SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  95
ชีวิตเริ่มต้นอย่างไร น . พ . มานิตย์ แสนมณีชัย
 
 
 
 
ภาพขยายตัวอ่อนระยะที่ กำลังจะผังตัวในผนังมดลูก ตัวอ่อนในระยะที่กำลัง จะฝังตัวในผนังมดลูก ตัวอ่อนระยะต่างๆ ( ไข่ที่ถูกผสมแล้ว ) ท่อนำไข่ เชื้ออสุจิ เชื้ออสุจิ ตัวอสุจิ ไข่ที่ยังไม่ถูกผสม แสดงขบวนการปฏิสนธิและการฝังตัวของตัวอ่อน เชื้ออสุจิ ท่อนำไข่
Figure 5.2  Early development of the human central nervous system The brain and spinal cord begin as folding lips surrounding a fluid-filled canal. The stages shown occur at approximately age 2 to 3 weeks.
1. พันธุกรรม
ทารกเริ่มต้นชีวิตอย่างไร
การเริ่มต้นชีวิต  1-  กำเนิดของรก
การเริ่มต้นชีวิต  2-  กำเนิดของทารก
ทารกอายุ  4 – 20  สัปดาห์
 
6  สัปดาห์
8  สัปดาห์ สมอง ถุงน้ำคร่ำ รก สายสะดือ ตา ตับ
12  สัปดาห์ ถุงน้ำคร่ำ สายสะดือ ตา หู  ม้าม
2D ultrasound
4D ultrasound  8-12 weeks  -  มีการเคลื่อนไหว
16  สัปดาห์ ถุงน้ำคร่ำ สายสะดือ รก หู
20  สัปดาห์ รก  สายสะดืด เพศหญิง ถุงน้ำคร่ำ
4D ultrasound  17-25 weeks  -  ทารกดูดนิ้ว
30  สัปดาห์ สายสะดือ ถุงน้ำคร่ำ
4D ultrasound  27 wks  ทารกถีบท้องแม่
36  สัปดาห์ ลูกอันทะ รก
4D ultrasound 28-34 wk. ทารก ลืมตา ยิ้ม หาว หัวเราะได้ในครรภ์
40   สัปดาห์
รก
การคลอด   1
ความวิตก กังวลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ และ คลอด
มีหลักฐานทางวิชาการ ที่ทำให้ทราบว่า ทารกในครรภ์ มีการพัฒนาระบบประสาทการรับรู้ทั้งหก ตลอดระยะเวลา  9  เดือน  เตรียมพร้อมเพื่อการอยู่รอดหลังคลอด
ทวาร หรือ หน้าต่างของ การรับรู้ ทั้ง  6   ของทารก ในครรภ์ได้เปิดอ้าเตรียมพร้อมที่จะรับการกระตุ้น  และพัฒนาเพื่อความอยู่รอดภายหลังการคลอด   ,[object Object],  การได้ยินเสียง   การมองเห็น     การเคลื่อนไหว   การรับรส   การรับกลิ่น ได้แก่
สมองลูกน้อยในครรภ์มีพัฒนาการอย่างไร ?
ทารกอายุครรภ์  3  สัปดาห์ ทารกอายุครรภ์  4  สัปดาห์ ทารกอายุครรภ์  7  สัปดาห์ ทารกอายุครรภ์  8  สัปดาห์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ตั้งแต่ เริ่มปฏิสนธิจนครบ  9  เดือน
ช่วง   โอกาสทอง   เวลาที่ควรกระตุ้น พัฒนาการสมองของลูกน้อย ปฏิสนธิ เกิด อายุของลูก 1  ปี 2  ปี “ Window of Opportunity” 6 ด . 25% 50% 75% 80% 90% 3   ปี ผู้ใหญ่ 100% ร้อยละของน้ำหนักสมองที่เพิ่มขึ้น ร้อยละของน้ำหนักสมองที่ เพิ่มขึ้น
เซลล์สมอง เซลล์สมอง เส้นใยประสาท รับสัญญาน เส้นใยประสาท ส่งสัญญาน จุดเชื่อมใยประสาท synapse
นิ้วมือ   =  dendrites มือ   = Cell body แขน   = Axon
 
 
Figure 5.3  Human brain at five stages of development The brain already shows an adult structure at birth, although it continues to grow  during the first year or so.  Video
 
