอาอกเอาใจจคนอื่น
• สื่อสารอย่างสงบอย่างรวดเรนวเมื่อรู้สึกไม่ยบติธรรมหรือถูกเอาเปรียบ
• ร้องขอสิ่งที่ต้องการแทนที่จจะตาหนิคนอื่นที่ไม่ให้ตามที่คบณต้องการ  ไม่มีใครหยั่งรู้ความต้องการของ
ใคร
• พูดตรงๆ แทนที่จจะแสดงความเหนนเกี่ยวกับคนที่อยู่ด้วยเพื่อเปนนทางที่จจะสนองตอบแบบอ้อมๆ
• การปฏิเสธเปนนเรื่องธรรมดา ไม่ต้องพยายามเสนอสิ่งอื่นแทน
• เปิดช่องให้คนอื่นแก้ปัญหาของเขาเองบ้าง
สื่อสารกับคน 2
• บอกเขาว่าเราซาบซึ้งกับสิ่งที่เขาทา (Word of affirmation)
• แม้คบณไม่ได้รับการช่วยเหลือจจากเขา กนยังคงชอบเขาอยู่
• ปฏิเสธ พร้อมเหตบผลและความรู้สึก เพื่อให้เขารู้ว่าสิ่งที่จจะช่วยได้ดีที่สบด คือ ไม่ต้องช่วย
• บอกเขาว่าคบณยินดีจจะทาบางอย่างให้เขา
• เปิดโอกาสให้เขาสนทนาเรื่องของเขาบ้าง
• จจริงใจจ และตรงไปตรงมา เขาจจะไวมากกับท่าทีบีบบังคับและไม่ตรงไปตรงมา
• อย่าปล่อยให้เขาทางาน/โครงการอะไรตามลาพังคนเดียว ต้องให้แน่ใจจว่ามีช่องทางสื่อสารเปิดให้เขาติดต่อ
ได้
สิ่งที่คน 2 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต
ค้นหาและทาสิ่งที่มีความหมายต่อตนเองจจริงๆ
หากิจจกรรมที่ทาให้ได้กลับมามอง “ภายใน” ตนเอง
ค้นหาสัมฤทธิผลแห่งตนและคบณค่า
มองทะลบปฏิกิริยาทางอารมณ์ โดยเฉพาะความโกรธ
พัฒนาบบคลิกภาพและการแสดงออกที่ตรงกับใจจ และไม่เปลี่ยนใจจเพื่อเอาใจจคนอื่น
“ความรักที่แท้ไม่ได้ขึ้นกับว่าคบณต้องทาตัวอย่างใดอย่างหนึ่ง”
คน 3 นักแสดง (PERFORMER)
• “โลกให้คบณค่าแก่ผู้ชนะเลิศ ฉันจจึงหลีกเลี่ยงความล้มเหลว”
• เชื่อมั่นในตัวเอง ทะเยอทะยาน ประสบความสาเรนจจ
กระฉับกระเฉง คล่องแคล่ว กระตือรือร้น
• ทางานหนักเพื่อบรรลบเป้าหมาย ทางานหลายอย่างพร้อมกัน
• ไม่ชอบความล้มเหลว (ต่อหน้าคนอื่น) โกรธเมื่อสะดบด
• ปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ให้เหมาะกับคนที่อยู่ด้วยได้
• ต้องทาอะไรมากมาย (ให้ดี) เพื่อได้รับความรักและมีคบณค่า
• “ต้องเปนนอันดับหนึ่งให้ได้ คนรักเราที่เราเปนนคนที่เก่งที่สบด”
ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้
ทางความคิด การสาคัญตน โอ่ ความหวัง
ทางอารมณ์ ความหลอกลวง ความสัตย์ซื่อ จจริงใจจ
จุดเน้นของลักษณ์ย่อย
ทางเพศ ความเปนนชายจจริง/หญิงแท้
ทางสังคม เกียรติยศ ศักดิ์ศรี ความมีหน้ามีตา
ทางการผดบงตน ความมั่นคงทางวัตถบ
ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 3คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
ภาวะมั่นคง
เคลือบแคลงภาพลักษณ์ที่
ได้รับมา ตื่นตระหนกแบบคน
6 ซึ่งอยู่กลางศูนย์แห่งความ
กลัว การพยายามทาอะไร
ต่างๆ มากมายเพื่อที่จจะหลีก
หนีจจากอารมณ์ ซึ่งเปนนการ
ยืนยันว่าอารมณ์เปนนสิ่งที่
อันตราย จจึงทาให้เขาลาบากใจจ
ที่จจะผ่อนคลาย และพักผ่อน
โดยไม่ทาอะไร “ตราบเท่าที่มี
อะไรทายบ่งๆ กนไม่ต้องก้าวเข้าสู่
ความกลัว”
ภาวะเสี่ยง
เติบโตได้ดีในภาวะที่คนส่วน
ใหญ่เรียกว่าความเครียด ไม่ว่า
จจะเปนนความล้มเหลวต่อหน้า
สาธารณะ งานประดังเข้ามา
จจนรับไม่ไหว เจจนบไข้ได้ป่วยจจน
ทาอะไรไม่ได้ เปนนความเครียด
ของคนลักษณ์ 3 จจนทาให้
สูญเสียจจบดมบ่งหมายและความ
เชื่อมั่นในตนเอง ตามใจจตนเอง
ในเรื่องต่างๆ ถูกชักจจูงหรือเบน
ความสนใจจได้ง่าย
สื่อสารแบบคน 3
• ฟังให้มาก และยอมรับจจบดเด่นของคนอื่นบ้าง
• บอกเขาว่ารู้สึกอย่างไร และพิจจารณาคาตอบของเขาอย่างถี่ถ้วน เมื่อคบณกาลังเร่งเร้าเขา
• ตั้งสติและมองในจจบดที่คบณจจะไม่ไขว้เขว
• บอกความรู้สึกที่แท้จจริงให้คนอื่นทราบ เขาอาจจชอบคบณมากขึ้น
• บอกคนอื่นว่าคบณซาบซึ้งเมื่อเขาทาประโยชน์ให้
• หาเวลาฟังความรู้สึกของคนอื่น โดยเฉพาะคนที่คบณรัก
• อย่าเร่งเร้าด้วยคาตอบหรือการแก้ปัญหาอย่างรวดเรนว
สื่อสารกับคน 3
• การวิพากษ์วิจจารณ์ยิ่งเร่งเร้าให้เขาแสดงมากขึ้น
• ทาตัวอย่างให้เหนนว่าทาอย่างไรจจึงจจะประสบผลสาเรนจจที่ดีกว่า
• หลีกเลี่ยงประเดนนยืดยาวยบ่งยาก
• ขอให้เขาช้าลงสักนิด และบอกเหตบผลกับเขา
• บอกคบณค่าที่คบณมองเหนนในตัวเขาให้เขารู้
สิ่งที่คน 3 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต
หาเวลาหยบดพัก และถามตัวเองว่า “กาลังรู้สึกอะไรอยู่ในขณะนี้”
หัดทาสมาธิเพื่อการทาสมาธิเท่านั้น มากกว่าจจะถือเปนนภารกิจจอย่างหนึ่ง
สนใจจกับความรู้สึกทางกาย โดยเฉพาะความเหนื่อยเพื่อชะลอความเรนวของตนเอง
ใช้ความรู้สึกทางกายเปนนสัญญาณชี้อารมณ์และความรู้สึกของตนเอง
ฝึกฝนการให้คบณค่ากับความเข้าอกเข้าใจจและความสัมพันธ์มากกว่าสถานภาพ
ฝึกยอมรับและซื่อสัตย์ที่จจะยอมรับข้ออ่อนและความล้มเหลวบ้าง
คน 4 คนโศกซึ้ง (Romantic)
• “ชีวิตขาดอะไรไปสักอย่าง คนอื่นมีสิ่งนั้น ฉันถูกทอดทิ้ง”
• นักอบดมคติ ปฏิเสธความธรรมดา
• ถูกดึงดูดด้วยความรู้สึกหรือการกระทาแบบสบดขั้ว มีความสบข
สนบกกับชีวิตที่หมิ่นเหม่
• มีศิลปะและความหมายต่อชีวิตทบกด้านทบกมบม
• มักมีความสัมพันธ์แบบผลักๆ ดึงๆ
• มักรู้สึกว่าตัวเองถูกละเลยทอดทิ้ง จจึงมบ่งแสวงหาความรักที่
เพียบพร้อมเพื่อให้ตัวเองสมบูรณ์
ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้
ทางความคิด ความรันทด ความเปนนต้นแบบ
ทางอารมณ์ ความอิจจฉา ใจจเปนนกลาง มีสมดบล
จุดเน้นของลักษณ์ย่อย
ทางเพศ การแข่งขัน
ทางสังคม ความละอายว่าตังเองไม่ดีพอ
ทางการผดบงตน ความบ้าบิ่น ใช้ชีวิตแบบสบดๆ เท่าที่เปนนไปได้
ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 4คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
ภาวะมั่นคง
เปนนคนเจจ้าอบดมคติในชีวิตที่สั่ง
สมความรู้สึก และความจจริงจจัง
ในชีวิต เมื่ออยู่ในภาวะมั่นคง
เขาจจะเริ่มวิพากษ์วิจจารณ์
ตนเอง และคนอื่นๆ ถึงสิ่งที่
ควร และไม่ควร
ภาวะเสี่ยง
ความห่างไกลจจากอบดมคติ ทา
ให้รู้สึกอยากเปลี่ยนแปลงไป
ในทางใดทางหนึ่ง คน 4 จจะ
ใช้คบณลักษณะแบบคน 2 ที่
หยิบยื่นความช่วยเหลือให้แก่
คนรอบข้าง หากแต่ยังคง
สัมพันธภาพแบบผลักๆ ดึงๆ
เพียงเพราะรู้สึกว่าต้องการ
ดึงดูดผู้คน ต้องการการยอมรับ
และยกย่อง
สื่อสารแบบคน 4
• คนส่วนใหญ่ไม่ไวและใส่ใจจต่อความรู้สึกเท่าคบณ
• บอกความรู้สึกอย่ารอให้เขาเดา เพื่อพิสูจจน์ความเหนนอกเหนนใจจ
• ระวังการจจมกับความรู้สึก/อารมณ์ของตัวเอง
• อยู่กับปัจจจจบบัน ที่นี่ และเดี๋ยวนี้
• บอกคนอื่นว่าคบณอาจจใช้ความรู้สึกมากเกินไป หรือถูกดึงความสนใจจออกนอกทาง
• ขอให้คนอื่นช่วยให้คบณผ่อนคลาย หากคบณกาลังติดในอารมณ์
• มีสติหากกาลังประชดหรือกระแทกแดกกัน แต่บอกความรู้สึกที่แท้จจริงออกมา
สื่อสารกับคน 4
• ปรับความตั้งใจจอันแรงกล้าให้ตรงกันเพื่อเขาจจะรู้สึกว่าคบณอยู่เคียงข้างเขา
• ตรงไปตรงมาในเวลาที่ต้องการความช่วยเหลือ
• อารมณ์ของเขาเปนนจจริง อย่างพยายามพูดคบยเพื่อเบี่ยงเบนประเดนนออกไป
• รับรู้ความรู้สึกของเขา แม้จจะถกเถียงในเรื่องที่เปนนเหตบเปนนผล
• ชื่นชมยกย่อง เรื่องความคิดสร้างสรรค์ และความเหนนที่พิเศษมากกว่าคานึงถึงผลลัพธ์
• รับฟังการหยั่งรู้ของเขา
• เขาไม่ค่อยเหนนคบณค่าของตัวเอง ทาให้เขารู้ว่าคบณอาทรและเหนนคบณค่าของเขา
สิ่งที่คน 4 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต
ฝึกการทากิจจกรรมทางกาย เพื่อเรียนรู้ที่จจะเปนนคนหนักแน่น มั่นคงมากขึ้น
ย้อนทบทวนอารมณ์หาต้นสายปลายเหตบแห่งอารมณ์
ระลึกว่า “การถูกทอดทิ้ง” เปนนอดีตไปแล้ว และปัจจจจบบันเปนนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ชื่นชมยินดีในสิ่งที่เปนนบวกทบกๆ วัน เรียนรู้ที่จจะขอบคบณในสิ่งที่ต่างๆ ที่เกิดขึ้น
ค้นให้พบคบณค่าที่มีอยู่ในตัวเอง “เขามี เรากนมี”
ให้เกียรติอบดมการณ์และความสามารถแห่งตนเอง ร่วมรับรู้ทบกข์ โดยไม่เอาตัวเองไปติด
บ่วง
คน 5 นักสังเกตการณ์ (THE OBSERVER)
• เกนบตัว เปนนนักคิด มีสมาธิ เงียบ มีเหตบผล ไร้อารมณ์
พึ่งพาตนเอง เปนนคลังความรู้แต่ไม่เสนอตัว
• เสพติดข้อมูล ชอบข้อเทนจจจจริงและระบบ ใช้สมองไปใน
เรื่องที่ลึกลับที่ยากที่คนจจะเข้าใจจ
• กลัวถูกก้าวก่าย ต้องการความเปนนส่วนตัว
• มีขอบเขตเฉพาะที่ชัดเจจนมาก จจัดชีวิตเปนนส่วนๆ
• ชอบคาดการณ์ล่วงหน้า ไม่ค่อยตอบสนองอย่าง
ทันทีทันใดโดยไม่ผ่านการนึกคิด
• สันโดษ ไม่สะสมสิ่งของมาก
• เจจ้าระเบียบและคงเส้นคงวา
ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้
ทางความคิด ความตระหนี่ ความสมบูรณ์แบบ
ทางอารมณ์ ความโลภ ความสงบเยนน
จุดเน้นของลักษณ์ย่อย
ทางเพศ ความลับเฉพาะ
ทางสังคม รูปเคารพ
ทางการผดบงตน ปราสาท
ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 5คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
ภาวะมั่นคง
ในเวลาสบายใจจมั่นคง เขาจจะ
สามารถตัดสินใจจนาทาง
มบ่งมั่นมีจจบดหมาย แสดงตนเอง
อย่างตรงไปตรงมา และรับรู้
ความโกรธของตนเอง ทาให้ดู
เปนนเจจ้านาย ชอบสั่งการ
ภาวะเสี่ยง
หากถูกบีบบังคับให้ต้องเผชิญ
กับความรู้สึกหรือเหตบการณ์ที่
ฉับพลันทันที เขาจจะเกิดความ
กดดัน เครียดและเมื่อความ
กลัวมีมากขึ้นจจนต้านทานไม่
ไหว จจะสอดส่ายหาทางหนีจจาก
สถานการณ์นั้นด้วยกลยบทธ์
ต่างๆ ที่เปนนไปได้ ไม่ผูกมัดตัว
เข้ากับพันธกรณีใดๆ
สื่อสารแบบคน 5
• ยิ่งถอยหนี ยิ่งโดนไล่ จจงบอกความรู้สึก แม้เพียงต้องการที่ทางส่วนตัว
• บอกให้คนอื่นรู้ว่าคบณต้องการเวลาและพื้นที่ส่วนตัวในการไตร่ตรองก่อนตัดสินใจจ
• คบณไม่ใช่ไม่มีความรู้สึก แต่ยากที่จจะแสดงออกมาในขณะนั้น
• จจัดสรรเวลาที่ชัดเจจนในการอภิปราย
• ถ้ารู้สึกว่าถูกเรียกร้อง บอกถึงผลกระทบที่มีต่อตัวคบณ
• ตอบสนองต่อความรู้สึกเช่นเดียวกับเหตบผล เพื่อให้เขาไม่รู้สึกถูกมองข้าม
สื่อสารกับคน 5
• เขาเปนนคนอ่อนไหวง่ายมากต่อท่าทีของคบณและจจะถอยห่างทันที ถ้าดูเหมือนคบณไม่ไยดีหรือเปนนมิตร
• จจาไว้ว่าเปนนเรื่องยากที่เขาจจะแสดงความรู้สึกออกมา
• เคารพในขอบเขตของเขา
• บอกล่วงหน้าถ้าจจะต้องการคบยกับเขา
• ให้เวลาเขาตัดสินใจจตามลาพัง
• การเงียบไม่ใช่การปฏิเสธ
• ตรงไปตรงมา สื่อสารข้อเทนจจจจริง แสดงความรู้สึกแต่พอควร
• ถ้าต้องการขออะไร ใช้ประโยคขอร้อง ไม่ใช่เรียกร้อง
• ถ้าเขาแสดงความหยิ่ง เหินห่าง หรือหงบดหงิด แสดงว่าเขาอึดอัด หรือไม่สะดวกใจจ
สิ่งที่คน 5 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต
ฝึกการทากิจจกรรมทางกาย เพื่ดึงจจิตใจจให้มาอยู่กับร่างกายมากขึ้น แทนที่จจะอยู่ใน
ความคิด
เข้ากลบ่มที่ได้มีโอกาสเปิดเผยตนเอง
รับรู้ความรู้สึกและอารมณ์ทางกาย ณ ปัจจจจบบันที่กาลังเกิดขึ้นจจริง
ปลูกฝังพฤติกรรม “ที่นี่และเดี๋ยวนี้” อยู่กับปัจจจจบบัน
อนบญาตให้ตัวเองฟบ่มเฟือย ถ้าเปนนนักสะสมให้สารวมความอยาก
เรียนรู้ที่จจะยืนหยัดบนจจบดยืนของตนโดยไม่ถอยหนี ให้คนอื่นเหนนและรู้ว่า “มีเรา”
คน 6 นักปุจฉา (THE QUESTIONER)
• จจงรักภักดี ทางานอย่างหนัก พึ่งพาได้ ระมัดระวัง ชอบ
เปนนผู้ร่วมทีมมากกว่าเปนนผู้นา
• ไม่ไว้วางใจจ มีกรอบความคิดที่เตนมไปด้วยความสงสัย
• เตรียมตัวให้พร้อมกับสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สบด
• ขี้ระแวง/รอบคอบ
• ลังเลสงสัย
• เหยื่อที่จจนมบม VS กระต่ายตื่นตูม
ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้
ทางความคิด ความลังเลสงสัย และความขี้ขลาด ศรัทธา
ทางอารมณ์ ความกลัง ความกล้าหาญ
จุดเน้นของลักษณ์ย่อย
ทางเพศ ความเข้มแขนง/ความงาม
ทางสังคม หน้าที่
ทางการผดบงตน ความอบอบ่นเพื่อถอดเขี้ยวเลนบผู้อื่น
ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 6คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
ภาวะมั่นคง
เมื่อชีวิตมั่นคง เขาจจะปล่อย
ตัวเองสบายๆ นบ่มนวล อบอบ่น
น่ารัก หรือยากจจะติดต่อ
สัมพันธ์กับใครๆ สบขสบายกับ
การไม่ต้องตื่นตัวคอยระวัง
หรือตั้งคาถามกับอะไร แต่กนจจะ
อยู่ไม่นาน เพราะถ้าราบรื่นไม่
มีอะไรชวยให้สงสัยจจะเปนนการ
ไม่ปลอดภัย
ภาวะเสี่ยง
ในยามเครียดหรือไม่สบายใจจ
เขาจจะสนบกหรือบบกตะลบยกับ
การทางานอย่างจจริงจจัง ลด
ความกลัวลง สามารถจจัดการ
กับความสาเรนจจได้โดยง่าย เลิก
นิสัยล่าช้าผัดผ่อน สามารถใช้
จจินตนาการทางานให้เสรนจจได้
สื่อสารแบบคน 6
• ตรวจจสอบความจจริงโดยถามคนอื่นว่าเขาคิดอย่างไร
• คบณมีแนวโน้มจจะคาดการณ์ เวลามั่นใจจในสิ่งที่ไม่ดี ถามตัวเองว่าคบณตอบสนองต่อสัญญาณอะไร
• บอกคนอื่นว่าคบณรู้สึกอย่างไร พร้อมกับการสนับสนบนช่วยเหลือของเขาด้วยการกระทา
• บางคนต้องการการติดต่ออย่างสม่าเสมอเพื่อพิสูจจน์ความน่าเชื่อถือและมิตรภาพของคบณเอง
• บอกคนอื่นว่าคบณมีแนวโน้มที่จจะหวั่นไหวเรรวน
สื่อสารกับคน 6
• เขาไว้ใจจคนยาก มีแต่ความลังเลสงสัย
• ฟังและแสดงให้เหนนว่าคบณเข้าใจจเขา
• พูดด้วยความจจริงที่ถูกต้องและชัดเจจน
• การกระทาสาคัญกว่าคาพูดเพื่อประกอบการแสดงความรู้สึก
• ให้เขาสารวจจความจจริงของเขาและช่วยให้เขาหลบดออกจจากจจินตนาการคาดการณ์ต่างๆ
• อย่าวิพากษ์วิจจารณ์หรือตัดสินความกลัวของเขา
• มองในด้านดี มีอารมณ์ขัน
สิ่งที่คน 6 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต
ฝึกให้ร่างกายรู้ตัวพร้อม ปล่อยวางและผ่อนคลาย
สร้างสมดบลของการเติบโตจจากสมองและเหตบผล ร่วมกับวิถีการรับรู้ทางกาย
สังเกตเมื่อเกิดความคิดระแวงแคลงใจจ และโยนความกลัวออกไป
หมั่นถามเพื่อนให้เขาสะท้อนความเหนนกลับมาเพื่อตรวจจสอบความระแวงของตน
ชื่นชมยินดีกับความสาเรนจจ/ความชานาญเก่าและใหม่ของตัวเอง
ฝึกไว้ใจจและศรัทธาในผู้อื่น
คน 7 นักผจญภัย (THE ADVENTURE)
• มองโลกในแง่ดีอยู่เสมอ ร่าเริง เบิกบาน มีพลัง มีเสน่ห์
ชอบเข้ากลบ่ม มีจจินตนาการสูง ความสนใจจมี
หลากหลาย
• ไม่อดทนต่อความเจจนบปวด แลดูฉาบฉวย สบขนิยม
• ชอบทางเลือกที่มีหลากหลาย ชอบสร้างเครือข่าย ทา
อะไรได้หลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน
• ฝันและริเริ่ม
• สนใจจความต้องการและความพึงพอใจจของตนเอง
• มองโลกเปนนสนามเดนกเล่นอันกว้างใหญ่โดยมีตัวเอง
เปนนศูนย์กลาง ที่กาลังทดลองเล่นตามความพอใจจ
ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้
ทางความคิด การวางแผน การทางาน
ทางอารมณ์ ความละโมบ ความไม่มัวเมา
จุดเน้นของลักษณ์ย่อย
ทางเพศ ความหลงใหล ตรึงใจจ
ทางสังคม ความเสียสละ
ทางการผดบงตน ความมีพวกมีเหล่า
ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 7คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
ภาวะมั่นคง
ยามมั่นคงในจจิตใจจ เขาจจะมี
ความสบขกับการใช้เวลาตาม
ลาพัง หลีกหนีจจากคนอื่น หรือ
พอใจจกับการเล่นบทรอง
ภาวะเสี่ยง
จจะเกิดความเครียดเมื่อมีกรอบ
หรือเส้นแบ่งเขตที่ชัดเจจนขึ้นมา
หรือเหตบการณ์ที่ต้องเผชิญกับ
อารมณ์ ความกลัวการถูก
ตาหนิ วิจจารณ์ หรือทาผิด จจน
กลายเปนนเรื่องรบนแรงขึ้นและ
เข้าสู่ระดับจจิตสานึก ทาให้
หงบดหงิดง่ายขึ้น จจบกจจิก กัด
โกรธทบกอย่างที่มาก้าวก่ายหรือ
ติเตียนเขา เขาจจะติเตียนตัวเอง
หรือตั้งมาตรฐานสูงมากขึ้น
สื่อสารแบบคน 7
• ฟังใครๆ เขาบ้าง ความคิดเหนนและความรู้สึกของคนอื่นอาจจจจริงเท่าๆ กับของคบณ
• ถ้าเขาก่อนว่าเขาต้องการคาแนะนาหรือความช่วยเหลือของคบณหรือไม่
• บอกคนอื่นว่าเปนนการยากที่คบณจจะพูดเรื่องความรู้สึกและเรื่องสาคัญทางอารมณ์
• ตรวจจสอบให้ดีว่าคบณได้เล่าเรื่องที่คบณจจินตนาการสมบูรณ์แล้วให้คนอื่นฟัง อย่าคิดว่าได้บอกไปเรียบร้อย
แล้ว
• บอกคนอื่นก่อนที่จจะปรับปรบง หรือเปลี่ยนเป้าหมายก่อนที่จจะลงมือทา
• ถ้ามอบหมายอะไรแล้ว ค่อยๆ แนะนาเขา อย่าผลีผลามลงไปทาเอง
สื่อสารกับคน 7
• จจับเขาให้อยู่กับปัจจจจบบัน ด้วยคาถาม รวมถึงการพูดอารมณ์ของเขาด้วย
• มีส่วนร่วมในการสนทนาแบบสบายๆ
• ตั้งใจจฟังและชื่นชมวิสัยทัศน์ที่ยิงใหญ่ของเขา เขากาลังแบ่งปันส่วนหนึ่งของความเปนนตัวเขา
• อย่าใส่ความคิดของคบณที่กระทบแผนงานของเขา ให้เวลาเขาปรับตัวเพื่อรวมความคิดของคบณไว้ในแผน
• อย่าวิจจารณ์หรือสั่งการ แต่พยายามให้ข้อเสนอที่จจะเกิดผลในระยะสั้นและระยะกลาง
สิ่งที่คน 7 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต
สังเกตสิ่งที่ให้เบื่อหน่าย อะไรเปนนสาเหตบให้ตนเองไม่เติบโต และอยู่กับมันอย่างแน่วแน่
หลีกเลี่ยงการทับถมตัวเอง และยกย่องคนอื่นสาคัญกว่า ฉลาดกว่า เก่งกว่า
สังเกตตนเองเมื่อกาลังตกลงใจจหรือคัดค้าน ถามตัวเองว่ากาลังคิดอะไร
ฝึกถามตัวเองว่าอะไรสาคัญสาหรับตัวเรา
สังเกตความดื้อรั้น หรือต่อต้านเงียบๆ แล้วเริ่มพูดว่าเราไม่เหนนด้วยตรงไหน
เรียนรู้ที่จจะพูดคาว่า “ไม่เอา” ต่อสิ่งใหม่ๆ ที่คิดจจะผูกพัน
คน 8 เจ้านาย (THE BOSS)
• มีพลัง เอาจจริงเอาจจัง ชอบสั่งการ เปนนเจจ้าใหญ่นายโต
เปนนนักอภิบาล เจจ้าทิฐิ กล้าได้กล้าเสีย ชอบเปนนหัวเรือ
ใหญ่
• ทางานหนัก เล่นหนัก ชอบเปนนหัวเรือใหญ่ของทบกเรื่อง
ที่ไปเกี่ยวข้องด้วย
• ตรงไปตรงมาจจนดูเหมือนก้าวร้าว ยบติธรรม กัดไม่
ปล่อย
• โต้ตอบอย่างทันทีทันใด โกรธง่าย
• เรียกร้องความจจริงและการแก้ปัญหาที่แจจ่มแจจ้ง
• “ฉันอาจจผิดพลาดแต่ฉันไม่มีวันลังเลสงสัย”
ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้
ทางความคิด การแก้แค้น สัจจจจะ
ทางอารมณ์ ความกาหนัดในพลังชีวิต ความไร้เดียงสา รับรู้ว่าโลกปลอดภัย
จุดเน้นของลักษณ์ย่อย
ทางเพศ การครอบครองและการยอมจจานน
ทางสังคม มิตรภาพ
ทางการผดบงตน ความพออยู่รอด
ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 8คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
ภาวะมั่นคง
เวลาสบายใจจหรือมี
ความสัมพันธ์ที่วางใจจได้ จจะ
โอนอ่อนผ่อนตาม พอใจจที่จจะ
ให้ ชอบบริการ มีอารมณ์
ทางบวกได้ง่าย ยอมรับว่าอะไร
มีความหมายต่อเขา จจะมี
ความสบขกับการเปิดเผยตัวเอง
มากขึ้น แต่กนแอบหวั่นว่าจจะไม่
เปนนไปอย่างที่คิดไว้ จจนอาจจ
แสดงความก้าวร้าวเรื่อง
เรียกร้องตัวตนของตัวเอง
ภาวะเสี่ยง
ในยามที่ควบคบมตนเองไม่ได้
หรือรู้สึกอ่อนแอ หรือกาลัง
เคียดแค้นตัวเอง เขาจจะเกนบตัว
ทั้งกายและใจจเพื่อพิจจารณา
ใคร่ครวญเรื่องต่างๆ และหา
สมดบลกลับคืนมา บางครั้งอาจจ
ยาวนานจจนทาให้กลายเปนน
ความเศร้า หดหู่ ไม่มีแรงจจะทา
อะไร ไม่ติดต่อใคร ตัดสินใจจ
ไม่ได้ว่าจจะคิดหรือทาอะไร
สื่อสารแบบคน 8
• เมื่อคบณขึ้นเสียงดัง ทาให้คนอื่นไม่ฟัง คบณมักจจะส่งเสียงที่ดังกว่าที่คิด
• แทนที่จจะพูดด้วยเสียงที่ดังขึ้น ช่วยขอให้คนอื่นทาให้กระจจ่างโดยบอกตามความเข้าใจจของคบณ
• คาถามมากมายของคบณมีเพื่อทาความเข้าใจจ ไม่ใช่ทาให้เครียดราคาญ
• ฟังคนอื่นพูดอย่างตั้งใจจ และเอาใจจใส่ ไตร่ตรองข้อคิดของเขาก่อนที่จจะตอบ
• อย่าไปเซ้าซี้เอาให้ได้ เดี๋ยวนี้ให้เวลาเขาตรึกตรองบ้าง
• หากพูดแล้วบาดความรู้สึกของใคร ขอโทษเขาเสียทันทีที่รู้ตัว
สื่อสารกับคน 8
• พูดตรงๆ ต้องการอะไรกนบอกไปตรงๆ อย่าอ้อมค้อม
• ถ้าบอกเขาไว้ว่าจจะทาอะไรเลย จจงทาเลย
• ใช้คาพูดที่สั้นกะทัดรัด
• บอกเขาหากคาพูดของเขาแรงเกินไป หรือทาให้คบณรู้สึกถูกคบกคาม
• หากคบณมีกฎเกณฑ์ในการสร้างสัมพันธภาพที่ยังไม่ได้บอกเขา บอกเขาอย่างเตนมใจจ
• เขาง่ายต่อการถูกหลอก แต่ไม่ง่ายที่จจะให้อภัย ถ้าถูกทาให้อับอาย
สิ่งที่คน 8 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต
สารวจจพลังของตน โดยเฉพาะเมื่อกระทาตามแรงผลักดัน
ใช้ความโกรธเปนนเครื่องเตือนใจจให้เราผ่อนคลาย หายใจจลึกๆ วันละหลายๆ ครั้ง
ก่อนลงมือกระทาอะไร ใคร่ครวญในผลที่เกิดขึ้นก่อน และนึกถึงเป้าหมายระยะ
ยาว
ฝึกรอเมื่อมีสิ่งกระตบ้น อย่างเพิ่งวิ่งตามความพอใจจ ช้าลง
จจดจจาและทบทวนสิ่งที่เข้าใจจแจจ่มแจจ้งเกี่ยวกับตนเอง
สังเกตแนวโน้มที่จจะตาหนิคนอื่น และรับรู้การมีส่วนเกี่ยวข้องของตนในสถานการณ์ด้าน
ลบ
คน 9 ผู้สมานไมตรี (MEDIATOR)
• อบอบ่น เปนนมิตร อดทน ใจจกว้าง ใจจดี ไม่ชอบการแข่งขัน
• ชอบชีวิตที่สงบ มีรูปแบบ คาดการณ์ล่วงหน้า และ
สะดวกสบาย
• ช่างพูดคบย ทาตัวกลมกลืนกับผู้คน ชอบอยู่กับผู้คน
• ยากที่จจะรู้ลาดับความสาคัญของตนเอง และมักจจะเหนน
ดีเหนนงามกับความประสงค์ของผู้อื่น บางครั้งจจะพูด
ด้วยสาเนียง ศัพท์ หรือภาษาท่าทางของคนอื่นๆ
• มีผลงานมากเมื่อทางานเพื่อคนอื่น
• เวลาหมดไปกับสิ่งที่ไม่สาคัญ มีความสนใจจใหม่ๆ
เกิดขึ้นเสมอ
ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้
ทางความคิด ความเกียจจคร้าน ความกรบณา
ทางอารมณ์ ความเฉื่อยชา การกระทา
จุดเน้นของลักษณ์ย่อย
ทางเพศ ความเข้ากันเปนนหนึ่งเดียว
ทางสังคม การมีส่วนร่วม
ทางการผดบงตน ความอยากเสพ
ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 9คน ๙
ผู้สมานไมตรี
คน ๑
คนสมบูรณ์แบบ
คน ๒
ผู้ให้
คน ๓
นักแสดง
คน ๖
นักปุจฉา
คน ๗
นักผจญภัย
คน ๘
เจ้านาย
คน ๔
คนโศกซึ้ง
คน ๕
นักสังเกตการณ์
ภาวะมั่นคง
ในยามที่เขาได้รับการยอมรับ
หรือเหนนคบณค่า เขาจจะทาอะไร
ได้สาเรนจจอย่างมากมายในเวลา
ที่รวดเรนว กระตือรือร้นที่จจะทา
สิ่งต่างๆ และแสดง
ความสามารถให้ปรากฎตาม
ความต้องการของคน
อื่น
ภาวะเสี่ยง
ในยามที่ถูกสถานการณ์
ผลักดันบีบบังคับให้ต้องเลือก
จจบดยืนใดจจบดยืนหนึ่ง เขาจจะ
หวาดกลัว ระแวงสิ่งที่อาจจเข้า
มาคบกคาม หากไม่กลายเปนน
คนเกนบตัวถอยหนีและยอม
ตามมากขึ้น กนจจะกลายเปนนคน
หัวแขนงดื้อรั้นมากขึ้น และ
พร้อมที่จจะเปิดสงคราม
สื่อสารแบบคน 9
• บอกให้คนอื่นรู้ว่าอะไรกาลังเกิดขึ้นกับตัวคบณเมื่อไม่รู้ว่ารู้สึกหรือต้องการสิ่งใด
• สังเกตตัวเองเมื่อเกิดอาการ “ดื้อเงียบ” และสื่อสารจจบดยืนของคบณให้คนอื่นได้รู้
• เวลาโกรธให้รีบบอก
• ถ้าใครถามว่าโกรธหรือเปล่า อย่ารีบตอบให้พิจจารณาความรู้สึกให้ดีเสียก่อน
• ถ้าคิดว่าไม่มีใครได้ยินสิ่งที่คบณพูด ให้บอกตรงๆ ไปเลย อย่าพยายามอธิบายจจนยืดยาวเยิ่นเย้อเกินไป
• เกาะติดประเดนน
• ตอบให้ตรงประเดนนที่คนอื่นต้องการ ไม่ต้องอ้อมค้อม
สื่อสารกับคน 9
• ฟังและทาให้เขารู้ว่าคบณได้ยินแล้วว่าอะไรสาคัญสาหรับตัวเขา
• ช่วยตั้งคาถามว่าเขามีความคิดเหนนอย่างไร
• ช่วยตั้งคาถามเพื่อช่วยให้เขาจจับประเดนน
• อย่าเร่งเร้าเอาคาตอบจจากเขา ปล่อยเวลาให้ได้ตรึกตรอง
• เขามักเออออกับทบกคน บอกเขาล่วงหน้าการตัดสินใจจอะไร เพื่อให้เขาได้ใช้เวลาตรึกตรองมากขึ้น
สิ่งที่คน 9 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต
ฝึกตัวให้ตัดสินใจจเลือกข้างใดข้างหนึ่ง และกล้าประกาศออกมา
