SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
เสียงและงานเสียง
ในการผลิตรายการวิทยุ
อ.สกุลศรี ศรีสารคาม
เสียงในการผลิตวิทยุ
ความสาคัญของ
เสียงในงานวิทยุ
เป็นวัตถุดิบในการ
ผลิตรายการ
เป็นสารที่สื่อถึงผู้ฟัง
ช่วยให ้การผลิต
รายการบรรลุ
วัตถุประสงค์
สร ้างสีสัน
ไม่น่าเบื่อ
เกิดจินตนาการ
ให ้เกิดอารมณ์คล ้อยตาม
เสียงในการผลิตวิทยุ
เสียงพูด
(voice)
เสียงเพลง
(music)
เสียงประกอบ
(sound effect)
การผลิตรายการวิทยุที่ดีต ้องสามารถเลือกใช ้เสียงต่างๆ มาประกอบกันได ้อย่างเหมาะสม
ใช้เสียงได้ดี
เล่าเรื่องราวเสริมกัน
ได้กลมกลืน
ทาให้เข้าใจเรื่องราวที่
เล่าได้ชัดเจนขึ้น
สร้างสีสัน เพลิดเพลิน
อยากติดตาม
ใช้เสียงล้มเหลว
ไม่ได้ช่วยเล่าเรื่อง สร้าง
สีสัน หรือทาให้เข้าใจ
มากขึ้น
ดึงดูดความสนใจไป
จากเนื้อหาหลัก
เสียงพูด
• เสียงบรรยาย (Voice Over) ผู้บรรยายถ่ายทอด
เนื้อหาจากบทรายการสู่ผู้ฟัง
ประกอบด ้วย
-เสียงบรรยายชาย (male voice over: MVO)
-เสียงบรรยายหญิง (female voice over: FVO)
Remember!!!
-ออกเสียงอักขระ ภาษาถูกต ้อง
-ใช ้ลีลา เทคนิคการพูดเหมาะสมกับรายการ
-มีอารมณ์ ความรู้สึก ยิ้มเวลาพูด รู้สึกว่าคุยกับ
ผู้ฟัง
- ผู้โดยเข ้าใจความหมายของสิ่งที่พูด “อย่าเอา
แต่อ่านโดยไม่เข ้าใจ”
-เป็นธรรมชาติ
เสียงพูด
• เสียงสนทนา (Dialogue) เสียงสนทนาหรือเจรจา
ระหว่างตัวละคนในละครวิทยุ ถ่ายทอดอารมณ์และลีลา
• เสียงสัมภาษณ์
(interview)
• Vox Pop ใช้สารวจความ
คิดเห็น
เสียงเหล่านี้ สามารถนามาใช ้เป็ นส่วนประกอบใน
รายการวิทยุได ้หลากหลายวิธี เช่น เสียงสนทนาอาจใช ้
ในรูปการจาลองเหตุการณ์เพื่อให ้เข ้าใจเรื่องมากขึ้น
เสียงสัมภาษณ์นามาเล่าเรื่องสลับกับเสียงบรรยาย และ
Vox Pop ก็สามารถนามาเปิดเรื่อง หรือเป็นส่วนเสริม
ของเรื่องได ้
ต ้องเลือกใช ้ตามลักษณะที่เหมาะสม และเลือกวางไว ้
ในแต่ละช่วงของรายการแบบสมดุล
เสียงเพลง (music)
• เสียงเพลงบรรเลง
- เลือกใช ้ให ้เหมาะกับประเภทรายการ อารมณ์ของ
รายการ และเนื้อหาของรายการ
• เสียงเพลงร้อง
- ไม่ควรนามาเปิดคลอเสียงพูดเพราะจะทาให ้ดึงความ
สนใจไปจากเนื้อหา (ยกเว ้นในรายการเพลง)
- เพลงที่มีเนื้อร ้อง ระวังเรื่องเนื้อหาของเพลง ต ้อง
สอดคล ้องกับเรื่องที่นาเสนอ
- ใช ้เพลงมีเนื้อร ้องมาเสริมเนื้อหา..นาเข ้าสู่เนื้อหา..ขยายความ
เนื้อหาได ้
เสียงเพลง (music)
การนาเสียงเพลงหรือเสียงดนตรีมาใช้ทา
ได้ 3 ลักษณะ คือ
• เปิดคลอ : เปิดคลอไปพร ้อมกับเสียงพูด ต ้องระวัง
ไม่ให ้รบกวนเสียงพูด เพื่อช่วยสร ้างสีสันและลด
ความน่าเบื่อ
• เปิดคั่น : เชื่อมช่วงต่างๆ เมื่อต ้องมีการเปลี่ยนเรื่อง /