ความเครียดขัดขวางการหลั่ง  neurotransmitter คลื่นไฟฟ้าสมอง  Neurotransmission การทำงานของสมอง ผ่านคลื่นไฟฟ้าสมอง
IQ  เฉลี่ย   90 – 110 ความฉลาด ปัจจัย  :  1.  กรรมพันธุ์ หรือ  Gene    2.  อาหาร   3.  สิ่งแวดล้อม หรือ  สิ่ง กระตุ้น
1. พันธุกรรม
รก สายสะดือ 2.   อาหาร แม่ทานอะไร ลูกได้สิ่งนั้น
1 .   โปรตีน   -   เนื้อ สัตว์ โดยเฉพาะปลาทะเลมากๆ -  นม  วันละ  2  แก้ว  ( นมที่เพิ่ม  DHA.Calcium Folate)   -  ไข่  แดง 2.   แป้ง   - ได้จากข้าว ก๋วยเตี๋ยว ขนมปัง ( ไม่ควรทานขนมหวานมาก  ) 3.   ไขมัน   -   ไม่ควรทานอาหาร ทอด หรือมันมาก แกงที่มีกะทิ 4.   วิตามิน   ได้จาก ผักใบเขีว ผลไม้ และยาวิตามินที่แพทย์ให้ ( ไม่ควรทานผลไม้ที่มีรสหวานจัดมาก เช่น เงาะ ทุเรียน ลำไย ) 5.   เกลือแร่  เช่น  ธาตุเหล็ก แคลเซี่ยม ไอโอดีน   สังกะสี   ควรได้ แร่ธาติโฟเรต ในช่วงก่อนและหลังตั้งครรภ์ระยะแรกๆ อาหารสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์
   ความเครียด สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อทารกในครรภ์       ความผูกพัน        สิ่งกระตุ้น
ตัวอย่างผลของสิ่งแวดล้อม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รูปเซลสมองลูกหนู - ในสิ่งแวดล้อมไม่ดี เซลสมองลูกหนู - ในสิ่งแวดล้อมมที่ดี University of California at Berkeley,  California Dr. Marian Diamond, Ph.D.
 
 
Robert M.Sapolski  : ความเครียดเรื้อรังจะหลั่งสาร  Cortisol  ซึ่งมีผลเสียต่อการ ทำงานของสมองส่วน  hippocampus   ที่เป็นส่วนควบคุมการ  เรียนรู้และ ความจำ โดยไปขัดขวางการหลั่ง  neurotransmitter Hippocampus ความเครียด Cortisol
ความเครียดขัดขวางการหลั่ง  neurotransmitter คลื่นไฟฟ้าสมองปกติ  Neurotransmission
มาตรฐาน  IQ. เฉลี่ยควรอยู่ที่ประมาณ  90 – 110 เด็กญี่ปุ่น   –  เกาหลี มี  IQ.   เฉลี่ย  104  จุค เด็กยุโรป  –  อเมริกา มี  IQ.   เฉลี่ย  98  จุค จากการสำรวจเมื่อเร็วๆนี้พบว่า  IQ  . โดยเฉลี่ยของเด็กไทยต่ำลง เด็กไทย   อายุ  6-12   มี  IQ.   เฉลี่ย  88  จุด อายุ  13-18   มี  IQ.   เฉลี่ย  87  จุค
 
จิตแพทย์วัยรุ่นเด็กและวัยรุ่น รพ . สวนปรุงกล่าวว่า   ปัจจุบัน พบว่า ปัญหาพฤติกรรมก้าวร้าว เอาแต่ใจตนเอง ในกลุ่มวัยรุ่นมีแนวโน้ม สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง  สาเหตุส่วนหนึ่ง เกิดจาก ความผิดปกติของ พฤติกรรมการเรียนรู้  อัน เนื่องมาจากการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม  เช่นการตามใจ หรือเข้มงวดเกินไป การปล่อยปละละเลย และ การถูกทารุณทางความคิด โดยที่พ่อแม่ไม่รู้ตัว พฤติกรรม  ก้าวร้าว เอาแต่ใจ จะแสดงออกทางพฤติกรรม การใช้ความรุนแรง พูดจาก้าวร้าว โกหก การลักขโมย ซึมเศร้า ติดเกมส์
สารฮอร์โมน สามารถผ่านทางรก รก สายสะดือ 3.  สิ่งแวดล้อม  -  มดลูก แม่เครียด ลูกเครียดด้วย  -  แม่สุข ลูกสุขด้วย
เสริมสร้างคุณภาพทารกในครรภ์ คลินิก โรงพยาบาลหัวเฉียว ปี   2535 รวม   168  รุ่น เริ่มเปิดให้การอบรมมาตั้งแต่
ทารกในครรภ์รับรู้-เรียนรู้ได้จริงหรือ? น . พ . มานิตย์ แสนมณีชัย
ทารกในครรภ์มีปฎิกริยาตอบสนองต่อเสียงนอกครรภ์ได้
 