หลีกเลี่ยงการทับถมตัวเอง และยกย่องคนอื่นสาคัญกว่า ฉลาดกว่า เก่งกว่า
สังเกตตนเองเมื่อกาลังตกลงใจจหรือคัดค้าน ถามตัวเองว่ากาลังคิดอะไร
ฝึกถามตัวเองว่าอะไรสาคัญสาหรับตัวเรา
สังเกตความดื้อรั้น หรือต่อต้านเงียบๆ แล้วเริ่มพูดว่าเราไม่เหนนด้วยตรงไหน
เรียนรู้ที่จจะพูดคาว่า “ไม่เอา” ต่อสิ่งใหม่ๆ ที่คิดจจะผูกพัน
สมดุลของนพลักษณ์
๙
๑
๒
๓
๔๕
๖
๗
๘
ฐานกาย
ฐานใจจฐานสมอง
Transformation Process
การค้นพบ
ความตระหนักรู้
ความเข้าใจจการแปรเปลี่ยน
การเยียวยา
สิ่งที่อยากให้ค้นพบ: “กล่องแห่ง
ปัญญา”
ความรู้สึกถึงคบณค่าในตัวเอง
ความหวังใจจ
การยอมรับในตนเอง
ความมีอานาจจ
ความสามารถในการรับผิดชอบและตัดสินใจจได้
“โลกใบนี้น่าอยู่มากขึ้น เพราะว่ามีฉัน
่
ราคาที่เราต้องจ่ายหากเราไม่
เปลี่ยนแปลง
ความเจจนบป่วย
ความรู้สึกผิด
การขาดความสัมพันธ์ใกล้ชิด
ความสาเรนจจ
ความรื่นรมย์ความเชื่อพื้นฐาน
ทุกคนในโลกนี้สามารถเปลี่ยนแปลงด้านในได้ทั้งสิ้นไม่ว่าสภาวะภายนอกจะ
เป็นเช่นไร
เราสามารถเติมเต็มในสิ่งที่ตนเองต้องการ และสามารถใช้ตนเองได้อย่างมี
โมเดลแห่งการเติบโตของ
Virginia Satir
ความเรามีวิธีการรับรู้โลกตามโมเดลแห่งการเติบโต การประเมินการมองโลกของเรา
นั้นสามารถประเมินได้จจาก 4 ด้าน คือ
เราให้คานิยามการมีความสัมพันธ์อย่างไร
เราให้คานิยามของบบคคลอย่างไร
เราอธิบายเหตบการณ์ใดเหตบการณ์หนึ่งอย่างไร
เรามีทัศนคติอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลง
มุมมอง 2 ด้าน
โมเดลการแบ่งลาดับชั้น
โมเดลแห่งการเติบโต
1. นิยามของความสัมพันธ ์
• บทบาทที่แตกต่างกันของความสัมพันธ์: พ่อ-ลูก เจจ้านาย-ลูกน้อง พระ-ลูกวัด
ครู-นักเรียน
ความรู้สึก
•ว่างเปล่า
•กลัว
•หมดหนทาง
ภาษากาย
•การปลอบใจจ
•ดาหนิ
•เจจ้าเหตบผล/เฉไฉ
รูปแบบ
เหนือกว่า-ยอม
ตาม
•รับรู้และยอมรับความเท่าเทียมใน
คบณค่าของปัจจเจจกบบคคล
•คนเรามีความแตกต่าง แต่มี
ความสามารถที่จจะเปนนผู้ที่สมบูรณ์
พร้อมได้ แต่เราไม่ค่อยใช้
ความสามารถนั้น
บุคคลเท่าเทียมกับ
บุคคล
ขจจัดอบปสรรคด้วยการ
เปลี่ยนความเชื่อ
โมเดลการแบ่งลาดับชั้น โมเดลแห่งการเติบโต
คนเรามีคบณค่าไม่เท่าเทียมกัน คนเรามีคบณค่าเท่าเทียมกัน
คนหนึ่งเหนือกว่าและยอมตามอีกคนหนึ่ง ความสัมพันธ์อยู่ระหว่างความเท่าเทียมกันในคบณค่า
บทบาทหรือสถานภาพนั้นสับสนและปะปนกับความ
เปนนตัวเอง
บทบาทและสถานภาพแตกต่างไปจจากความเปนน
ตัวเอง
บทบาทแสดงนัยบอกถึงความเหนือกว่าและอานาจจ
หรือสถานะที่ต่าต้อยและไร้อานาจจ
บทบาทบอกถึงนัยหน้าที่ในความสัมพันธ์
เฉพาะเจจาะจจง ณ ช่วงเวลาหนึ่ง
มบมมองแบบลาดับชั้นแสดงนัยถึงความเหนือกว่าและ
ยอมตาม
ความเท่าเทียมกันแสดงออกมาในความเท่าเทียมกัน
ของคน การเชื่อมโยงกัน ความสนใจจและการยอมรับ
ต่อความเหมือนและความแตกต่าง
คนเรามีอานาจจเหนือคนอื่นแต่รู้สึกโดดเดี่ยว กลัว โกรธ
ขบ่นเคือง แปลกแยก และไม่ไว้วางใจจใคร
คนเรารู้สึกได้ถึงความรัก ความเปนนเจจ้าของตัวของ
ตัวเอง การเคารพผู้อื่น อิสรภาพในการแสดงออก และ
ความมีคบณค่า
ขจจัดอบปสรรคด้วยการ
เปลี่ยนความเชื่อ
2. นิยามของบุคคล
• ความคาดหวังว่า “ฉันน่าจจะเปนนแบบอื่น”
• มีกฎ กติกา ตัวชี้วัด ว่า “ฉันควรจจะเปนนอย่างนั้น”
ฉันผอมไป
ฉันอ้วนไป
ฉันโง่เกินไป
เข้าไป
คับไป
หลวม
ไป
คนเราทบกคนมีลักษณะ
เฉพาะตัวในส่วนประกอบของ
ความเปนนมนบษย์ของเขาและ
เธอที่มีความเหมือน/ความ
ต่าง แต่กนยังคงมีสิ่งที่เหมือนกัน
คุณค่าของความเป็ น
มนุษย์
โมเดลการแบ่งลาดับชั้น โมเดลแห่งการเติบโต
คนเราจจาเปนนต้องยอมตามและเชื่อฟัง
“ควรจจะ...” เปนนการเอาตัวรอดและการยอมรับทั้ง
ทางด้านร่างกายและจจิตใจจ
คนแต่ละคนมีเอกลักษณ์และความสามารถให้
ความหมายของเขาหรือเธอจจากจจบดแขนงและความมี
คบณค่าภายในของตนเอง
คนเราเกิดมาพร้อมกับความโน้มเอียงที่จจะเปนนคนชั่ว
ร้ายได้
คนเรามีพื้นฐานทางจจิตวิญญาณที่ดีและควรแก่การ
เคารพมาตั้งแต่กาเนิด และพวกเขาแสดงให้เหนนถึง
พลังชีวิตที่เปนนสากล
คนเราถูกคาดหวังให้คิด รู้สึกและทาเหมือนๆ กัน และ
มีชีวิตขึ้นอยู่กับมาตรฐานภายนอกด้วยการแข่งขัน การ
ตัดสินใจจ การปลอบใจจ และการเลียนแบบ
ด้วยการผสมผสานและการยอมรับความเหมือนและ
ความแตกต่างได้ คนเราจจึงยินดีในการค้นพบตัวตน
ของตนเอง และของคนอื่นด้วยการร่วมมือกัน การ
สังเกต และการแบ่งปัน
คนเราลดค่าหรือปฏิเสธเรื่องความรู้สึก และความ
แตกต่างของพวกเขา
คนเราพูดถึงความรู้สึกต่างๆ และยอมรับกับความ
แตกต่างได้
3. นิยามของเหตุการณ์
• ในวัฒนธรรมแบบอานาจจนิยมนั้น จจะยึดถือระบบความสัมพันธ์แบบเหนือกว่า/ยอม
ตาม โดยจจะอธิบายเหตบการณ์หนึ่งๆ โดยเชื่อว่ามีหนทางที่ถูกต้องเพียงหนทางเดียว
และอะไรที่เกิดขึ้นกนจจะมาจจากสาเหตบเดียว จจึงมบ่งหา “ทางออกเดียว” สาหรับแต่
ละปัญหา
ต้องทาแบบ
นี้สิ
โมเดลการแบ่งลาดับชั้น โมเดลแห่งการเติบโต
ก ทาให้เกิด ข ในแนวตรง แบบเหตบทาให้เกิดผล เหตบการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้น เปนนผลมาจจากหลายปัจจจจัย
และหลายเหตบการณ์
ก = ข + ค + ง ..... ฯลฯ
มีวิธีการที่ถูกต้องอยู่วิธีเดียวที่ถูกต้องเท่านั้น ในการทา
บางสิ่งบางอย่าง และคนที่เหนือกว่ารู้ว่ามันคือวิธีไหน
วิธีการมีอยู่มากมาย และเราสามารถใช้เกณฑ์ของเรา
เองในการเลือกวิธีการ
คนเราปฏิเสธประสบการณ์ของตนเอง เพื่อที่จจะยอมรับ
ฟังเสียงของผู้ที่มีอานาจจ
คนเรามองได้ลึกไปกว่าเหตบการณ์ที่ปรากฏให้เหนน
เพื่อที่จจะเข้าใจจบริบทที่แวดล้อมของเหตบการณ์นั้น และ
ปัจจจจัยที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
คนคิดเช่น “มันกนเปนนอย่างนั้นแหละ” และ “มันเปนนสี
ขาวหรือดา” ก่อให้เกิดการครอบงาและปิดกั้น
ความคิดริเริ่ม และการค้นพบ
การคิดทบทวนและการใช้วิธีการที่เปนนระบบ (การ
กระทา-การโต้ตอบ-ปฏิกิริยาระหว่างกัน) ก่อให้เกิด
ความเกี่ยวเนื่อง การค้นพบข้อมูล การลาดับ และ
ความเชื่อมโยง
4. ทัศนคติต่อการเปลี่ยนแปลง
• การเปลี่ยนแปลงเปนนสิ่งสาคัญและเลี่ยงไม่ได้
• ชีวิตมีทางเลือกที่หลากหลายและสนับสนบนให้เราสมัครใจจเสี่ยงอย่างไว้วางใจจ
ความคุ้นชิน
ฉันเป็ นคนแบบนี้แหละ
ฉันชอบ....
ฉันทา....ได้ดี
โมเดลการแบ่งลาดับชั้น โมเดลแห่งการเติบโต
ความมั่นคง จจึงต้องการรักษาสภาวะที่คงที่เอาไว้ ความมั่นคงเติบโตจจากความเชื่อมั่นในกระบวนการ
ของการเปลี่ยนแปลง และการเติบโต
คนเรามองเหนนการเปลี่ยนแปลงว่าเปนนสิ่งที่ไม่พึง
ปรารถนา และผิดปกติ ดังนั้นพวกเขาจจึงปฏิเสธและ
ต่อต้านมัน
คนเรามองการเปลี่ยนแปลงว่าเปนนเรื่องที่เกิดขึ้นเสมอ
สาคัญและไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้นคนจจึงเปิดรับ
และคาดหวังกับมันได้
ให้คบณค่ากับความคบ้นชินมากกว่าความสบขสบาย
ถึงแม้ราคาของมันจจะเปนนความเจจนบปวด
คนเรามองความไม่สบขสบายหรือความเจจนบปวดว่าเปนน
สัญญาณสาหรับการเปลี่ยนแปลง
คนเรากลัวสิ่งที่ไม่รู้ คนเราเสี่ยงและแสวงหาโอกาสที่จจะเคลื่อนไปสู่สิ่งที่ไม่
รู้
คนเราตัดสินการเปลี่ยนแปลงว่าเปนนเรื่องผิดหรือถูก คนเรายินดีต่อการค้นพบทางเลือกและวิธีการใหม่ๆ
คนเรารู้สึกกลัวและกังวลเมื่อเผชิญหน้ากับโอกาสการ
เปลี่ยนแปลง
คนเรารู้สึกได้ถึงความตื่นเต้น ความเชื่อมโยง และ
ความรักเมื่อพวกเราเผชิญหน้ากับโอกาสของการ
Feelings
Perception
s
Expectation
s
Yearning
Self
Actions
Behaviors
Coping
stances
Coping
stances
Placating
Blaming
Super-
reasonable
Irrelevant
Blaming stance
• เปนนการสะท้อนกฎของสังคมที่ให้เราลบกขึ้นสู้เพื่อตัวเราเอง และไม่ยอมรับการแก้จจัว
ความไม่สะดวกสบาย หรือหารหลอกใช้จจากผู้อื่น เราจจะต้องไม่อ่อนแอ ด้วยการ
ปกป้องตัวเอง จจนอาจจะกลายเปนนการรังควานและกล่าวโทษผู้อื่น หรือสภาพแวดล้อม
ให้คบณค่าเฉพาะแก่ตัวเองและบริบท โดยลดค่าของผู้อื่นลง
• การกล่าวโทษคนอื่นทาให้เราตัดขาดความสัมพันธ์กับคนรอบตัว และเมื่อเริ่มตระหนัก
ในความโดดเดี่ยว กนมักจจะบอกกับตัวเองว่า ถ้าไม่ใช่เพื่อคนอื่นแล้ว เรากนคงสบายดี
• เราจจะมีท่าทียืนหลังตรง ชี้นิ้วเหยียดไปที่คนๆ หนึ่ง เพื่อที่จจะทาให้คนๆ นั้นกลัวเรา ก้าว
เท้าข้างหนึ่งไปข้างหน้า และเพื่อรักษาสมดบลของร่างกายเราจจะเอามือเท้าสะโพกไว้
ใบหน้าจจะเขมนง ขมวดคิ้ว เกรนงกล้ามเนื้อใบหน้า ซึ่งแม้เราจจนทรมานแต่เพื่อเอาตัวรอด
กนจจะมีท่าทีเช่นนี้ให้รู้สึกว่าข่มคนอื่นได้
Self
ContextOther
“ฉันจจะฟาดแกให้ตายเลย เพราะแกคน
เดียวที่ทาให้ฉันวบ่นวายไปหมดแบบนี้”
“เธอต้องทาแบบนี้!...เข้าใจจไหม?”
ถ้อยคา การแสดงออกทางอารมณ์ พฤติกรรม
ไม่เหนนด้วย:
“เธอไม่เคยทาอะไรถูกต้องเลยสักอย่าง”
“เธอจจะอยู่ยังไงถ้าไม่มีฉันคอยบอกแบบนี้”
“มันเปนนความผิดของเธอที่ทาให้เปนนแบบนี้”
กล่าวโทษ
“ที่นี่ฉันเปนนใหญ่ (ถูกเสมอ)”
วางท่าแสดงอานาจจ ท่าทีเขมนงเกรนง ใบหน้า
แขนงกร้าว
โจจมตี
ตัดสิน
บงการ
จจับผิด
ประสบการณ์ของโลกภายใน ผลต่อจิตใจ ผลต่อร่างกาย
แยกตัว
“ฉันเหงา และไม่ประสบความสาเรนจจเลย”
หวาดระแวง เกเร มีแนวโน้มที่จจะแสดงออก
ด้วยการใช้ความรบนแรง
ปัญหาระบบไหลเวียนโลหิต ความดันโลหิต
สูง โรคข้ออักเสบ หอบหืด กล้ามเนื้อตึงเกรนง
ปวด
มองข้ามคนอื่น
การตอบสนองแบบกล่าวโทษ
ขุมทรัพย์: แน่ว
แน่ กล้า
แสดงออก
Placating stance
• เมื่อเรายอมตามกนเหมือนกับว่าเราไม่คานึงถึงความรู้สึกทั้งหลายเกี่ยวกับการมี
คบณค่าของเรา ส่งมอบอานาจจของเราให้แก่คนอื่น และตอบรับในทบกๆ เรื่อง จจนอาจจ
กลายเปนนการปฏิเสธความนับถือในตนเอง ส่งสารไปยังผู้อื่นว่าตัวเรานั้นไม่มี
ความสาคัญ
• เมื่อเรายอมตามเราจจะฝืนทาดีกับคนอื่น โดยซ่อนอาการกัดฟันแน่น และโกหกได้
อย่างแนบเนียน อาจจรีบร้อนเข้าไปแก้ปัญหา ให้เวลา เงินทอง แม้กระทั่งชีวิตเพื่อให้
ปัญหาบรรเทาเบาบางลง
• เราจจะคบกเข่ากับพื้น ยกมือข้างหนึ่งและยื่นออกในท่าทีของการวิงวอน มืออีกข้าง
หนึ่งวางบนหัวใจจ หรืออาจจจจะคบกเข่าลง วางมือข้างหนึ่งยันพื้นเพื่อช่วยพยบงตัว ส่วน
มืออีกข้างหนึ่งปัดป้องการถูกตี
Self
ContextOther
“ฉันไม่มีค่า ฉันไม่น่ารัก”
“ฉันควรทาดีกับคนอื่นเสมอ”
“ฉันไม่ควรทาให้คนอื่นโกรธ”
“มันเปนนความผิดของฉันเอง”
ฉันต้องการที่จจะทาทบกอย่างเพื่อคบณ ถ้าคบณเหนน
ฉันปกป้องหัวใจจ คบณอาจจไม่ฆ่าฉันกนได้
การตอบสนองแบบยอมตาม
ถ้อยคา การแสดงออกทางอารมณ์ พฤติกรรม
การเหนนด้วย:
“ฉันผิดเองนั่นแหละ”
“ฉันจจะเปนนอย่างไรถ้าไม่มีเธอ”
“ฉันนอยู่ที่นี่เพื่อให้เธอมีความสบข”
การวิงวอน
“ฉันไม่ได้รับความข่วยเหลือ”
ท่าทางและนาเสียงอ้อนวอน ท่าทีของ
ร่างกายอ่อนกาลังลง
ผู้เสียสละที่พี่งพิง (dependent
martyr)
ทาตัว “ดีเกินไป”
ขอโทษ แก้ตัว หาข้ออ้าง เสียงแหบแห้ง
วิงวอน ยอมจจานน
ประสบการณ์ของโลกภายใน ผลต่อจิตใจ ผลต่อร่างกาย
“ฉันไม่มีตัวตน”
“ฉันไม่มีคบณค่า
อาการทางประสาท ซึมเศร้า มีแนวโน้มจจะ
ฆ่าตัวตาย
ระบบการย่อยอาหารผิดปกติ โรคกระเพาะ
อาหาร คลื่นไส้ เบาหวาน ไมเกรน ท้องผูก
มองข้ามตนเอง
ขุมทรัพย์:
ความห่วงใย
ความ
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication
Sale person's communication