พักช่วง / เปลี่ยนอารมณ์ ต ้องเลือกให ้ตรงกับเนื้อหา
ยิ่งเสริมเนื้อหา หรือช่วยนาเข ้าสู่เนื้อหาด ้วยจะดี การ
เปิดคั่นเพื่อให ้ผู้ฟังได ้ผ่อนคลาย พักหู มีโอกาสจา
และติดตามต่อไป
• เปิดประกอบ
– เพลงประจารายการ
– เปิดปิดรายการ
– เปิดเพื่อสร้างอารมณ์ ความรู้สึก สร้างฉาก เปิดฉาก
**เพลงมีลิขสิทธิ์ ถ ้าเอา
มาใช ้รายได ้ทางธุรกิจ
หรือเป็นเพลงประกอบการ
โฆษณา ต ้องขออนุญาต
หรือว่าจ้างทาเพลงใหม่ก็
ได ้
เสียงเพลง (music)
ดนตรีพื้นบ้านหรือพื้นเมือง (Folk Music)
เพลงที่มีวิธีร ้องวิธีเล่นถ่ายทอดกันมา เช่น เพลงเรือ
เพลงลาตัด หรือพวกเพลงท ้องถิ่น เช่นดนตรี
พื้นเมืองอีสานมีแคน โปงลาง
** เลือกใช ้สร ้างบรรยากาศให ้เหมาะกับเรื่องได ้/ ใช ้
บอกถิ่นที่มาของเรื่องได ้
ดนตรีศิลปะ (Art Music)
เพลงที่แต่งขึ้นอย่างตั้งใจ มีระเบียบแบบแผน เช่น
เพลงคลาสสิค ดนตรีไทย
เพลงโดยวงปี่พาทย์ – พิธีขึ้นบ ้านใหม่ โกนจุก ทาบุญวันเกิด มหรสพ
เพลงโดยวงเครื่องสาย – ใช ้ในงานมงคล เช่น ขึ้นบ ้านใหม่ วันเกิด
เพลงโดยวงมโหรี – งานแต่งงาน งานเลี้ยง ทาบุญอายุ ขึ้นบ ้านใหม่
เพลงโดยวงปี่พาทย์มอญ – ใช ้ในงานศพ
เพลงโดยวงปี่พาทย์นางหงส์ – งานศพ
เพลงมหาฤกษ์ – เพลงเกียรติยศของข ้าราชการ งานมงคล แข่งกีฬา เปิดงาน
เสียงเพลง (music)
อารมณ์
ของ
ดนตรี
ต่างๆ
ไวโอลิน เสียงเล็กแหลม
สดใส อ่อนหวาน เคลิ้มก็ได ้
คึกคักก็ได ้ เบนโจ เพลงลูกทุ่ง
ตะวันตก
ฮาร์พ ทาเสียงละออง
น้า น้าวน หรือเหาะเหิน
เดินอากาศ
อีเลคโทน ใช ้ทาเสียงเลียน
ธรรมชาติ เช่นฝนตก ลมพัด
รถไฟ และเลียนเสียงเครื่อง
ดนตรีอื่นๆ
ปิคโคโล เสียงแหลม
เล็กเหมาะสาหรับเล่น
เสียงนก
ฮอร์น เสียงโปร่ง เบา นิ่ม
นวล ให ้ความรู้สึกสง่าผ่า
เผย
ทรัมเป๊ ท ปลุกใจ
ตื่นเต ้น รุกเร้า
บาซูน เสียงแหบต่า
ใช ้ทาเสียงตลก
บรรยายลึกลับ
หมาดกลัว
หม่นหมอง
เชลโล นิ่มนวล ลึกซึ้ง
แสดงอารมณ์เศร้า
หม่นหมอง
เสียงประกอบ (sound effect)
2
1 เสียงธรรมชาติ
มีอยู่ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม เช่น กรน
หาว จาม หัวเราะ สุนัขหอน ไก่ขัน ลม
พัด ฝนตก น้าหยด เสียงรถพยาบาล
นาฬิกาปลุก แก้วแตก เป
็ นต้น
เสียงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น
สร้างขึ้นมาเพื่อเติมเต็มจินตนาการใน
การจัดรายการ สร้างความสนุกสนาน
สีสันในรายการ
ข้อคิดในการใช้ sound effect
-อย่าใช ้พร่าเพรื่อ มากเกินไป ต ้องใช ้ให ้พอดี เหมาะสมกับเรื่อง เสริมเรื่อง และเลือกใช ้ในที่ ในจังหวะที่
เหมาะสม
- ใช ้เปิดเรื่อง เชื่อมเรื่อง นาเข ้าสู่ประเด็น สร้างสีสัน สร้างบรรยากาศ สร้างอารมณ์
- เวลาคิดว่าจะเลือกใช ้ sfx อะไรดี ให ้หลับตานึกภาพว่า ได ้ยินเสียงอะไรแล ้วจะทาให ้เราเข ้าใจเรื่องได ้