ทารกจำเสียงหัวใจแม่ได้ และสงบเมื่อได้ยินหลังคลอด Dr.Hajime Murooka , University if Tokyo
Dr.Anthony   De Casper Psychologist  University of North Carolina  in Greensborro ,
เด็กคลอดก่อนกำหนด รับรู้และชอบฟังเสียงพ่อคุยด้วย
ลูกจำเสียงพ่อสวดมนต์ได้ตั้งแต่ในครรภ์
มีความสุข กลัวลูกไม่สมบูรณ์ วิตก - กังวล กลัวการคลอด กลัวสามีทอดทิ้ง กลัวลูกพิการ จะได้ลูกน่ารัก การตั้งครรภ์ กลัวแท้ง จะมีครอบครัวสมบูรณ์ จะได้ลูกฉลาด จะสมบัติ  ? สารแห่งความเครียด cortisol สารแห่งความสุข Endorphin Negative thinking Positivetive thinking
ความเครียด ส่งผลต่อพัฒนาการสมอง ความวิตก - กลัว พื้นฐานของแต่ละคน สามี  -  ญาติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การตั้งครรภ์  -  ความเครียด ทำความเข้าใจ ขาดความรู้ ความเชื่อผิดๆ
สมองและความเครียด ความเครียด ส่งผลต่อทุกระยะของการตั้งครรภ์ 1.Time of creation มีบุตรยาก 2. Time of conception and Implantation   ผลต่อไข่   ผลต่ออสุจิ   ผลต่อการฝังตัวของไข่ที่ผสมแล้ว 3. Embryonic period  การเจริญเติบโตช้า   บกพร่องทางปัญญา   คลอดก่อนกำหนด 4.Fetal period เด็กมีภาวะขาดออกซิเจน   พฤติกรรมผิดปกติ   Fetal programming
สมองและความเครียด ความเครียดเรื้อรัง   :  มีผลเปลี่ยนแปลง หรือเกิดความเสียหายต่อการ  เรียนรู้  หรืออาจถึงขั้นเซลสมองถูกทำลาย ความเครียดที่มีระยะยาวนานกว่า  30  นาที  :   จะทำให้สมองตกอยู่ในสภาพที่มีพลังงานน้อย ความเครียดที่คงอยู่นาน  :   ฮอร์โมนแห่งความเครียดจะมีผลทำลายสมองส่วนที่  รับผิดชอบต่อการส่งข้อมูล เพื่อเก็บความจำระยะยาว
สารฮอร์โมนแห่งความเครียด  ( Cortisol )  จะมีผลไปทำลายสมอง 1.  โดยเฉพาะส่วน  cortex   หรือพื้นผิว สมองที่ มีหน้าที่เกี่ยวกับความคิด  ความฉลาด 2.  สมองส่วนฮิปโปแคมปัส (Hippocampus) หรือส่วนที่เกี่ยวกับอารมณ์และความจำ  ทำให้สมองส่วนนี้มีขนาดลดลงกว่าเด็ก ปกติทั่วไปถึง  20-30% 3.  เมื่อผ่าสมองออกดู จะพบจุดเชื่อมต่อของ เส้นใยประสาท หรือ  synapse  มีน้อยกว่าเด็ก ปกติที่ไม่ถูกกระทบกระเทือนจิตใจจากความเครียด
“  ผลของความเครียดจะขึ้นกับระดับของ  cortisol   และ  ระยะเวลา ของความเครียด และจะมีผลเพียงชั่วคราว การทดลองในหนู ให้หนูที่ได้รับ  electrical shock   หรือ  ได้รับการ  ฉีดสาร  cortisol   วิ่งผ่านราง  เขาวงกตที่เคยวิ่งประจำ หนูจะหาทางออก ไม่ได้ในช่วงระยะเวลาระหว่าง  2   นาที -4 ชั่วโมง หลังได้รับการ   shock   หรือฉีดยา  เนื่องไม่สามารถเข้าถึงศูนย์เก็บความจำในช่วงเวลาดังกล่าวได้ (  ระดับ  cortisol   จะสูงสุด เมื่อ  30  นาทีหลัง  shock  )   James MaGaugh  (Center for Neurobiology of Learning and Memory Irvine UC.)
สมองแห่งการเรียนรู้ ความเครียด   หรือการถูกข่มขู่ มีผลเปลี่ยนแปลง หรือเกิดความเสียหายต่อการเรียนรู้  หรืออาจถึงขั้นเซลสมองถูกทำลาย ความเครียด  ที่มีระยะยาวนานกว่า  30  นาที จะทำให้สมองตกอยู่ในสภาพที่มีพลังงานน้อย ความเครียด  ที่คงอยู่นาน ฮอร์โมนแห่งความเครียดจะมีผลทำลายสมองส่วนที่รับผิดชอบต่อการส่งข้อมูล เพื่อเก็บความจำระยะยาว
James MaGaugh   (Center for Neurobiology of Learning and MemoryIrvine UC. ร่วมกับ  University of Zurich) “ ระดับ   stress hormone Cortisol  ที่สูงมากๆ จะทำให้ความสามารถ ที่ฟื้นความจำที่ได้รับมานาน  (long term memory )  เสื่อมลง  แต่จะไม่มีผลต่อ ความจำที่เพิ่งได้รับ   (recent memory)” การศึกษาทดลองในคน 2000 study ” แบ่งผู้ใหญ่สุขภาพดี  36  คนเป็น  2   กลุ่ม กลุ่ม   1. ให้กินยา   cortisone   กลุ่ม  2. ได้ยาหลอก  แล้วให้ดูและจำคำศัพท์   60   คำ จากจอคอมพิวเตอร์ นานคำละ  4  วินาที แล้วทดสอบความสามารถในการจำ  ทันที และ  1  วันต่อมา พบว่า กลุ่มได้ยา จะสูญเสียความจำมากเมื่อได้รับยา  1  ชั่วโมงก่อน การทดสอบความจำ คำศัพท์ เพราะเป็นช่วงที่  cortisol สูงสุด
อยากให้ลูก อารมณ์ดี พัฒนาการดี ฉลาด ต้อง  ทำลายความเครียด   -   สร้างความผูกพัน หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่เป็นลบ   และส่งเสริม  ให้สิ่งแวดล้อมที่เป็นบวก  แก่ลูกน้อยในครรภ์
เสริมสร้างคุณภาพทารกในครรภ์ คลินิก โรงพยาบาลหัวเฉียว ปี   2535 รวม   168  รุ่น เริ่มเปิดให้การอบรมมาตั้งแต่
ทำไม ? ต้องมีคลินิกพัฒนาลูกน้อยในครรภ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2 .   หน้าต่างประสาทการรับรู้  ( Senses)  ของ ทารกเปิดอ้าพร้อมรับการกระตุ้น ตั้งแต่ในครรภ์ เพื่อเตรียมตัวมาสู่โลก ภายนอก  3.   สิ่งแวดล้อมที่เป็น  บวก  หรือ  ลบ  มีผลต่อ การพัฒนาทางสมองของทารกในครรภ์   4.   คลินิกพัฒนาคุณภาพทารกจึง   เป็นการ เตรียมความพร้อม เพื่อทำ สมอง  (Hard wear )   ให้มีศักยภาพ ในการรับข้อมูลได้สูงสุด ภายใต้พันธุ์กรรมที่กำหนดมา  และ  ได้อาหารที่สมบูรณ์ถูกต้อง โดยนำ  สิ่งแวดล้อมที่เป็นบวกมากระตุ้น   ทำไม ? ต้องมีคลินิกพัฒนาลูกน้อยในครรภ์
กิจกรรม 1.  ดูภาพ  -  ฟังเพลง  2.  ผ่อนคลายกาย  /  ใจ  3.  จินตนาการ  / หายใจ  4 .  ลดกังวล  /  กลัวคลอด  5 .  สร้างความมั่นใจการคลอด  6 .  นวดเฟ้น 7.  ฝึกสมาธิ Program 1.  พัฒนาการอารมณ์ หวังผล หลักการ   A  ทำลายความเครียด  -  สร้างความผ่อนคลาย  กระตุ้นสารแห่งความสุข B  กระตุ้นความผูกพัน   C.  การกระตุ้น และสร้าง   สิ่งแวดล้อมที่ดี   SERVE A+B ผล   1.  อารมณ์ดี เลี้ยงง่าย  ไม่ร้องกวน 2.  เรียนรู้เร็ว  พัฒนาการดี กิจกรรม Serve  C หวังผล 1.  ระบบ ได้ยิน  2.  ระบบ สัมผัส  3.  ระบบ มองเห็น  4.  ระบบ คลื่อนไหว Program  II  พัฒนาประสิทธิภาพ ระบบ
  1.   การทำลายความเครียด  –  สร้างความผ่อนคลาย ☺   การดูภาพ ฟังเพลง ☺ การผ่อนคลาย ทาง และจิตใจ ☺  การจินตนาการ ☺  การฝึกการหายใจ ☺  การนวด เฟ้น ☺  การลดวามวิตก กังวล กลัวคลอด ☺  การสร้างความมั่นใจในการคลอด 2.  การสร้าวความผูกพัน
 