Contenu connexe

Similaire à Sale person's communication

สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptxตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptxAeKraikunasai1
 
Luangpoo khao
Luangpoo khaoLuangpoo khao
Luangpoo khaoMI
 
พื้นฐานชีวิต 5.pptx
พื้นฐานชีวิต 5.pptxพื้นฐานชีวิต 5.pptx
พื้นฐานชีวิต 5.pptxSunnyStrong
 
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2Prapaporn Boonplord
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง UsaTaraya Srivilas
 
TAEM10:Avoiding_prosecution
TAEM10:Avoiding_prosecutionTAEM10:Avoiding_prosecution
TAEM10:Avoiding_prosecutiontaem
 
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ tassanee chaicharoen
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์shedah6381
 

Similaire à Sale person's communication (20)

สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptxตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
Luangpoo khao
Luangpoo khaoLuangpoo khao
Luangpoo khao
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
Adulthood
AdulthoodAdulthood
Adulthood
 
พื้นฐานชีวิต 5.pptx
พื้นฐานชีวิต 5.pptxพื้นฐานชีวิต 5.pptx
พื้นฐานชีวิต 5.pptx
 
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usa
 
TAEM10:Avoiding_prosecution
TAEM10:Avoiding_prosecutionTAEM10:Avoiding_prosecution
TAEM10:Avoiding_prosecution
 
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
Administration4 M
Administration4 MAdministration4 M
Administration4 M
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
Original psychoanalysis
Original psychoanalysisOriginal psychoanalysis
Original psychoanalysis
 

Plus de Watcharin Chongkonsatit

Plus de Watcharin Chongkonsatit (20)

Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)
 
A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)
 
A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)
 
A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)
 
A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)
 
A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)
 
A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)
 
A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)
 
A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)
 
A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)
 
A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)
 
A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)
 
A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)
 
A Manager's Challenge (5)
A Manager's Challenge (5)A Manager's Challenge (5)
A Manager's Challenge (5)
 
2015 lesson 8 accounting and finance 1
2015 lesson 8 accounting and finance 12015 lesson 8 accounting and finance 1
2015 lesson 8 accounting and finance 1
 