มากขึ้น
- พยายามคิดถึงสิ่งรอบๆ ตัว เสียงต่างๆ ที่เกี่ยวข ้องกับเรื่องที่กาลังเล่า
- เวลาลงพื้นที่เก็บข ้อมูล ควรอัดเสียงบรรยากาศต่างๆ รอบๆ ตัวมาด ้วย – Actuality (เสียงจริงใน
เหตุการณ์) สามารถนามาใช ้เป็น sfx ที่สมจริงได ้
- ระวังการใช ้ sfx ให ้ตรงกับวัฒนธรรม
- ถ ้าเลือกใช ้ได ้ดี sfx สามารถทาให ้เข ้าใจเรื่องได ้มากขึ้น ขยายความเรื่อง เน้นย้าให ้เรื่องที่เล่าชัดเจน
เสียงอื่นๆ ที่สามารถนามาใช้
ประกอบรายการ
เสียงคลิปวิดีโอ รายการ
ต่างๆ คลิปจากหนัง ละคร
คลิปข่าว
การจาลองเหตุการณ์
ละครวิทยุ
จาลองเหตุการณ์ด ้วยละคร
เสียงจากเหตุการณ์จริง
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
การเพิ่มระดับเสียง จากเงียบค่อยๆ ดัน fader เอาเสียงขึ้น
การลดระดับเสียง จากเสียงที่ดังอยู่
ค่อยๆ ลดระดับเสียงลงจนเงียบไป
การควบคุมเสียงให ้เสียงหนึ่งคลอไปกับอีกเสียงหนึ่ง
การเร่งเสียงให ้ดังขึ้นจากระดับปกติอย่างรวดเร็ว
-ระหว่างรายการ ดีเจเร่งเสียงเพลงคลอดังขึ้นแล ้ว เบาลงอย่าง
รวดเร็วแล ้วพูดต่อ เป็นการสร้างสีสันให ้รายการ
-จบรายการ เร่งเสียงเพลงขึ้น ปล่อยให ้ดังอยู่สักครู่ แล ้ว fade out
Fade in
Fade out
Fade under
Fade up
การจางซ ้อนเสียง คือการเชื่อมเพลงสองเพลงให ้ต่อกันอย่าง
กลมกลืน
Cross fade
4
3
2
1
งานเสียง
Jingle
เสียงที่ใช้ในการเปิดปิดรายการ
Jingle outro – ปิดรายการ
Jingle intro - เปิดรายการ
Drop in / Dry Voice
เสียงพูดสั้นๆ ความยาว 1-3 วินาที
เปิดขณะเล่นเพลงในช่วงที่เป
็ นจังหวะ
ดนตรี ไม่มีเสียงร้อง อาจเป
็ นชื่อ
รายการ หรือ เป
็ นคาที่นามาใช้โดย
ไม่ได้สื่อความหมาย
Station ID
เสียงที่ใช้แนะนาสถานี เปิดตอนต้น
ชั่วโมง หรือตอนเปิด ปิดสถานี มีบอก
คลื่นความถี่ ผู้ผลิต สถานี สโลแกน
Sweeper
เสียงที่ใช้เชื่อมเพลงสองเพลงเข้า
ด้วยกัน เพื่อให้เกิดความกลมกลืน
6
5
Spot
งานเสียงเพื่อโฆษณา
สินค้าและบริการ
Spot promo
งานเสียงเพื่อประชาสัมพันธ์รายการ
หรือกิจกรรมต่างๆ ของสถานี
และการณรงค์สิ่งต่างๆ
ประเภทรายการวิทยุ
รายการ
พูดคุยกับผู้ฟัง
โดยตรง
รายการ
สารคดี
นิตยสารทาง
อากาศ
รายการ
ข่าว
รายการละคร
ถ่ายทอดนอก
สถานที่
รายการ
การแข่งขัน
รายการ
เพลง
รายการสนทนา /
รายการสัมภาษณ์
รายการ
Phone-in
สรุปการเลือกใช้เสียง
เหมาะสม
•ใช้ให้เหมาะกับ
เนื้อหา
• ใช้เท่าที่จาเป
็ น
• อย่าใช้มากเกินไป
จนทาให้ไม่น่าฟัง
• ใช้อย่างมี
จุดหมาย
• มีหน้าที่ มี
ประโยชน์บางอย่าง
ในเรื่อง
• รู้จังหวะการใช้
เพื่อสร้างสีสัน
ดึงดูดความสนใจได้
เสียงสำคัญ ถ้ำเลือกใช้ได้
เหมำะสม เล่ำเรื่องได้ เสริมควำม
สร้ำงอำรมณ์ น่ำสนใจ
พอดี แยบยล สร้างสีสัน