ขอให้คุณพ่อลองนึกถึงภาพ ถ้าตัวเองต้องตั้งครรภ์
ความรัก - ความผูกพันของพ่อ - แม่ - ลูกในครรภ์
ดูภาพสวยๆ งามๆ
ดูภาพสวยๆ งามๆ
การฟังเพลงโปรดเพระๆ
สารฮอร์โมนแห่งความสุข ผ่านทางรกได้ รก สายสะดือ
โครงการจิตประภัสสร ตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์
โครงการจิตประภัสสร ตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์
เด็กอารมณ์ดี ทำให้ทุกคนมีความสุข
จบตอนที่  1 กำเนิดของชีวิต  การพัฒนาของสมอง - ทารก ทารกรับรู้ตั้งแต่ในครรภ์ พบกับตอนที่   2 เดือนกันยายน  เรื่อง กระตุ้นพัฒนาการลูกในครรภ์ได้จริงหรือ ผลของการสื่อสารกับลูกน้อยในครรภ์
THE END สวัสดี
ทารกในครรภ์จำและตอบสนองต่อนิทานที่เคยฟังได้
คุณแม่ณัฐชัน พลเยี่ยม   -   น้องเทียน - เทียน  3   ขวบ  2  เดือน
น้องเทียน - เทียน  3   ขวบ  2  เดือน คุณแม่ณัฐชัน พลเยี่ยม 083-916-0008
 