Sale person's communication

  • 1. Watcharin Chongkonsatit M.Ed., Ph.D. Certificate in Health Management Vice Dean (Planning and QA) Faculty of Dental Medicine, RSU
  • 2.
  • 3. ข้อตกลงร่วมกัน •เปิดพื้นที่ มีส่วนร่วม •ใคร่ครวญ ทบทวน (เรื่องราวของตัวเอง) อยู่กับสิ่งที่เปนนอยู่ในปัจจจจบบัน •เคารพตัวเอง เพื่อน และสิ่งแวดล้อม •แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วม •ขอความกรบณางดใช้อบปกรณ์ในการสื่อสาร
  • 4. อิสรภาพ 5 ประการ อิสรภาพที่จจะได้เหนน และได้ยินสิ่งที่เปนนอยู่ตรงนี้ อิสรภาพที่จจะพูดในสิ่งที่คบณรู้สึกและคิด อิสรภาพที่จจะได้รู้สึกอย่างที่คบณรู้สึก อิสรภาพที่จจะร้องขอในสิ่งที่ต้องการ อิสระภาพที่จจะเสี่ยงด้วยตนเอง
  • 5. 2 Types of Knowledge Divergen ce Knowled geConverge nce Knowled ge
  • 7. เสียง “คบณวิจจารณ์ ภายใน” ที่ขัดเรา สร้าง แรงต้านไม่ให้เราก้าวข้าม ขอบ สภาวะขึ้นขอบจจะมีอาการทางร่างกายแสดงให้เหนนอย่าง ชัดเจจน เช่น มือสั่น เหงื่อออก ใจจสั่น บางครั้งอาจจมีอาการ ทางใจจ เช่น เขิน ประหม่า ฯลฯ เพื่อน กัลยาณมิตร เสียงของครูใน ใจจ และความรู้สึกปลอดภัยจจะ สนับสนบนให้ก้าวไปยืนบนขอบ ลองก้าวข้ามออกจจากพื้นที่เดิมๆ ทดลองทาอะไรใหม่ๆ เริ่มทีละ นิดสัก 1% หล่อเลี้ยงความสั่น เสี้ยวเลนกๆ ให้ “พื้นที่ขยายออก” ปมความเจจนบปวดในอดีตจจะเหนี่ยวรั้งให้ก้าวข้ามขอบ ไม่ได้ และกลับมาอยู่ใน “หลุมเสพติด” เช่น FB กิน ดื่ม เที่ยว งาน เกม
  • 9. Learning by doing Experiential learning ACT THINK LEARN WISDOM Concrete experience Discussion & reflection Reflective dialogue Conceptualization Crystalize Application Induction Generalize
  • 11. This slide is intended to leave blank be
  • 13. “ความเป็ น มนุษย์” ในทัศนะของเราคือ….. แขน ขา ตา ใบหน้า หัวใจ มือ สมอง ปอด กล้ามเนื้อ เส้นเลือด ผม ความรัก ความเข้าใจ ความเคารพ อิสระ การยอมรับ ความมั่นคง ความเสมอภาค สัมพันธภาพ
  • 15.
  • 17. Triune brain Reptilian brain Paleo-mammalian complex Neo-mammalian complex Brain step and cerebellum Limbic system Neocortex Fight or flight Emotions, Habits, and Memories Languages, Abstracts, Thoughts, Conciousness Autopilot Decision Reasons, Rationalizes MacLean, Paul D. (1990). The triune brain in evolution: role in paleocerebral functions.
  • 19. โครงสร้างของนพลักษณ์คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย สามเหลี่ยมแห่งการปรับตัว สามเหลี่ยมแห่งพลังสามเหลี่ยมแห่งอบดมคติ
  • 28. ปี ก • ปีกเปนนอิทธิพลเฉพาะตัวบบคคล ไม่สามารถ คาดเดาได้ทั้งรูปแบบและวาระ
  • 29. คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย
  • 30. คน 1 คนเนี้ยบ (PERFECTIONISTS) • วิพากษ์ตนเองและคนอื่นอยู่เสมอ เอาจจริงเอาจจังกับชีวิต เข้มงวด ตัดสินคน บังคับตัวเอง • มักหลบดปากว่า “ควร” “ไม่ควร” “ต้อง” เสมอๆ • มบ่งมั่นให้สิ่งที่ตนเองทาปราศจจากข้อบกพร่อง ลาบากใจจใน การรับคาชมหรือยอมรับในความสาเรนจจ • กลัวความไม่สมบูรณ์แบบจจึงทาแล้วทาอีกเพื่อกันพลาด มี มาตรฐานสูง อ่อนไหวต่อคาติวิจจารณ์ • ยึดมั่นในกฎ มีความรับผิดชอบ เปนนตัวของตัวเอง • สามารถชี้จจบดบกพร่องได้ทันที และบอกได้ว่าจจะต้องแก้ไข อย่างไรให้ถูกต้อง ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้ ทางความคิด ความขัดเคือง ความขบ่นใจจ ความสมบูรณ์แบบ ทางอารมณ์ ความโกรธ ความสงบเยนน จุดเน้นของลักษณ์ย่อย ทางเพศ หึงหวง ทางสังคม ไม่ยืดหยบ่น ทางการผดบงตน กระวนกระวาย/กังวล
  • 31. ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 1คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ ภาวะมั่นคง ปลดปล่อยตัวเองให้รู้สึกผ่อน คลาย โดยอาจจใช้ชีวิตกับกีฬา ธรรมชาติ ลาพัง หรือใช้ชีวิต แบบแหกกฎบ้าง ภาวะเสี่ยง เตนมไปด้วยอบดมการณ์อันร้อน ระอบที่ตอกย้าความเชื่อที่ว่า ความสมบูรณ์พร้อมเปนนสิ่งที่ ไม่สามารถเข้าถึงได้ และเขา เองไม่ควรค่า เอ่อล้นด้วย ความรู้สึกไม่เปนนที่รัก จจึงเกิด ความเศร้า หดหู่ และไม่มีทาง ทาให้ถูกต้องได้อีก
  • 32. สื่อสารแบบคน 1 • เมื่อจจะแนะนาใคร ควรมั่นใจจว่าได้รับทราบสิ่งที่เขาทาดีอยู่แล้วด้วย • ชื่นชมยินดี สรรเสริญคนอื่นบ้าง • ระวังการกระทบกระแทก เยาะเย้ย เวลาที่ตนเองสะเทือนใจจ หรือไม่รับการให้เกียรติ • สื่อสารความรู้สึกออกมาเท่ากับสิ่งที่คิด “จจงพูดความรู้สึก” • ถ้าคนอื่นไร้สบขหรือไม่พอใจจ เป้าหมายอาจจไม่ใช่ตัวเรา เพียงแค่รับฟังความทบกข์หรือความไม่สบายใจจกน พอแล้ว
  • 33. สื่อสารกับคน 1 • ช่วยให้เขาเข้าถึงอารมณ์ด้วยคาถามแบบไม่ติเตียน • อย่าเอาความโกรธของเขาเข้าตัว อาจจเปนนเรื่องอื่นที่ต่างไปอย่างสิ้นเชิง แม้แต่ตัวเขากนไม่รู้ตัวว่าเปนนอะไร • พูดคบยด้วยเหตบและผล (หลักเกณฑ์) มากกว่าอารมณ์และความรู้สึก • ตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม คน 1 จจะไวและพินิจจพิเคราะห์กับการกระทาที่ไม่ตรงไปตรงมา • บอกเขาเมื่อเหนนอะไรผิด หรือขออภัยในความผิดของเรา และย้าเตือนว่าใครๆ กนอาจจทาผิดพลาดได้ • ถ้าเขาไม่ฟังเราเวลาที่เราพูด ขอให้เขาช่วยบอกเราว่ากาลังคิดอะไรอยู่ • ชี้ให้เขาเหนนด้านที่สดใสของสิ่งต่าง ๆ มีส่วนร่วมในเรื่องขบขัน
  • 34. สิ่งที่คน 1 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต เรียนรู้ที่จจะปล่อยให้ตัวเองทาผิดพลาดเลนกๆ น้อยๆ บ้าง โดยไม่ตาหนิโทษ หากลบ่มที่ส่งเสริมให้แสดงอารมณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้นในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย จจัดความคิดในความถูก-ผิด ขาว-ดา แล้วรวมหลายๆ มบมมองเข้าด้วยกัน ตระหนักรู้ว่าความแตกต่างไม่จจาเปนนต้องเปนนความผิด หรือข้อบกพร่องเสมอไป จจัดตารางเวลาให้ว่างจจากกิจจกรรมที่บีบรัดตัว เพื่อให้สามารถลาดับความสาคัญได้ ใส่เรื่องสนบกๆ และการพักผ่อนไว้ในรายการที่ควรทา จจนกว่าจจะทาได้เองโดยไม่มีรายการ
  • 35. คน 2 ผู้ให้ (HELPER) • ชอบสมาคม ร่าเริง เปนนมิตร มีชีวิตชีวา มบ่งสร้างสัมพันธภาพ • ชอบการช่วยเหลือ พิถีพิถันในการตอบสนองความปรารถนา ของผู้อื่น • ลดทอนตัวเองเพื่อให้ได้การยอมรับ • ไวต่อความรู้สึกและความต้องการของคนอื่น • ต้องการเปนนที่ยอมรับ หลีกเลี่ยงการปฏิเสธ รู้สึกว่าตนเอง เปนนที่ต้องการ เปนนศูนย์กลางของชีวิตคนอื่นๆ • มักพูด หรือคิดว่า “ฉันไม่ได้ต้องการอะไร” ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้ ทางความคิด การประจจบ เจจตจจานง (อิสรภาพ) ทางอารมณ์ ความทะนงตน ความถือตัว ความถ่อมตน จุดเน้นของลักษณ์ย่อย ทางเพศ ความก้าวร้าว/เสน่ห์ดึงดูด ทางสังคม ความทะเยอทะยาน/อานาจจหลังบัลลังก์ ทางการผดบงตน ความมีอภิสิทธิ์/ฉันต้องมาก่อน
  • 36. ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 2คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ ภาวะมั่นคง เกิดขึ้นเมื่อรู้สึกปลอดภัยกับ การรับรู้ว่าตนต้องการอะไร หากแต่เน้นอยู่ที่ตนเอง มากกว่าคนอื่น “อะไรที่ฉัน ชอบและไม่ชอบ” “อะไรคือ ความรู้สึกของฉันไม่ใช่ปรับ เพื่อให้ได้รับการยอมรับ” จจน อาจจเกิดความหดหู่เมื่อ มองเหนนว่าการอยู่เพื่อคนอื่น ง่ายกว่าการอยู่เพื่อตนเอง อาจจ รู้สึกเหมือนถูกหลอกใช้ ได้ขาย ตัวเองเพื่อให้คนมารัก ภาวะเสี่ยง เกิดขึ้นเมื่อหมกหมบ่นกับความ ต้องการของผู้อื่นและกดข่ม ความต้องการของตนเองมาก จจนเกินไป จจนเกิดการระเบิด ความฉบนเฉียวออกมา ทาให้พบ่ง ปะทะ กลายเปนนคนที่ไม่ยอม ผ่อนปรนอะไร ลบกขึ้นต่อสู้เพื่อ อิสรภาพ และจจะเอาเรื่องให้ถึง ที่สบด
  • 37. สื่อสารแบบคน 2 • ลองเล่าเรื่องของตัวเองให้คนอื่นฟังบ้าง • เปนนตัวของตัวเองมากกว่าคอยเอาอกเอาใจจคนอื่น • สื่อสารอย่างสงบอย่างรวดเรนวเมื่อรู้สึกไม่ยบติธรรมหรือถูกเอาเปรียบ • ร้องขอสิ่งที่ต้องการแทนที่จจะตาหนิคนอื่นที่ไม่ให้ตามที่คบณต้องการ  ไม่มีใครหยั่งรู้ความต้องการของ ใคร • พูดตรงๆ แทนที่จจะแสดงความเหนนเกี่ยวกับคนที่อยู่ด้วยเพื่อเปนนทางที่จจะสนองตอบแบบอ้อมๆ • การปฏิเสธเปนนเรื่องธรรมดา ไม่ต้องพยายามเสนอสิ่งอื่นแทน • เปิดช่องให้คนอื่นแก้ปัญหาของเขาเองบ้าง
  • 38. สื่อสารกับคน 2 • บอกเขาว่าเราซาบซึ้งกับสิ่งที่เขาทา (Word of affirmation) • แม้คบณไม่ได้รับการช่วยเหลือจจากเขา กนยังคงชอบเขาอยู่ • ปฏิเสธ พร้อมเหตบผลและความรู้สึก เพื่อให้เขารู้ว่าสิ่งที่จจะช่วยได้ดีที่สบด คือ ไม่ต้องช่วย • บอกเขาว่าคบณยินดีจจะทาบางอย่างให้เขา • เปิดโอกาสให้เขาสนทนาเรื่องของเขาบ้าง • จจริงใจจ และตรงไปตรงมา เขาจจะไวมากกับท่าทีบีบบังคับและไม่ตรงไปตรงมา • อย่าปล่อยให้เขาทางาน/โครงการอะไรตามลาพังคนเดียว ต้องให้แน่ใจจว่ามีช่องทางสื่อสารเปิดให้เขาติดต่อ ได้
  • 39. สิ่งที่คน 2 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต ค้นหาและทาสิ่งที่มีความหมายต่อตนเองจจริงๆ หากิจจกรรมที่ทาให้ได้กลับมามอง “ภายใน” ตนเอง ค้นหาสัมฤทธิผลแห่งตนและคบณค่า มองทะลบปฏิกิริยาทางอารมณ์ โดยเฉพาะความโกรธ พัฒนาบบคลิกภาพและการแสดงออกที่ตรงกับใจจ และไม่เปลี่ยนใจจเพื่อเอาใจจคนอื่น “ความรักที่แท้ไม่ได้ขึ้นกับว่าคบณต้องทาตัวอย่างใดอย่างหนึ่ง”
  • 40. คน 3 นักแสดง (PERFORMER) • “โลกให้คบณค่าแก่ผู้ชนะเลิศ ฉันจจึงหลีกเลี่ยงความล้มเหลว” • เชื่อมั่นในตัวเอง ทะเยอทะยาน ประสบความสาเรนจจ กระฉับกระเฉง คล่องแคล่ว กระตือรือร้น • ทางานหนักเพื่อบรรลบเป้าหมาย ทางานหลายอย่างพร้อมกัน • ไม่ชอบความล้มเหลว (ต่อหน้าคนอื่น) โกรธเมื่อสะดบด • ปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ให้เหมาะกับคนที่อยู่ด้วยได้ • ต้องทาอะไรมากมาย (ให้ดี) เพื่อได้รับความรักและมีคบณค่า • “ต้องเปนนอันดับหนึ่งให้ได้ คนรักเราที่เราเปนนคนที่เก่งที่สบด” ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้ ทางความคิด การสาคัญตน โอ่ ความหวัง ทางอารมณ์ ความหลอกลวง ความสัตย์ซื่อ จจริงใจจ จุดเน้นของลักษณ์ย่อย ทางเพศ ความเปนนชายจจริง/หญิงแท้ ทางสังคม เกียรติยศ ศักดิ์ศรี ความมีหน้ามีตา ทางการผดบงตน ความมั่นคงทางวัตถบ
  • 41. ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 3คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ ภาวะมั่นคง เคลือบแคลงภาพลักษณ์ที่ ได้รับมา ตื่นตระหนกแบบคน 6 ซึ่งอยู่กลางศูนย์แห่งความ กลัว การพยายามทาอะไร ต่างๆ มากมายเพื่อที่จจะหลีก หนีจจากอารมณ์ ซึ่งเปนนการ ยืนยันว่าอารมณ์เปนนสิ่งที่ อันตราย จจึงทาให้เขาลาบากใจจ ที่จจะผ่อนคลาย และพักผ่อน โดยไม่ทาอะไร “ตราบเท่าที่มี อะไรทายบ่งๆ กนไม่ต้องก้าวเข้าสู่ ความกลัว” ภาวะเสี่ยง เติบโตได้ดีในภาวะที่คนส่วน ใหญ่เรียกว่าความเครียด ไม่ว่า จจะเปนนความล้มเหลวต่อหน้า สาธารณะ งานประดังเข้ามา จจนรับไม่ไหว เจจนบไข้ได้ป่วยจจน ทาอะไรไม่ได้ เปนนความเครียด ของคนลักษณ์ 3 จจนทาให้ สูญเสียจจบดมบ่งหมายและความ เชื่อมั่นในตนเอง ตามใจจตนเอง ในเรื่องต่างๆ ถูกชักจจูงหรือเบน ความสนใจจได้ง่าย
  • 42. สื่อสารแบบคน 3 • ฟังให้มาก และยอมรับจจบดเด่นของคนอื่นบ้าง • บอกเขาว่ารู้สึกอย่างไร และพิจจารณาคาตอบของเขาอย่างถี่ถ้วน เมื่อคบณกาลังเร่งเร้าเขา • ตั้งสติและมองในจจบดที่คบณจจะไม่ไขว้เขว • บอกความรู้สึกที่แท้จจริงให้คนอื่นทราบ เขาอาจจชอบคบณมากขึ้น • บอกคนอื่นว่าคบณซาบซึ้งเมื่อเขาทาประโยชน์ให้ • หาเวลาฟังความรู้สึกของคนอื่น โดยเฉพาะคนที่คบณรัก • อย่าเร่งเร้าด้วยคาตอบหรือการแก้ปัญหาอย่างรวดเรนว
  • 43. สื่อสารกับคน 3 • การวิพากษ์วิจจารณ์ยิ่งเร่งเร้าให้เขาแสดงมากขึ้น • ทาตัวอย่างให้เหนนว่าทาอย่างไรจจึงจจะประสบผลสาเรนจจที่ดีกว่า • หลีกเลี่ยงประเดนนยืดยาวยบ่งยาก • ขอให้เขาช้าลงสักนิด และบอกเหตบผลกับเขา • บอกคบณค่าที่คบณมองเหนนในตัวเขาให้เขารู้
  • 44. สิ่งที่คน 3 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต หาเวลาหยบดพัก และถามตัวเองว่า “กาลังรู้สึกอะไรอยู่ในขณะนี้” หัดทาสมาธิเพื่อการทาสมาธิเท่านั้น มากกว่าจจะถือเปนนภารกิจจอย่างหนึ่ง สนใจจกับความรู้สึกทางกาย โดยเฉพาะความเหนื่อยเพื่อชะลอความเรนวของตนเอง ใช้ความรู้สึกทางกายเปนนสัญญาณชี้อารมณ์และความรู้สึกของตนเอง ฝึกฝนการให้คบณค่ากับความเข้าอกเข้าใจจและความสัมพันธ์มากกว่าสถานภาพ ฝึกยอมรับและซื่อสัตย์ที่จจะยอมรับข้ออ่อนและความล้มเหลวบ้าง
  • 45. คน 4 คนโศกซึ้ง (Romantic) • “ชีวิตขาดอะไรไปสักอย่าง คนอื่นมีสิ่งนั้น ฉันถูกทอดทิ้ง” • นักอบดมคติ ปฏิเสธความธรรมดา • ถูกดึงดูดด้วยความรู้สึกหรือการกระทาแบบสบดขั้ว มีความสบข สนบกกับชีวิตที่หมิ่นเหม่ • มีศิลปะและความหมายต่อชีวิตทบกด้านทบกมบม • มักมีความสัมพันธ์แบบผลักๆ ดึงๆ • มักรู้สึกว่าตัวเองถูกละเลยทอดทิ้ง จจึงมบ่งแสวงหาความรักที่ เพียบพร้อมเพื่อให้ตัวเองสมบูรณ์ ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้ ทางความคิด ความรันทด ความเปนนต้นแบบ ทางอารมณ์ ความอิจจฉา ใจจเปนนกลาง มีสมดบล จุดเน้นของลักษณ์ย่อย ทางเพศ การแข่งขัน ทางสังคม ความละอายว่าตังเองไม่ดีพอ ทางการผดบงตน ความบ้าบิ่น ใช้ชีวิตแบบสบดๆ เท่าที่เปนนไปได้