Contenu connexe

Tendances

ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
Sakulsri Srisaracam
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา
-sky Berry
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
พัน พัน
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
gingphaietc
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
อำนาจ ศรีทิม
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
Nattapakwichan Joysena
 

Tendances (20)

การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
ขั้นตอนการเขียนบทวิทยุ
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
ภาษาในสื่อวิทยุ
ภาษาในสื่อวิทยุภาษาในสื่อวิทยุ
ภาษาในสื่อวิทยุ
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 

Similaire à เสียงและงานเสียง

งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
phornphan1111
 
การออกเสียง
การออกเสียงการออกเสียง
การออกเสียง
patnid
 

Similaire à เสียงและงานเสียง (10)

เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
Sound for Radio Script
Sound for Radio ScriptSound for Radio Script
Sound for Radio Script
 
Sound for radio
Sound for radioSound for radio
Sound for radio
 
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
 
การออกเสียง
การออกเสียงการออกเสียง
การออกเสียง
 

Plus de Sakulsri Srisaracam

ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
Sakulsri Srisaracam
 

Plus de Sakulsri Srisaracam (20)

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingคู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
 
Online community & journalism
Online community & journalismOnline community & journalism
Online community & journalism
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
Reseachconvergence
ReseachconvergenceReseachconvergence
Reseachconvergence
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
 
Social TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySocial TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for Documentary
 
Newsreportprocess
NewsreportprocessNewsreportprocess
Newsreportprocess
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 
Digital Media & University
Digital Media & UniversityDigital Media & University
Digital Media & University
 
Irregularverb
IrregularverbIrregularverb
Irregularverb
 
Agreement of verb
Agreement of verbAgreement of verb
Agreement of verb
 
Adjectiveadverb
AdjectiveadverbAdjectiveadverb
Adjectiveadverb
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Adjective & Adverb
Adjective & AdverbAdjective & Adverb
Adjective & Adverb
 
News21century
News21century News21century
News21century
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
TV Production 2
TV Production 2TV Production 2
TV Production 2
 