Contenu connexe

Tendances

การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์CUPress
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์bio2014-5
 
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชายระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชายTiwapon Wiset
 
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์สงบจิต สงบใจ
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์natthineechobmee
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนWichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนNok Tiwung
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตNatthinee Khamchalee
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงJanejira Meezong
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม่Jutharat
 

Tendances (20)

การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์
 
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชายระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Lesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowthLesson5animalgrowth
Lesson5animalgrowth
 
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 
Lessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowthLessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowth
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
 
ระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คน
 
สืบพันธุ์
สืบพันธุ์สืบพันธุ์
สืบพันธุ์
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
 

En vedette

ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...Prachoom Rangkasikorn
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
Developmental biology sp2
Developmental biology sp2Developmental biology sp2
Developmental biology sp2Wan Ngamwongwan
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23Phet103
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10pop Jaturong
 
Multiplatform & Multiscreen Ecosystem
Multiplatform & Multiscreen EcosystemMultiplatform & Multiscreen Ecosystem
Multiplatform & Multiscreen EcosystemBertram Gugel
 
From Cowboy To Astronaut: Lessons From The Trail, New Worlds On The Horizon
From Cowboy To Astronaut: Lessons From The Trail, New Worlds On The HorizonFrom Cowboy To Astronaut: Lessons From The Trail, New Worlds On The Horizon
From Cowboy To Astronaut: Lessons From The Trail, New Worlds On The HorizonJeremy Fuksa
 
The Trotternish Landslides
The Trotternish LandslidesThe Trotternish Landslides
The Trotternish LandslidesAlan Doherty
 