  • 46. ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 4คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ ภาวะมั่นคง เปนนคนเจจ้าอบดมคติในชีวิตที่สั่ง สมความรู้สึก และความจจริงจจัง ในชีวิต เมื่ออยู่ในภาวะมั่นคง เขาจจะเริ่มวิพากษ์วิจจารณ์ ตนเอง และคนอื่นๆ ถึงสิ่งที่ ควร และไม่ควร ภาวะเสี่ยง ความห่างไกลจจากอบดมคติ ทา ให้รู้สึกอยากเปลี่ยนแปลงไป ในทางใดทางหนึ่ง คน 4 จจะ ใช้คบณลักษณะแบบคน 2 ที่ หยิบยื่นความช่วยเหลือให้แก่ คนรอบข้าง หากแต่ยังคง สัมพันธภาพแบบผลักๆ ดึงๆ เพียงเพราะรู้สึกว่าต้องการ ดึงดูดผู้คน ต้องการการยอมรับ และยกย่อง
  • 47. สื่อสารแบบคน 4 • คนส่วนใหญ่ไม่ไวและใส่ใจจต่อความรู้สึกเท่าคบณ • บอกความรู้สึกอย่ารอให้เขาเดา เพื่อพิสูจจน์ความเหนนอกเหนนใจจ • ระวังการจจมกับความรู้สึก/อารมณ์ของตัวเอง • อยู่กับปัจจจจบบัน ที่นี่ และเดี๋ยวนี้ • บอกคนอื่นว่าคบณอาจจใช้ความรู้สึกมากเกินไป หรือถูกดึงความสนใจจออกนอกทาง • ขอให้คนอื่นช่วยให้คบณผ่อนคลาย หากคบณกาลังติดในอารมณ์ • มีสติหากกาลังประชดหรือกระแทกแดกกัน แต่บอกความรู้สึกที่แท้จจริงออกมา
  • 48. สื่อสารกับคน 4 • ปรับความตั้งใจจอันแรงกล้าให้ตรงกันเพื่อเขาจจะรู้สึกว่าคบณอยู่เคียงข้างเขา • ตรงไปตรงมาในเวลาที่ต้องการความช่วยเหลือ • อารมณ์ของเขาเปนนจจริง อย่างพยายามพูดคบยเพื่อเบี่ยงเบนประเดนนออกไป • รับรู้ความรู้สึกของเขา แม้จจะถกเถียงในเรื่องที่เปนนเหตบเปนนผล • ชื่นชมยกย่อง เรื่องความคิดสร้างสรรค์ และความเหนนที่พิเศษมากกว่าคานึงถึงผลลัพธ์ • รับฟังการหยั่งรู้ของเขา • เขาไม่ค่อยเหนนคบณค่าของตัวเอง ทาให้เขารู้ว่าคบณอาทรและเหนนคบณค่าของเขา
  • 49. สิ่งที่คน 4 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต ฝึกการทากิจจกรรมทางกาย เพื่อเรียนรู้ที่จจะเปนนคนหนักแน่น มั่นคงมากขึ้น ย้อนทบทวนอารมณ์หาต้นสายปลายเหตบแห่งอารมณ์ ระลึกว่า “การถูกทอดทิ้ง” เปนนอดีตไปแล้ว และปัจจจจบบันเปนนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ชื่นชมยินดีในสิ่งที่เปนนบวกทบกๆ วัน เรียนรู้ที่จจะขอบคบณในสิ่งที่ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ค้นให้พบคบณค่าที่มีอยู่ในตัวเอง “เขามี เรากนมี” ให้เกียรติอบดมการณ์และความสามารถแห่งตนเอง ร่วมรับรู้ทบกข์ โดยไม่เอาตัวเองไปติด บ่วง
  • 50. คน 5 นักสังเกตการณ์ (THE OBSERVER) • เกนบตัว เปนนนักคิด มีสมาธิ เงียบ มีเหตบผล ไร้อารมณ์ พึ่งพาตนเอง เปนนคลังความรู้แต่ไม่เสนอตัว • เสพติดข้อมูล ชอบข้อเทนจจจจริงและระบบ ใช้สมองไปใน เรื่องที่ลึกลับที่ยากที่คนจจะเข้าใจจ • กลัวถูกก้าวก่าย ต้องการความเปนนส่วนตัว • มีขอบเขตเฉพาะที่ชัดเจจนมาก จจัดชีวิตเปนนส่วนๆ • ชอบคาดการณ์ล่วงหน้า ไม่ค่อยตอบสนองอย่าง ทันทีทันใดโดยไม่ผ่านการนึกคิด • สันโดษ ไม่สะสมสิ่งของมาก • เจจ้าระเบียบและคงเส้นคงวา ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้ ทางความคิด ความตระหนี่ ความสมบูรณ์แบบ ทางอารมณ์ ความโลภ ความสงบเยนน จุดเน้นของลักษณ์ย่อย ทางเพศ ความลับเฉพาะ ทางสังคม รูปเคารพ ทางการผดบงตน ปราสาท
  • 51. ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 5คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ ภาวะมั่นคง ในเวลาสบายใจจมั่นคง เขาจจะ สามารถตัดสินใจจนาทาง มบ่งมั่นมีจจบดหมาย แสดงตนเอง อย่างตรงไปตรงมา และรับรู้ ความโกรธของตนเอง ทาให้ดู เปนนเจจ้านาย ชอบสั่งการ ภาวะเสี่ยง หากถูกบีบบังคับให้ต้องเผชิญ กับความรู้สึกหรือเหตบการณ์ที่ ฉับพลันทันที เขาจจะเกิดความ กดดัน เครียดและเมื่อความ กลัวมีมากขึ้นจจนต้านทานไม่ ไหว จจะสอดส่ายหาทางหนีจจาก สถานการณ์นั้นด้วยกลยบทธ์ ต่างๆ ที่เปนนไปได้ ไม่ผูกมัดตัว เข้ากับพันธกรณีใดๆ
  • 52. สื่อสารแบบคน 5 • ยิ่งถอยหนี ยิ่งโดนไล่ จจงบอกความรู้สึก แม้เพียงต้องการที่ทางส่วนตัว • บอกให้คนอื่นรู้ว่าคบณต้องการเวลาและพื้นที่ส่วนตัวในการไตร่ตรองก่อนตัดสินใจจ • คบณไม่ใช่ไม่มีความรู้สึก แต่ยากที่จจะแสดงออกมาในขณะนั้น • จจัดสรรเวลาที่ชัดเจจนในการอภิปราย • ถ้ารู้สึกว่าถูกเรียกร้อง บอกถึงผลกระทบที่มีต่อตัวคบณ • ตอบสนองต่อความรู้สึกเช่นเดียวกับเหตบผล เพื่อให้เขาไม่รู้สึกถูกมองข้าม
  • 53. สื่อสารกับคน 5 • เขาเปนนคนอ่อนไหวง่ายมากต่อท่าทีของคบณและจจะถอยห่างทันที ถ้าดูเหมือนคบณไม่ไยดีหรือเปนนมิตร • จจาไว้ว่าเปนนเรื่องยากที่เขาจจะแสดงความรู้สึกออกมา • เคารพในขอบเขตของเขา • บอกล่วงหน้าถ้าจจะต้องการคบยกับเขา • ให้เวลาเขาตัดสินใจจตามลาพัง • การเงียบไม่ใช่การปฏิเสธ • ตรงไปตรงมา สื่อสารข้อเทนจจจจริง แสดงความรู้สึกแต่พอควร • ถ้าต้องการขออะไร ใช้ประโยคขอร้อง ไม่ใช่เรียกร้อง • ถ้าเขาแสดงความหยิ่ง เหินห่าง หรือหงบดหงิด แสดงว่าเขาอึดอัด หรือไม่สะดวกใจจ
  • 54. สิ่งที่คน 5 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต ฝึกการทากิจจกรรมทางกาย เพื่ดึงจจิตใจจให้มาอยู่กับร่างกายมากขึ้น แทนที่จจะอยู่ใน ความคิด เข้ากลบ่มที่ได้มีโอกาสเปิดเผยตนเอง รับรู้ความรู้สึกและอารมณ์ทางกาย ณ ปัจจจจบบันที่กาลังเกิดขึ้นจจริง ปลูกฝังพฤติกรรม “ที่นี่และเดี๋ยวนี้” อยู่กับปัจจจจบบัน อนบญาตให้ตัวเองฟบ่มเฟือย ถ้าเปนนนักสะสมให้สารวมความอยาก เรียนรู้ที่จจะยืนหยัดบนจจบดยืนของตนโดยไม่ถอยหนี ให้คนอื่นเหนนและรู้ว่า “มีเรา”
  • 55. คน 6 นักปุจฉา (THE QUESTIONER) • จจงรักภักดี ทางานอย่างหนัก พึ่งพาได้ ระมัดระวัง ชอบ เปนนผู้ร่วมทีมมากกว่าเปนนผู้นา • ไม่ไว้วางใจจ มีกรอบความคิดที่เตนมไปด้วยความสงสัย • เตรียมตัวให้พร้อมกับสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สบด • ขี้ระแวง/รอบคอบ • ลังเลสงสัย • เหยื่อที่จจนมบม VS กระต่ายตื่นตูม ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้ ทางความคิด ความลังเลสงสัย และความขี้ขลาด ศรัทธา ทางอารมณ์ ความกลัง ความกล้าหาญ จุดเน้นของลักษณ์ย่อย ทางเพศ ความเข้มแขนง/ความงาม ทางสังคม หน้าที่ ทางการผดบงตน ความอบอบ่นเพื่อถอดเขี้ยวเลนบผู้อื่น
  • 56. ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 6คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ ภาวะมั่นคง เมื่อชีวิตมั่นคง เขาจจะปล่อย ตัวเองสบายๆ นบ่มนวล อบอบ่น น่ารัก หรือยากจจะติดต่อ สัมพันธ์กับใครๆ สบขสบายกับ การไม่ต้องตื่นตัวคอยระวัง หรือตั้งคาถามกับอะไร แต่กนจจะ อยู่ไม่นาน เพราะถ้าราบรื่นไม่ มีอะไรชวยให้สงสัยจจะเปนนการ ไม่ปลอดภัย ภาวะเสี่ยง ในยามเครียดหรือไม่สบายใจจ เขาจจะสนบกหรือบบกตะลบยกับ การทางานอย่างจจริงจจัง ลด ความกลัวลง สามารถจจัดการ กับความสาเรนจจได้โดยง่าย เลิก นิสัยล่าช้าผัดผ่อน สามารถใช้ จจินตนาการทางานให้เสรนจจได้
  • 57. สื่อสารแบบคน 6 • ตรวจจสอบความจจริงโดยถามคนอื่นว่าเขาคิดอย่างไร • คบณมีแนวโน้มจจะคาดการณ์ เวลามั่นใจจในสิ่งที่ไม่ดี ถามตัวเองว่าคบณตอบสนองต่อสัญญาณอะไร • บอกคนอื่นว่าคบณรู้สึกอย่างไร พร้อมกับการสนับสนบนช่วยเหลือของเขาด้วยการกระทา • บางคนต้องการการติดต่ออย่างสม่าเสมอเพื่อพิสูจจน์ความน่าเชื่อถือและมิตรภาพของคบณเอง • บอกคนอื่นว่าคบณมีแนวโน้มที่จจะหวั่นไหวเรรวน
  • 58. สื่อสารกับคน 6 • เขาไว้ใจจคนยาก มีแต่ความลังเลสงสัย • ฟังและแสดงให้เหนนว่าคบณเข้าใจจเขา • พูดด้วยความจจริงที่ถูกต้องและชัดเจจน • การกระทาสาคัญกว่าคาพูดเพื่อประกอบการแสดงความรู้สึก • ให้เขาสารวจจความจจริงของเขาและช่วยให้เขาหลบดออกจจากจจินตนาการคาดการณ์ต่างๆ • อย่าวิพากษ์วิจจารณ์หรือตัดสินความกลัวของเขา • มองในด้านดี มีอารมณ์ขัน
  • 59. สิ่งที่คน 6 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต ฝึกให้ร่างกายรู้ตัวพร้อม ปล่อยวางและผ่อนคลาย สร้างสมดบลของการเติบโตจจากสมองและเหตบผล ร่วมกับวิถีการรับรู้ทางกาย สังเกตเมื่อเกิดความคิดระแวงแคลงใจจ และโยนความกลัวออกไป หมั่นถามเพื่อนให้เขาสะท้อนความเหนนกลับมาเพื่อตรวจจสอบความระแวงของตน ชื่นชมยินดีกับความสาเรนจจ/ความชานาญเก่าและใหม่ของตัวเอง ฝึกไว้ใจจและศรัทธาในผู้อื่น
  • 60. คน 7 นักผจญภัย (THE ADVENTURE) • มองโลกในแง่ดีอยู่เสมอ ร่าเริง เบิกบาน มีพลัง มีเสน่ห์ ชอบเข้ากลบ่ม มีจจินตนาการสูง ความสนใจจมี หลากหลาย • ไม่อดทนต่อความเจจนบปวด แลดูฉาบฉวย สบขนิยม • ชอบทางเลือกที่มีหลากหลาย ชอบสร้างเครือข่าย ทา อะไรได้หลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน • ฝันและริเริ่ม • สนใจจความต้องการและความพึงพอใจจของตนเอง • มองโลกเปนนสนามเดนกเล่นอันกว้างใหญ่โดยมีตัวเอง เปนนศูนย์กลาง ที่กาลังทดลองเล่นตามความพอใจจ ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้ ทางความคิด การวางแผน การทางาน ทางอารมณ์ ความละโมบ ความไม่มัวเมา จุดเน้นของลักษณ์ย่อย ทางเพศ ความหลงใหล ตรึงใจจ ทางสังคม ความเสียสละ ทางการผดบงตน ความมีพวกมีเหล่า
  • 61. ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 7คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ ภาวะมั่นคง ยามมั่นคงในจจิตใจจ เขาจจะมี ความสบขกับการใช้เวลาตาม ลาพัง หลีกหนีจจากคนอื่น หรือ พอใจจกับการเล่นบทรอง ภาวะเสี่ยง จจะเกิดความเครียดเมื่อมีกรอบ หรือเส้นแบ่งเขตที่ชัดเจจนขึ้นมา หรือเหตบการณ์ที่ต้องเผชิญกับ อารมณ์ ความกลัวการถูก ตาหนิ วิจจารณ์ หรือทาผิด จจน กลายเปนนเรื่องรบนแรงขึ้นและ เข้าสู่ระดับจจิตสานึก ทาให้ หงบดหงิดง่ายขึ้น จจบกจจิก กัด โกรธทบกอย่างที่มาก้าวก่ายหรือ ติเตียนเขา เขาจจะติเตียนตัวเอง หรือตั้งมาตรฐานสูงมากขึ้น
  • 62. สื่อสารแบบคน 7 • ฟังใครๆ เขาบ้าง ความคิดเหนนและความรู้สึกของคนอื่นอาจจจจริงเท่าๆ กับของคบณ • ถ้าเขาก่อนว่าเขาต้องการคาแนะนาหรือความช่วยเหลือของคบณหรือไม่ • บอกคนอื่นว่าเปนนการยากที่คบณจจะพูดเรื่องความรู้สึกและเรื่องสาคัญทางอารมณ์ • ตรวจจสอบให้ดีว่าคบณได้เล่าเรื่องที่คบณจจินตนาการสมบูรณ์แล้วให้คนอื่นฟัง อย่าคิดว่าได้บอกไปเรียบร้อย แล้ว • บอกคนอื่นก่อนที่จจะปรับปรบง หรือเปลี่ยนเป้าหมายก่อนที่จจะลงมือทา • ถ้ามอบหมายอะไรแล้ว ค่อยๆ แนะนาเขา อย่าผลีผลามลงไปทาเอง
  • 63. สื่อสารกับคน 7 • จจับเขาให้อยู่กับปัจจจจบบัน ด้วยคาถาม รวมถึงการพูดอารมณ์ของเขาด้วย • มีส่วนร่วมในการสนทนาแบบสบายๆ • ตั้งใจจฟังและชื่นชมวิสัยทัศน์ที่ยิงใหญ่ของเขา เขากาลังแบ่งปันส่วนหนึ่งของความเปนนตัวเขา • อย่าใส่ความคิดของคบณที่กระทบแผนงานของเขา ให้เวลาเขาปรับตัวเพื่อรวมความคิดของคบณไว้ในแผน • อย่าวิจจารณ์หรือสั่งการ แต่พยายามให้ข้อเสนอที่จจะเกิดผลในระยะสั้นและระยะกลาง
  • 64. สิ่งที่คน 7 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต สังเกตสิ่งที่ให้เบื่อหน่าย อะไรเปนนสาเหตบให้ตนเองไม่เติบโต และอยู่กับมันอย่างแน่วแน่ หลีกเลี่ยงการทับถมตัวเอง และยกย่องคนอื่นสาคัญกว่า ฉลาดกว่า เก่งกว่า สังเกตตนเองเมื่อกาลังตกลงใจจหรือคัดค้าน ถามตัวเองว่ากาลังคิดอะไร ฝึกถามตัวเองว่าอะไรสาคัญสาหรับตัวเรา สังเกตความดื้อรั้น หรือต่อต้านเงียบๆ แล้วเริ่มพูดว่าเราไม่เหนนด้วยตรงไหน เรียนรู้ที่จจะพูดคาว่า “ไม่เอา” ต่อสิ่งใหม่ๆ ที่คิดจจะผูกพัน
  • 65. คน 8 เจ้านาย (THE BOSS) • มีพลัง เอาจจริงเอาจจัง ชอบสั่งการ เปนนเจจ้าใหญ่นายโต เปนนนักอภิบาล เจจ้าทิฐิ กล้าได้กล้าเสีย ชอบเปนนหัวเรือ ใหญ่ • ทางานหนัก เล่นหนัก ชอบเปนนหัวเรือใหญ่ของทบกเรื่อง ที่ไปเกี่ยวข้องด้วย • ตรงไปตรงมาจจนดูเหมือนก้าวร้าว ยบติธรรม กัดไม่ ปล่อย • โต้ตอบอย่างทันทีทันใด โกรธง่าย • เรียกร้องความจจริงและการแก้ปัญหาที่แจจ่มแจจ้ง • “ฉันอาจจผิดพลาดแต่ฉันไม่มีวันลังเลสงสัย” ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้ ทางความคิด การแก้แค้น สัจจจจะ ทางอารมณ์ ความกาหนัดในพลังชีวิต ความไร้เดียงสา รับรู้ว่าโลกปลอดภัย จุดเน้นของลักษณ์ย่อย ทางเพศ การครอบครองและการยอมจจานน ทางสังคม มิตรภาพ ทางการผดบงตน ความพออยู่รอด
  • 66. ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 8คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ ภาวะมั่นคง เวลาสบายใจจหรือมี ความสัมพันธ์ที่วางใจจได้ จจะ โอนอ่อนผ่อนตาม พอใจจที่จจะ ให้ ชอบบริการ มีอารมณ์ ทางบวกได้ง่าย ยอมรับว่าอะไร มีความหมายต่อเขา จจะมี ความสบขกับการเปิดเผยตัวเอง มากขึ้น แต่กนแอบหวั่นว่าจจะไม่ เปนนไปอย่างที่คิดไว้ จจนอาจจ แสดงความก้าวร้าวเรื่อง เรียกร้องตัวตนของตัวเอง ภาวะเสี่ยง ในยามที่ควบคบมตนเองไม่ได้ หรือรู้สึกอ่อนแอ หรือกาลัง เคียดแค้นตัวเอง เขาจจะเกนบตัว ทั้งกายและใจจเพื่อพิจจารณา ใคร่ครวญเรื่องต่างๆ และหา สมดบลกลับคืนมา บางครั้งอาจจ ยาวนานจจนทาให้กลายเปนน ความเศร้า หดหู่ ไม่มีแรงจจะทา อะไร ไม่ติดต่อใคร ตัดสินใจจ ไม่ได้ว่าจจะคิดหรือทาอะไร
  • 67. สื่อสารแบบคน 8 • เมื่อคบณขึ้นเสียงดัง ทาให้คนอื่นไม่ฟัง คบณมักจจะส่งเสียงที่ดังกว่าที่คิด • แทนที่จจะพูดด้วยเสียงที่ดังขึ้น ช่วยขอให้คนอื่นทาให้กระจจ่างโดยบอกตามความเข้าใจจของคบณ • คาถามมากมายของคบณมีเพื่อทาความเข้าใจจ ไม่ใช่ทาให้เครียดราคาญ • ฟังคนอื่นพูดอย่างตั้งใจจ และเอาใจจใส่ ไตร่ตรองข้อคิดของเขาก่อนที่จจะตอบ • อย่าไปเซ้าซี้เอาให้ได้ เดี๋ยวนี้ให้เวลาเขาตรึกตรองบ้าง • หากพูดแล้วบาดความรู้สึกของใคร ขอโทษเขาเสียทันทีที่รู้ตัว
  • 68. สื่อสารกับคน 8 • พูดตรงๆ ต้องการอะไรกนบอกไปตรงๆ อย่าอ้อมค้อม • ถ้าบอกเขาไว้ว่าจจะทาอะไรเลย จจงทาเลย • ใช้คาพูดที่สั้นกะทัดรัด • บอกเขาหากคาพูดของเขาแรงเกินไป หรือทาให้คบณรู้สึกถูกคบกคาม • หากคบณมีกฎเกณฑ์ในการสร้างสัมพันธภาพที่ยังไม่ได้บอกเขา บอกเขาอย่างเตนมใจจ • เขาง่ายต่อการถูกหลอก แต่ไม่ง่ายที่จจะให้อภัย ถ้าถูกทาให้อับอาย