เสียงและงานเสียง

  • 3. เสียงในการผลิตวิทยุ เสียงพูด (voice) เสียงเพลง (music) เสียงประกอบ (sound effect) การผลิตรายการวิทยุที่ดีต ้องสามารถเลือกใช ้เสียงต่างๆ มาประกอบกันได ้อย่างเหมาะสม ใช้เสียงได้ดี เล่าเรื่องราวเสริมกัน ได้กลมกลืน ทาให้เข้าใจเรื่องราวที่ เล่าได้ชัดเจนขึ้น สร้างสีสัน เพลิดเพลิน อยากติดตาม ใช้เสียงล้มเหลว ไม่ได้ช่วยเล่าเรื่อง สร้าง สีสัน หรือทาให้เข้าใจ มากขึ้น ดึงดูดความสนใจไป จากเนื้อหาหลัก
  • 4. เสียงพูด • เสียงบรรยาย (Voice Over) ผู้บรรยายถ่ายทอด เนื้อหาจากบทรายการสู่ผู้ฟัง ประกอบด ้วย -เสียงบรรยายชาย (male voice over: MVO) -เสียงบรรยายหญิง (female voice over: FVO) Remember!!! -ออกเสียงอักขระ ภาษาถูกต ้อง -ใช ้ลีลา เทคนิคการพูดเหมาะสมกับรายการ -มีอารมณ์ ความรู้สึก ยิ้มเวลาพูด รู้สึกว่าคุยกับ ผู้ฟัง - ผู้โดยเข ้าใจความหมายของสิ่งที่พูด “อย่าเอา แต่อ่านโดยไม่เข ้าใจ” -เป็นธรรมชาติ
  • 5. เสียงพูด • เสียงสนทนา (Dialogue) เสียงสนทนาหรือเจรจา ระหว่างตัวละคนในละครวิทยุ ถ่ายทอดอารมณ์และลีลา • เสียงสัมภาษณ์ (interview) • Vox Pop ใช้สารวจความ คิดเห็น เสียงเหล่านี้ สามารถนามาใช ้เป็ นส่วนประกอบใน รายการวิทยุได ้หลากหลายวิธี เช่น เสียงสนทนาอาจใช ้ ในรูปการจาลองเหตุการณ์เพื่อให ้เข ้าใจเรื่องมากขึ้น เสียงสัมภาษณ์นามาเล่าเรื่องสลับกับเสียงบรรยาย และ Vox Pop ก็สามารถนามาเปิดเรื่อง หรือเป็นส่วนเสริม ของเรื่องได ้ ต ้องเลือกใช ้ตามลักษณะที่เหมาะสม และเลือกวางไว ้ ในแต่ละช่วงของรายการแบบสมดุล
  • 6. เสียงเพลง (music) • เสียงเพลงบรรเลง - เลือกใช ้ให ้เหมาะกับประเภทรายการ อารมณ์ของ รายการ และเนื้อหาของรายการ • เสียงเพลงร้อง - ไม่ควรนามาเปิดคลอเสียงพูดเพราะจะทาให ้ดึงความ สนใจไปจากเนื้อหา (ยกเว ้นในรายการเพลง) - เพลงที่มีเนื้อร ้อง ระวังเรื่องเนื้อหาของเพลง ต ้อง สอดคล ้องกับเรื่องที่นาเสนอ - ใช ้เพลงมีเนื้อร ้องมาเสริมเนื้อหา..นาเข ้าสู่เนื้อหา..ขยายความ เนื้อหาได ้
  • 7. เสียงเพลง (music) การนาเสียงเพลงหรือเสียงดนตรีมาใช้ทา ได้ 3 ลักษณะ คือ • เปิดคลอ : เปิดคลอไปพร ้อมกับเสียงพูด ต ้องระวัง ไม่ให ้รบกวนเสียงพูด เพื่อช่วยสร ้างสีสันและลด ความน่าเบื่อ • เปิดคั่น : เชื่อมช่วงต่างๆ เมื่อต ้องมีการเปลี่ยนเรื่อง / พักช่วง / เปลี่ยนอารมณ์ ต ้องเลือกให ้ตรงกับเนื้อหา ยิ่งเสริมเนื้อหา หรือช่วยนาเข ้าสู่เนื้อหาด ้วยจะดี การ เปิดคั่นเพื่อให ้ผู้ฟังได ้ผ่อนคลาย พักหู มีโอกาสจา และติดตามต่อไป • เปิดประกอบ – เพลงประจารายการ – เปิดปิดรายการ – เปิดเพื่อสร้างอารมณ์ ความรู้สึก สร้างฉาก เปิดฉาก **เพลงมีลิขสิทธิ์ ถ ้าเอา มาใช ้รายได ้ทางธุรกิจ หรือเป็นเพลงประกอบการ โฆษณา ต ้องขออนุญาต หรือว่าจ้างทาเพลงใหม่ก็ ได ้