Lancering digitale collectie (2012-06-28)
Lancering digitale collectie (2012-06-28)Lancering digitale collectie (2012-06-28)
Lancering digitale collectie (2012-06-28)Geert Wissink
 
AVANET Seminar - Digitale Collectie Nederland & EUscreen
AVANET Seminar - Digitale Collectie Nederland & EUscreenAVANET Seminar - Digitale Collectie Nederland & EUscreen
AVANET Seminar - Digitale Collectie Nederland & EUscreenGeert Wissink
 
Perth storm 2012
Perth storm 2012Perth storm 2012
Perth storm 2012Eugene Koh
 
Alternative Design Workflows in a "PostPSD" Era
Alternative Design Workflows in a "PostPSD" EraAlternative Design Workflows in a "PostPSD" Era
Alternative Design Workflows in a "PostPSD" EraJeremy Fuksa
 
Navigating GeoJuice
Navigating GeoJuiceNavigating GeoJuice
Navigating GeoJuiceAlan Doherty
 
Deep Blue General Presentation
Deep Blue General PresentationDeep Blue General Presentation
Deep Blue General Presentationguesta0ecf6
 
Marco Mancarella, eVoting. Dalle esperienze sud-americane a quella salentina
Marco Mancarella, eVoting. Dalle esperienze sud-americane a quella salentinaMarco Mancarella, eVoting. Dalle esperienze sud-americane a quella salentina
Marco Mancarella, eVoting. Dalle esperienze sud-americane a quella salentinaAndrea Rossetti
 

En vedette (20)

ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
 
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
Top asian universities
Top asian universitiesTop asian universities
Top asian universities
 
Developmental biology sp2
Developmental biology sp2Developmental biology sp2
Developmental biology sp2
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
 
Haikuls
HaikulsHaikuls
Haikuls
 
Multiplatform & Multiscreen Ecosystem
Multiplatform & Multiscreen EcosystemMultiplatform & Multiscreen Ecosystem
Multiplatform & Multiscreen Ecosystem
 
From Cowboy To Astronaut: Lessons From The Trail, New Worlds On The Horizon
From Cowboy To Astronaut: Lessons From The Trail, New Worlds On The HorizonFrom Cowboy To Astronaut: Lessons From The Trail, New Worlds On The Horizon
From Cowboy To Astronaut: Lessons From The Trail, New Worlds On The Horizon
 
Wordpress Ecosystems
Wordpress EcosystemsWordpress Ecosystems
Wordpress Ecosystems
 
The Trotternish Landslides
The Trotternish LandslidesThe Trotternish Landslides
The Trotternish Landslides
 
Lancering digitale collectie (2012-06-28)
Lancering digitale collectie (2012-06-28)Lancering digitale collectie (2012-06-28)
Lancering digitale collectie (2012-06-28)
 
AVANET Seminar - Digitale Collectie Nederland & EUscreen
AVANET Seminar - Digitale Collectie Nederland & EUscreenAVANET Seminar - Digitale Collectie Nederland & EUscreen
AVANET Seminar - Digitale Collectie Nederland & EUscreen
 
Perth storm 2012
Perth storm 2012Perth storm 2012
Perth storm 2012
 
Alternative Design Workflows in a "PostPSD" Era
Alternative Design Workflows in a "PostPSD" EraAlternative Design Workflows in a "PostPSD" Era
Alternative Design Workflows in a "PostPSD" Era
 
Navigating GeoJuice
Navigating GeoJuiceNavigating GeoJuice
Navigating GeoJuice
 
Deep Blue General Presentation
Deep Blue General PresentationDeep Blue General Presentation
Deep Blue General Presentation
 
Marco Mancarella, eVoting. Dalle esperienze sud-americane a quella salentina
Marco Mancarella, eVoting. Dalle esperienze sud-americane a quella salentinaMarco Mancarella, eVoting. Dalle esperienze sud-americane a quella salentina
Marco Mancarella, eVoting. Dalle esperienze sud-americane a quella salentina
 

Similaire à เสถียรธรรมสถาน1 Copy

พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50chugafull
 
....
........
....MM AK
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50yyyim
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50Weerachat Martluplao
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีSuwicha Tapiaseub
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50wayosaru01
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 

Similaire à เสถียรธรรมสถาน1 Copy (20)

พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
....
........
....
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 

เสถียรธรรมสถาน1 Copy