  • 69. สิ่งที่คน 8 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต สารวจจพลังของตน โดยเฉพาะเมื่อกระทาตามแรงผลักดัน ใช้ความโกรธเปนนเครื่องเตือนใจจให้เราผ่อนคลาย หายใจจลึกๆ วันละหลายๆ ครั้ง ก่อนลงมือกระทาอะไร ใคร่ครวญในผลที่เกิดขึ้นก่อน และนึกถึงเป้าหมายระยะ ยาว ฝึกรอเมื่อมีสิ่งกระตบ้น อย่างเพิ่งวิ่งตามความพอใจจ ช้าลง จจดจจาและทบทวนสิ่งที่เข้าใจจแจจ่มแจจ้งเกี่ยวกับตนเอง สังเกตแนวโน้มที่จจะตาหนิคนอื่น และรับรู้การมีส่วนเกี่ยวข้องของตนในสถานการณ์ด้าน ลบ
  • 70. คน 9 ผู้สมานไมตรี (MEDIATOR) • อบอบ่น เปนนมิตร อดทน ใจจกว้าง ใจจดี ไม่ชอบการแข่งขัน • ชอบชีวิตที่สงบ มีรูปแบบ คาดการณ์ล่วงหน้า และ สะดวกสบาย • ช่างพูดคบย ทาตัวกลมกลืนกับผู้คน ชอบอยู่กับผู้คน • ยากที่จจะรู้ลาดับความสาคัญของตนเอง และมักจจะเหนน ดีเหนนงามกับความประสงค์ของผู้อื่น บางครั้งจจะพูด ด้วยสาเนียง ศัพท์ หรือภาษาท่าทางของคนอื่นๆ • มีผลงานมากเมื่อทางานเพื่อคนอื่น • เวลาหมดไปกับสิ่งที่ไม่สาคัญ มีความสนใจจใหม่ๆ เกิดขึ้นเสมอ ความเอนเอียงในบุคลิกภาพ คุณสมบัติของแก่นแท้ ทางความคิด ความเกียจจคร้าน ความกรบณา ทางอารมณ์ ความเฉื่อยชา การกระทา จุดเน้นของลักษณ์ย่อย ทางเพศ ความเข้ากันเปนนหนึ่งเดียว ทางสังคม การมีส่วนร่วม ทางการผดบงตน ความอยากเสพ
  • 71. ภาวะมั่นคงและภาวะเสี่ยงของคนลักษณ์ 9คน ๙ ผู้สมานไมตรี คน ๑ คนสมบูรณ์แบบ คน ๒ ผู้ให้ คน ๓ นักแสดง คน ๖ นักปุจฉา คน ๗ นักผจญภัย คน ๘ เจ้านาย คน ๔ คนโศกซึ้ง คน ๕ นักสังเกตการณ์ ภาวะมั่นคง ในยามที่เขาได้รับการยอมรับ หรือเหนนคบณค่า เขาจจะทาอะไร ได้สาเรนจจอย่างมากมายในเวลา ที่รวดเรนว กระตือรือร้นที่จจะทา สิ่งต่างๆ และแสดง ความสามารถให้ปรากฎตาม ความต้องการของคน อื่น ภาวะเสี่ยง ในยามที่ถูกสถานการณ์ ผลักดันบีบบังคับให้ต้องเลือก จจบดยืนใดจจบดยืนหนึ่ง เขาจจะ หวาดกลัว ระแวงสิ่งที่อาจจเข้า มาคบกคาม หากไม่กลายเปนน คนเกนบตัวถอยหนีและยอม ตามมากขึ้น กนจจะกลายเปนนคน หัวแขนงดื้อรั้นมากขึ้น และ พร้อมที่จจะเปิดสงคราม
  • 72. สื่อสารแบบคน 9 • บอกให้คนอื่นรู้ว่าอะไรกาลังเกิดขึ้นกับตัวคบณเมื่อไม่รู้ว่ารู้สึกหรือต้องการสิ่งใด • สังเกตตัวเองเมื่อเกิดอาการ “ดื้อเงียบ” และสื่อสารจจบดยืนของคบณให้คนอื่นได้รู้ • เวลาโกรธให้รีบบอก • ถ้าใครถามว่าโกรธหรือเปล่า อย่ารีบตอบให้พิจจารณาความรู้สึกให้ดีเสียก่อน • ถ้าคิดว่าไม่มีใครได้ยินสิ่งที่คบณพูด ให้บอกตรงๆ ไปเลย อย่าพยายามอธิบายจจนยืดยาวเยิ่นเย้อเกินไป • เกาะติดประเดนน • ตอบให้ตรงประเดนนที่คนอื่นต้องการ ไม่ต้องอ้อมค้อม
  • 73. สื่อสารกับคน 9 • ฟังและทาให้เขารู้ว่าคบณได้ยินแล้วว่าอะไรสาคัญสาหรับตัวเขา • ช่วยตั้งคาถามว่าเขามีความคิดเหนนอย่างไร • ช่วยตั้งคาถามเพื่อช่วยให้เขาจจับประเดนน • อย่าเร่งเร้าเอาคาตอบจจากเขา ปล่อยเวลาให้ได้ตรึกตรอง • เขามักเออออกับทบกคน บอกเขาล่วงหน้าการตัดสินใจจอะไร เพื่อให้เขาได้ใช้เวลาตรึกตรองมากขึ้น
  • 74. สิ่งที่คน 9 ควรทาเพื่อช่วยให้ตนเองเติบโต ฝึกตัวให้ตัดสินใจจเลือกข้างใดข้างหนึ่ง และกล้าประกาศออกมา หลีกเลี่ยงการทับถมตัวเอง และยกย่องคนอื่นสาคัญกว่า ฉลาดกว่า เก่งกว่า สังเกตตนเองเมื่อกาลังตกลงใจจหรือคัดค้าน ถามตัวเองว่ากาลังคิดอะไร ฝึกถามตัวเองว่าอะไรสาคัญสาหรับตัวเรา สังเกตความดื้อรั้น หรือต่อต้านเงียบๆ แล้วเริ่มพูดว่าเราไม่เหนนด้วยตรงไหน เรียนรู้ที่จจะพูดคาว่า “ไม่เอา” ต่อสิ่งใหม่ๆ ที่คิดจจะผูกพัน
  • 78. ราคาที่เราต้องจ่ายหากเราไม่ เปลี่ยนแปลง ความเจจนบป่วย ความรู้สึกผิด การขาดความสัมพันธ์ใกล้ชิด ความสาเรนจจ ความรื่นรมย์ความเชื่อพื้นฐาน ทุกคนในโลกนี้สามารถเปลี่ยนแปลงด้านในได้ทั้งสิ้นไม่ว่าสภาวะภายนอกจะ เป็นเช่นไร เราสามารถเติมเต็มในสิ่งที่ตนเองต้องการ และสามารถใช้ตนเองได้อย่างมี
  • 79. โมเดลแห่งการเติบโตของ Virginia Satir ความเรามีวิธีการรับรู้โลกตามโมเดลแห่งการเติบโต การประเมินการมองโลกของเรา นั้นสามารถประเมินได้จจาก 4 ด้าน คือ เราให้คานิยามการมีความสัมพันธ์อย่างไร เราให้คานิยามของบบคคลอย่างไร เราอธิบายเหตบการณ์ใดเหตบการณ์หนึ่งอย่างไร เรามีทัศนคติอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลง
  • 81. 1. นิยามของความสัมพันธ ์ • บทบาทที่แตกต่างกันของความสัมพันธ์: พ่อ-ลูก เจจ้านาย-ลูกน้อง พระ-ลูกวัด ครู-นักเรียน ความรู้สึก •ว่างเปล่า •กลัว •หมดหนทาง ภาษากาย •การปลอบใจจ •ดาหนิ •เจจ้าเหตบผล/เฉไฉ รูปแบบ เหนือกว่า-ยอม ตาม •รับรู้และยอมรับความเท่าเทียมใน คบณค่าของปัจจเจจกบบคคล •คนเรามีความแตกต่าง แต่มี ความสามารถที่จจะเปนนผู้ที่สมบูรณ์ พร้อมได้ แต่เราไม่ค่อยใช้ ความสามารถนั้น บุคคลเท่าเทียมกับ บุคคล ขจจัดอบปสรรคด้วยการ เปลี่ยนความเชื่อ
  • 82. โมเดลการแบ่งลาดับชั้น โมเดลแห่งการเติบโต คนเรามีคบณค่าไม่เท่าเทียมกัน คนเรามีคบณค่าเท่าเทียมกัน คนหนึ่งเหนือกว่าและยอมตามอีกคนหนึ่ง ความสัมพันธ์อยู่ระหว่างความเท่าเทียมกันในคบณค่า บทบาทหรือสถานภาพนั้นสับสนและปะปนกับความ เปนนตัวเอง บทบาทและสถานภาพแตกต่างไปจจากความเปนน ตัวเอง บทบาทแสดงนัยบอกถึงความเหนือกว่าและอานาจจ หรือสถานะที่ต่าต้อยและไร้อานาจจ บทบาทบอกถึงนัยหน้าที่ในความสัมพันธ์ เฉพาะเจจาะจจง ณ ช่วงเวลาหนึ่ง มบมมองแบบลาดับชั้นแสดงนัยถึงความเหนือกว่าและ ยอมตาม ความเท่าเทียมกันแสดงออกมาในความเท่าเทียมกัน ของคน การเชื่อมโยงกัน ความสนใจจและการยอมรับ ต่อความเหมือนและความแตกต่าง คนเรามีอานาจจเหนือคนอื่นแต่รู้สึกโดดเดี่ยว กลัว โกรธ ขบ่นเคือง แปลกแยก และไม่ไว้วางใจจใคร คนเรารู้สึกได้ถึงความรัก ความเปนนเจจ้าของตัวของ ตัวเอง การเคารพผู้อื่น อิสรภาพในการแสดงออก และ ความมีคบณค่า
  • 83. ขจจัดอบปสรรคด้วยการ เปลี่ยนความเชื่อ 2. นิยามของบุคคล • ความคาดหวังว่า “ฉันน่าจจะเปนนแบบอื่น” • มีกฎ กติกา ตัวชี้วัด ว่า “ฉันควรจจะเปนนอย่างนั้น” ฉันผอมไป ฉันอ้วนไป ฉันโง่เกินไป เข้าไป คับไป หลวม ไป คนเราทบกคนมีลักษณะ เฉพาะตัวในส่วนประกอบของ ความเปนนมนบษย์ของเขาและ เธอที่มีความเหมือน/ความ ต่าง แต่กนยังคงมีสิ่งที่เหมือนกัน คุณค่าของความเป็ น มนุษย์
  • 84. โมเดลการแบ่งลาดับชั้น โมเดลแห่งการเติบโต คนเราจจาเปนนต้องยอมตามและเชื่อฟัง “ควรจจะ...” เปนนการเอาตัวรอดและการยอมรับทั้ง ทางด้านร่างกายและจจิตใจจ คนแต่ละคนมีเอกลักษณ์และความสามารถให้ ความหมายของเขาหรือเธอจจากจจบดแขนงและความมี คบณค่าภายในของตนเอง คนเราเกิดมาพร้อมกับความโน้มเอียงที่จจะเปนนคนชั่ว ร้ายได้ คนเรามีพื้นฐานทางจจิตวิญญาณที่ดีและควรแก่การ เคารพมาตั้งแต่กาเนิด และพวกเขาแสดงให้เหนนถึง พลังชีวิตที่เปนนสากล คนเราถูกคาดหวังให้คิด รู้สึกและทาเหมือนๆ กัน และ มีชีวิตขึ้นอยู่กับมาตรฐานภายนอกด้วยการแข่งขัน การ ตัดสินใจจ การปลอบใจจ และการเลียนแบบ ด้วยการผสมผสานและการยอมรับความเหมือนและ ความแตกต่างได้ คนเราจจึงยินดีในการค้นพบตัวตน ของตนเอง และของคนอื่นด้วยการร่วมมือกัน การ สังเกต และการแบ่งปัน คนเราลดค่าหรือปฏิเสธเรื่องความรู้สึก และความ แตกต่างของพวกเขา คนเราพูดถึงความรู้สึกต่างๆ และยอมรับกับความ แตกต่างได้
  • 85. 3. นิยามของเหตุการณ์ • ในวัฒนธรรมแบบอานาจจนิยมนั้น จจะยึดถือระบบความสัมพันธ์แบบเหนือกว่า/ยอม ตาม โดยจจะอธิบายเหตบการณ์หนึ่งๆ โดยเชื่อว่ามีหนทางที่ถูกต้องเพียงหนทางเดียว และอะไรที่เกิดขึ้นกนจจะมาจจากสาเหตบเดียว จจึงมบ่งหา “ทางออกเดียว” สาหรับแต่ ละปัญหา ต้องทาแบบ นี้สิ
  • 86. โมเดลการแบ่งลาดับชั้น โมเดลแห่งการเติบโต ก ทาให้เกิด ข ในแนวตรง แบบเหตบทาให้เกิดผล เหตบการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้น เปนนผลมาจจากหลายปัจจจจัย และหลายเหตบการณ์ ก = ข + ค + ง ..... ฯลฯ มีวิธีการที่ถูกต้องอยู่วิธีเดียวที่ถูกต้องเท่านั้น ในการทา บางสิ่งบางอย่าง และคนที่เหนือกว่ารู้ว่ามันคือวิธีไหน วิธีการมีอยู่มากมาย และเราสามารถใช้เกณฑ์ของเรา เองในการเลือกวิธีการ คนเราปฏิเสธประสบการณ์ของตนเอง เพื่อที่จจะยอมรับ ฟังเสียงของผู้ที่มีอานาจจ คนเรามองได้ลึกไปกว่าเหตบการณ์ที่ปรากฏให้เหนน เพื่อที่จจะเข้าใจจบริบทที่แวดล้อมของเหตบการณ์นั้น และ ปัจจจจัยที่เกี่ยวข้องอื่นๆ คนคิดเช่น “มันกนเปนนอย่างนั้นแหละ” และ “มันเปนนสี ขาวหรือดา” ก่อให้เกิดการครอบงาและปิดกั้น ความคิดริเริ่ม และการค้นพบ การคิดทบทวนและการใช้วิธีการที่เปนนระบบ (การ กระทา-การโต้ตอบ-ปฏิกิริยาระหว่างกัน) ก่อให้เกิด ความเกี่ยวเนื่อง การค้นพบข้อมูล การลาดับ และ ความเชื่อมโยง
  • 87. 4. ทัศนคติต่อการเปลี่ยนแปลง • การเปลี่ยนแปลงเปนนสิ่งสาคัญและเลี่ยงไม่ได้ • ชีวิตมีทางเลือกที่หลากหลายและสนับสนบนให้เราสมัครใจจเสี่ยงอย่างไว้วางใจจ ความคุ้นชิน ฉันเป็ นคนแบบนี้แหละ ฉันชอบ.... ฉันทา....ได้ดี
  • 88. โมเดลการแบ่งลาดับชั้น โมเดลแห่งการเติบโต ความมั่นคง จจึงต้องการรักษาสภาวะที่คงที่เอาไว้ ความมั่นคงเติบโตจจากความเชื่อมั่นในกระบวนการ ของการเปลี่ยนแปลง และการเติบโต คนเรามองเหนนการเปลี่ยนแปลงว่าเปนนสิ่งที่ไม่พึง ปรารถนา และผิดปกติ ดังนั้นพวกเขาจจึงปฏิเสธและ ต่อต้านมัน คนเรามองการเปลี่ยนแปลงว่าเปนนเรื่องที่เกิดขึ้นเสมอ สาคัญและไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้นคนจจึงเปิดรับ และคาดหวังกับมันได้ ให้คบณค่ากับความคบ้นชินมากกว่าความสบขสบาย ถึงแม้ราคาของมันจจะเปนนความเจจนบปวด คนเรามองความไม่สบขสบายหรือความเจจนบปวดว่าเปนน สัญญาณสาหรับการเปลี่ยนแปลง คนเรากลัวสิ่งที่ไม่รู้ คนเราเสี่ยงและแสวงหาโอกาสที่จจะเคลื่อนไปสู่สิ่งที่ไม่ รู้ คนเราตัดสินการเปลี่ยนแปลงว่าเปนนเรื่องผิดหรือถูก คนเรายินดีต่อการค้นพบทางเลือกและวิธีการใหม่ๆ คนเรารู้สึกกลัวและกังวลเมื่อเผชิญหน้ากับโอกาสการ เปลี่ยนแปลง คนเรารู้สึกได้ถึงความตื่นเต้น ความเชื่อมโยง และ ความรักเมื่อพวกเราเผชิญหน้ากับโอกาสของการ
  • 89.
  • 92. Blaming stance • เปนนการสะท้อนกฎของสังคมที่ให้เราลบกขึ้นสู้เพื่อตัวเราเอง และไม่ยอมรับการแก้จจัว ความไม่สะดวกสบาย หรือหารหลอกใช้จจากผู้อื่น เราจจะต้องไม่อ่อนแอ ด้วยการ ปกป้องตัวเอง จจนอาจจะกลายเปนนการรังควานและกล่าวโทษผู้อื่น หรือสภาพแวดล้อม ให้คบณค่าเฉพาะแก่ตัวเองและบริบท โดยลดค่าของผู้อื่นลง • การกล่าวโทษคนอื่นทาให้เราตัดขาดความสัมพันธ์กับคนรอบตัว และเมื่อเริ่มตระหนัก ในความโดดเดี่ยว กนมักจจะบอกกับตัวเองว่า ถ้าไม่ใช่เพื่อคนอื่นแล้ว เรากนคงสบายดี • เราจจะมีท่าทียืนหลังตรง ชี้นิ้วเหยียดไปที่คนๆ หนึ่ง เพื่อที่จจะทาให้คนๆ นั้นกลัวเรา ก้าว เท้าข้างหนึ่งไปข้างหน้า และเพื่อรักษาสมดบลของร่างกายเราจจะเอามือเท้าสะโพกไว้ ใบหน้าจจะเขมนง ขมวดคิ้ว เกรนงกล้ามเนื้อใบหน้า ซึ่งแม้เราจจนทรมานแต่เพื่อเอาตัวรอด กนจจะมีท่าทีเช่นนี้ให้รู้สึกว่าข่มคนอื่นได้ Self ContextOther “ฉันจจะฟาดแกให้ตายเลย เพราะแกคน เดียวที่ทาให้ฉันวบ่นวายไปหมดแบบนี้” “เธอต้องทาแบบนี้!...เข้าใจจไหม?”
  • 93. ถ้อยคา การแสดงออกทางอารมณ์ พฤติกรรม ไม่เหนนด้วย: “เธอไม่เคยทาอะไรถูกต้องเลยสักอย่าง” “เธอจจะอยู่ยังไงถ้าไม่มีฉันคอยบอกแบบนี้” “มันเปนนความผิดของเธอที่ทาให้เปนนแบบนี้” กล่าวโทษ “ที่นี่ฉันเปนนใหญ่ (ถูกเสมอ)” วางท่าแสดงอานาจจ ท่าทีเขมนงเกรนง ใบหน้า แขนงกร้าว โจจมตี ตัดสิน บงการ จจับผิด ประสบการณ์ของโลกภายใน ผลต่อจิตใจ ผลต่อร่างกาย แยกตัว “ฉันเหงา และไม่ประสบความสาเรนจจเลย” หวาดระแวง เกเร มีแนวโน้มที่จจะแสดงออก ด้วยการใช้ความรบนแรง ปัญหาระบบไหลเวียนโลหิต ความดันโลหิต สูง โรคข้ออักเสบ หอบหืด กล้ามเนื้อตึงเกรนง ปวด มองข้ามคนอื่น การตอบสนองแบบกล่าวโทษ ขุมทรัพย์: แน่ว แน่ กล้า แสดงออก
  • 94. Placating stance • เมื่อเรายอมตามกนเหมือนกับว่าเราไม่คานึงถึงความรู้สึกทั้งหลายเกี่ยวกับการมี คบณค่าของเรา ส่งมอบอานาจจของเราให้แก่คนอื่น และตอบรับในทบกๆ เรื่อง จจนอาจจ กลายเปนนการปฏิเสธความนับถือในตนเอง ส่งสารไปยังผู้อื่นว่าตัวเรานั้นไม่มี ความสาคัญ • เมื่อเรายอมตามเราจจะฝืนทาดีกับคนอื่น โดยซ่อนอาการกัดฟันแน่น และโกหกได้ อย่างแนบเนียน อาจจรีบร้อนเข้าไปแก้ปัญหา ให้เวลา เงินทอง แม้กระทั่งชีวิตเพื่อให้ ปัญหาบรรเทาเบาบางลง • เราจจะคบกเข่ากับพื้น ยกมือข้างหนึ่งและยื่นออกในท่าทีของการวิงวอน มืออีกข้าง หนึ่งวางบนหัวใจจ หรืออาจจจจะคบกเข่าลง วางมือข้างหนึ่งยันพื้นเพื่อช่วยพยบงตัว ส่วน มืออีกข้างหนึ่งปัดป้องการถูกตี Self ContextOther “ฉันไม่มีค่า ฉันไม่น่ารัก” “ฉันควรทาดีกับคนอื่นเสมอ” “ฉันไม่ควรทาให้คนอื่นโกรธ” “มันเปนนความผิดของฉันเอง” ฉันต้องการที่จจะทาทบกอย่างเพื่อคบณ ถ้าคบณเหนน ฉันปกป้องหัวใจจ คบณอาจจไม่ฆ่าฉันกนได้
  • 95. การตอบสนองแบบยอมตาม ถ้อยคา การแสดงออกทางอารมณ์ พฤติกรรม การเหนนด้วย: “ฉันผิดเองนั่นแหละ” “ฉันจจะเปนนอย่างไรถ้าไม่มีเธอ” “ฉันนอยู่ที่นี่เพื่อให้เธอมีความสบข” การวิงวอน “ฉันไม่ได้รับความข่วยเหลือ” ท่าทางและนาเสียงอ้อนวอน ท่าทีของ ร่างกายอ่อนกาลังลง ผู้เสียสละที่พี่งพิง (dependent martyr) ทาตัว “ดีเกินไป” ขอโทษ แก้ตัว หาข้ออ้าง เสียงแหบแห้ง วิงวอน ยอมจจานน ประสบการณ์ของโลกภายใน ผลต่อจิตใจ ผลต่อร่างกาย “ฉันไม่มีตัวตน” “ฉันไม่มีคบณค่า อาการทางประสาท ซึมเศร้า มีแนวโน้มจจะ ฆ่าตัวตาย ระบบการย่อยอาหารผิดปกติ โรคกระเพาะ อาหาร คลื่นไส้ เบาหวาน ไมเกรน ท้องผูก มองข้ามตนเอง ขุมทรัพย์: ความห่วงใย ความ