  • 8. เสียงเพลง (music) ดนตรีพื้นบ้านหรือพื้นเมือง (Folk Music) เพลงที่มีวิธีร ้องวิธีเล่นถ่ายทอดกันมา เช่น เพลงเรือ เพลงลาตัด หรือพวกเพลงท ้องถิ่น เช่นดนตรี พื้นเมืองอีสานมีแคน โปงลาง ** เลือกใช ้สร ้างบรรยากาศให ้เหมาะกับเรื่องได ้/ ใช ้ บอกถิ่นที่มาของเรื่องได ้ ดนตรีศิลปะ (Art Music) เพลงที่แต่งขึ้นอย่างตั้งใจ มีระเบียบแบบแผน เช่น เพลงคลาสสิค ดนตรีไทย เพลงโดยวงปี่พาทย์ – พิธีขึ้นบ ้านใหม่ โกนจุก ทาบุญวันเกิด มหรสพ เพลงโดยวงเครื่องสาย – ใช ้ในงานมงคล เช่น ขึ้นบ ้านใหม่ วันเกิด เพลงโดยวงมโหรี – งานแต่งงาน งานเลี้ยง ทาบุญอายุ ขึ้นบ ้านใหม่ เพลงโดยวงปี่พาทย์มอญ – ใช ้ในงานศพ เพลงโดยวงปี่พาทย์นางหงส์ – งานศพ เพลงมหาฤกษ์ – เพลงเกียรติยศของข ้าราชการ งานมงคล แข่งกีฬา เปิดงาน
  • 9. เสียงเพลง (music) อารมณ์ ของ ดนตรี ต่างๆ ไวโอลิน เสียงเล็กแหลม สดใส อ่อนหวาน เคลิ้มก็ได ้ คึกคักก็ได ้ เบนโจ เพลงลูกทุ่ง ตะวันตก ฮาร์พ ทาเสียงละออง น้า น้าวน หรือเหาะเหิน เดินอากาศ อีเลคโทน ใช ้ทาเสียงเลียน ธรรมชาติ เช่นฝนตก ลมพัด รถไฟ และเลียนเสียงเครื่อง ดนตรีอื่นๆ ปิคโคโล เสียงแหลม เล็กเหมาะสาหรับเล่น เสียงนก ฮอร์น เสียงโปร่ง เบา นิ่ม นวล ให ้ความรู้สึกสง่าผ่า เผย ทรัมเป๊ ท ปลุกใจ ตื่นเต ้น รุกเร้า บาซูน เสียงแหบต่า ใช ้ทาเสียงตลก บรรยายลึกลับ หมาดกลัว หม่นหมอง เชลโล นิ่มนวล ลึกซึ้ง แสดงอารมณ์เศร้า หม่นหมอง
  • 10. เสียงประกอบ (sound effect) 2 1 เสียงธรรมชาติ มีอยู่ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม เช่น กรน หาว จาม หัวเราะ สุนัขหอน ไก่ขัน ลม พัด ฝนตก น้าหยด เสียงรถพยาบาล นาฬิกาปลุก แก้วแตก เป ็ นต้น เสียงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น สร้างขึ้นมาเพื่อเติมเต็มจินตนาการใน การจัดรายการ สร้างความสนุกสนาน สีสันในรายการ ข้อคิดในการใช้ sound effect -อย่าใช ้พร่าเพรื่อ มากเกินไป ต ้องใช ้ให ้พอดี เหมาะสมกับเรื่อง เสริมเรื่อง และเลือกใช ้ในที่ ในจังหวะที่ เหมาะสม - ใช ้เปิดเรื่อง เชื่อมเรื่อง นาเข ้าสู่ประเด็น สร้างสีสัน สร้างบรรยากาศ สร้างอารมณ์ - เวลาคิดว่าจะเลือกใช ้ sfx อะไรดี ให ้หลับตานึกภาพว่า ได ้ยินเสียงอะไรแล ้วจะทาให ้เราเข ้าใจเรื่องได ้ มากขึ้น - พยายามคิดถึงสิ่งรอบๆ ตัว เสียงต่างๆ ที่เกี่ยวข ้องกับเรื่องที่กาลังเล่า - เวลาลงพื้นที่เก็บข ้อมูล ควรอัดเสียงบรรยากาศต่างๆ รอบๆ ตัวมาด ้วย – Actuality (เสียงจริงใน เหตุการณ์) สามารถนามาใช ้เป็น sfx ที่สมจริงได ้ - ระวังการใช ้ sfx ให ้ตรงกับวัฒนธรรม - ถ ้าเลือกใช ้ได ้ดี sfx สามารถทาให ้เข ้าใจเรื่องได ้มากขึ้น ขยายความเรื่อง เน้นย้าให ้เรื่องที่เล่าชัดเจน
  • 11. เสียงอื่นๆ ที่สามารถนามาใช้ ประกอบรายการ เสียงคลิปวิดีโอ รายการ ต่างๆ คลิปจากหนัง ละคร คลิปข่าว การจาลองเหตุการณ์ ละครวิทยุ จาลองเหตุการณ์ด ้วยละคร เสียงจากเหตุการณ์จริง
  • 12. คาศัพท์ที่เกี่ยวข้อง การเพิ่มระดับเสียง จากเงียบค่อยๆ ดัน fader เอาเสียงขึ้น การลดระดับเสียง จากเสียงที่ดังอยู่ ค่อยๆ ลดระดับเสียงลงจนเงียบไป การควบคุมเสียงให ้เสียงหนึ่งคลอไปกับอีกเสียงหนึ่ง การเร่งเสียงให ้ดังขึ้นจากระดับปกติอย่างรวดเร็ว -ระหว่างรายการ ดีเจเร่งเสียงเพลงคลอดังขึ้นแล ้ว เบาลงอย่าง รวดเร็วแล ้วพูดต่อ เป็นการสร้างสีสันให ้รายการ -จบรายการ เร่งเสียงเพลงขึ้น ปล่อยให ้ดังอยู่สักครู่ แล ้ว fade out Fade in Fade out Fade under Fade up การจางซ ้อนเสียง คือการเชื่อมเพลงสองเพลงให ้ต่อกันอย่าง กลมกลืน Cross fade
  • 13. 4 3 2 1 งานเสียง Jingle เสียงที่ใช้ในการเปิดปิดรายการ Jingle outro – ปิดรายการ Jingle intro - เปิดรายการ Drop in / Dry Voice เสียงพูดสั้นๆ ความยาว 1-3 วินาที เปิดขณะเล่นเพลงในช่วงที่เป ็ นจังหวะ ดนตรี ไม่มีเสียงร้อง อาจเป ็ นชื่อ รายการ หรือ เป ็ นคาที่นามาใช้โดย ไม่ได้สื่อความหมาย Station ID เสียงที่ใช้แนะนาสถานี เปิดตอนต้น ชั่วโมง หรือตอนเปิด ปิดสถานี มีบอก คลื่นความถี่ ผู้ผลิต สถานี สโลแกน Sweeper เสียงที่ใช้เชื่อมเพลงสองเพลงเข้า ด้วยกัน เพื่อให้เกิดความกลมกลืน 6 5 Spot งานเสียงเพื่อโฆษณา สินค้าและบริการ Spot promo งานเสียงเพื่อประชาสัมพันธ์รายการ หรือกิจกรรมต่างๆ ของสถานี และการณรงค์สิ่งต่างๆ
  • 15. สรุปการเลือกใช้เสียง เหมาะสม •ใช้ให้เหมาะกับ เนื้อหา • ใช้เท่าที่จาเป ็ น • อย่าใช้มากเกินไป จนทาให้ไม่น่าฟัง • ใช้อย่างมี จุดหมาย • มีหน้าที่ มี ประโยชน์บางอย่าง ในเรื่อง • รู้จังหวะการใช้ เพื่อสร้างสีสัน ดึงดูดความสนใจได้ เสียงสำคัญ ถ้ำเลือกใช้ได้ เหมำะสม เล่ำเรื่องได้ เสริมควำม สร้ำงอำรมณ์ น่ำสนใจ พอดี แยบยล สร้างสีสัน