Notes de l'éditeur

  1. อิสรภาพที่จะได้เห็น และได้ยินสิ่งที่เป็นอยู่ตรงนี้ แทนที่จะเห็นและได้ยินสิ่งที่ควรเป็น เป็นไปแล้ว หรือจะเป็น อิสรภาพที่จะพูดในสิ่งที่คุณรู้สึกและคิด แทนที่จะพูดในสิ่งที่ควรจะพูด อิสรภาพที่จะได้รู้สึกอย่างที่คุณรู้สึก แทนที่จะรู้สึกอย่างที่ควรรู้สึก อิสรภาพที่จะร้องขอในสิ่งที่ต้องการ แทนที่จะรอคอยคำอนุญาตจากคนอื่น อิสรภาพที่จะเสี่ยงด้วยตนเอง แทนที่จะเลือกเพียงความมั่นคงปลอดภัย และไม่สร้างปัญหา
  2. อิสรภาพที่จะได้เห็น และได้ยินสิ่งที่เป็นอยู่ตรงนี้ แทนที่จะเห็นและได้ยินสิ่งที่ควรเป็น เป็นไปแล้ว หรือจะเป็น อิสรภาพที่จะพูดในสิ่งที่คุณรู้สึกและคิด แทนที่จะพูดในสิ่งที่ควรจะพูด อิสรภาพที่จะได้รู้สึกอย่างที่คุณรู้สึก แทนที่จะรู้สึกอย่างที่ควรรู้สึก อิสรภาพที่จะร้องขอในสิ่งที่ต้องการ แทนที่จะรอคอยคำอนุญาตจากคนอื่น อิสรภาพที่จะเสี่ยงด้วยตนเอง แทนที่จะเลือกเพียงความมั่นคงปลอดภัย และไม่สร้างปัญหา
  3. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไม่สามารถแยกออกจากกันได้ แต่จะคาบเกี่ยวกัน
  4. ความเชื่อรากฐาน (Primitive belief) เป็นความเชื่อที่รับรู้จากอายตนะ หรือประสาทสัมผัสทั้ง 5 ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงความเชื่อนั้นเป็นไปได้ยากหรือแทบจะเป็นไปไม่ได้เลย เราแต่ละคนได้สั่งคมความเชื่อเช่นนั้นมาตั้งแต่ยังเด็ก และเป็นแกนกลางของโครงสร้างความเชื่อของเราแต่ละคน เมื่อเวลาผ่านไปเราจะยิ่งพัฒนาความเชื่อนี้ให้มีความแข็งแกร่งมากขึ้น และประสบการณ์ของเราจะช่วยพิสูจน์กลั่นกรองความเชื่อนี้ ความเชื่อจากการเรียนรู้ (Learned belief) เป็นความเชื่อที่เกิดจากประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ความเชื่อเช่นนี้ไม่ได้แข็งแกร่งแน่นหนาเช่นเดียวกับความเชื่อประเภทแรก หากมีประสบการณ์ใหม่เกิดขึ้นย่อมทำให้เกิดการเรียนรู้ใหม่เกิดขึ้นได้ ความเชื่อจากการสรุป (Derived belief) เป็นความเชื่อที่ไม่ได้เกิดจากการประสบการณ์ตรง แต่สรุป
  5. กระบวนการสร้างและพัฒนาทัศนคติ ทัศนคติเป็นความชอบหรือไม่ชอบของเราแต่ละคน ในขณะที่ความเชื่อเป็นทัศนะของเราต่อสิ่งแวดล้อม แสดงให้เห็นถึงสัมพันธภาพของเรากับเหตุการณ์หรือบุคคล หรือแม้กระทั่งสัมพันธภาพของเหตุการณ์ต่อเหตุการณ์ก็ตาม ทั้งทัศนคติและความเชื่อนั้นเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถสังเกตได้ เป็นเพียงสภาพการรับรู้และจิตสำนึกของเรา หากจะอธิบายง่ายๆ เราอาจะกล่าวได้ว่า ทัศนคติเป็นแนวโน้มของคนๆ หนึ่งที่มีต่อสิ่งเร้า หรือเรื่องบางเรื่อง เป็นผลรวมของความรู้สึก อคติ ความกลัว ความคิดความรู้สึกต่างๆ ที่มีอยู่เรื่องหนึ่งๆ รวมทั้งเราพบว่าทัศนคติมีความสัมพันธ์กับความเชื่อ หรือ “โลกทัศน์ท
  6. ฟิชบายน์ได้พัฒนาทฤษฎีความคาดหวัง-ค่านิยม (Expectancy value theory) ซึ่งเชื่อว่ามีความเชื่ออยู่ 2 ชนิด คือ ความเชื่อใน (Belief in) และความเชื่อเกี่ยวกับ ( ทัศนคติที่มีต่อวัตถุหนึ่งหรือแนวคิดหนึ่ง เท่ากับผลรวมของความเชื่อแต่ละอย่างคูณกับผลการประเมินค่าของมัน