SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
C Language
                   Chapter 3

       (Control Statements )
                  คาสั่งควบคุม
(Control Statements )
                                            คาสังควบคุม
                                                ่
ในการเขียนโปรแกรมแบบโครงสราง จะมีรูปแบบการแกปัญหาหรือ
รูปแบบการ เขียนโปรแกรมอยู 3 ลักษณะ คือ
       1. การเขียนแบบลาดับ (Sequential)
       2. การเขียนแบบเงื่อนไข (Selection)
       3. การเขียนแบบวนซ้า(Repetition)
คาสั่ง if
คาสั่ง if เป็นคาสั่งทีใชในการเขียนแบบเงื่อนไข ตัวอยางของ
ประโยคในลักษณเงือนไขเป็นตัวอยางทีสามารถพบเห็นไดใน
                ่                ่
ชีวิตประจาวัน เชน
ถ้า    วันนี้ฝนไม่ตก ฉันคงต้องเดินมาโรงเรียน   แต่ ถ้าฝนตก ฉันคง
       ต้องให้คณพ่อมาส่ง
               ุ
หรือ
ถ้าฉันตังใจเรียนให้มากกว่านี้ ฉันคงสอบผ่านทุกรายวิชา
        ้
คาสั่ง if
                 ประโยคเงื่อนไขดังกล่าวมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริง
            เกิดเหตุการณ์หนึ่ง แต่ถ้าไม่จริงจะเกิดอีกเหตุการณ์หนึ่ง กับ
            ประโยคในลักษณะที่ถ้าเงือนไขเป็นจริงจึงจะเกิดเหตุการณ์ขึ้น
                                      ่
            เท่านั้น ทั้ง 2 ลักษณะสามารถเขียนเป็นผังงานของงานได้ดงรูปที่
                                                                      ั
     จริง                     เท็จ              จริง
                เงื่อนไข                                                เท็จ
                                                           เงื่อนไข



คำสั่ง 1                       คำสั่ง 2       คำสั่ง 1
คาสั่ง if – else
คา สั่ง if ในรูปแบบแรกจะคาสั่งที่ตองทา ทั้งในกรณีที่เงื่อนไขเป็นจริง
                                  ้
และเป็นเท็จ โดยใช้นิพจน์ตรรกศาสตร์มาเป็นเครื่องมือช่วยในการ
ตรวจสอบเงื่อนไข มีรูปแบบคา สั่ง คือ
        if (เงื่อนไข)
                  คาสั่งที่ 1;
        else
                  คาสั่งที่ 2;
ตัวอย่าง โปรแกรมตรวจสอบ ค่ามากกว่าศูนย์
                              ในโปรแกรมจะทาการตรวจสอบว่าตัวแปร j มีค่า
1.  #include<stdio.h>
                              มากกว่าศูนย์หรือ ไม่
2. main()                     ถ้ามาค่ามากกว่า ศูนย์ (จริง) จะพิมพ์คาว่า “Greater
3. {                          the zero” แต่ถ้ามีค่าเป็นศูนย์ (เท็จ) จะพิมพ์
                              “”Equal to zero”
4.      int j;
5.      printf("Enter a integer number ");
6.      scanf("%d",&j);
7.      if (j)
8.         printf("Greater the zeron");
9.      else
10.         printf("Equal to zeron");
11.     getch();
12. }
ตัวอย่าง โปรแกรมเพือตรวจสอบความสูงของนักเรียน 2 คน โดยรับ
                   ่
ข้อมูลความสูงของนักเรียนทั้งสองมาหาว่าความสูงมากที่สุดคือค่าใด
1.    #include<stdio.h>
2.    main( )
3.    {
4.    float height1, height2, max;
5.    printf("Enter first student’s height (cm.) : ");
6.    scanf("%f", &height1);
7.    printf("Enter second student’s height (cm.) : ");
8.    scanf("%f", &height2);
                                           ผลการทา งานของโปรแกรม
9.    if (height1 > height2)
                                           Enter first student’s height (cm.) : 184.5
10.       max = height1;                   Enter second student’s height (cm.) : 192.4
11.   else                                 Maximum height is : 192.40 cm.
12.       max = height2;
13.   printf("Maximum height is : %.2f cm.", max);
14.   getch();
15.   }
คาสั่ง if – else
   แต่หากเงื่อนไขเป็น จริง หรือ เท็จ แล้วต้องทา คาสั่งมากกว่า 1 คาสั่ง จะต้อง
    ใช้เขียน if-else ในรูปแบบทีใช้เครื่อง { } ซึ่งแสดงขอบเขตของการทา เงื่อนไข
                                     ่
    ครอบคา สั่งทีต้องทา ในแต่ละเงื่อนไข มีรูป แบบนี้
                   ่
                     if ( เงื่อนไข ) {
                                คา สั่งที่ 1;
                                คา สั่งที่ 2;
                                ….
                     } else {
                                คา สั่งที่ 3;
                                คา สั่งที่ 4;
                                …
                     }
ตัวอย่างโปรแกรมแสดงผลการเรี ยน
1.    #include<stdio.h>                          else if(mark >=66 && mark <= 75) {
2.    main()                                          printf(“You grade is Bn”);
3.    {                                               printf(“You are goodn”);
4.        int mark;                                       }
5.        printf(“Enter you mark ”);             else if(mark > 75) {
6.        scanf(“%d”,&mark);                          printf(“You grade is An”);
7.         if(mark >=50 && mark <= 55) {              printf(“You are excellentn”);
8.               printf(“You grade is Dn”);              }
9.               printf(“You are poorn”);       else {
10.          }                                        printf(“You grade is Fn”);
11.        else if (mark >=56 && mark <= 65) {        printf(“You are failn”);
12.              printf(“You grade is Cn”);              }
13.              printf(“You are Averagen”);    getch();
14.          }                                   }
   จบคาสัง if
          ่

Contenu connexe

Tendances

เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำGatesiree G'ate
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
เงื่อนไข การตัดสินใจ
เงื่อนไข การตัดสินใจเงื่อนไข การตัดสินใจ
เงื่อนไข การตัดสินใจOraphan4
 
04 conditional
04 conditional04 conditional
04 conditionala-num Sara
 
If statement
If statementIf statement
If statementsup11
 
If statement
If statementIf statement
If statementsup11
 
คำสั่งและเงื่อนไข [Web-Programming]
คำสั่งและเงื่อนไข [Web-Programming]คำสั่งและเงื่อนไข [Web-Programming]
คำสั่งและเงื่อนไข [Web-Programming]Khon Kaen University
 
3การเก็บค่าตัวแปร
3การเก็บค่าตัวแปร3การเก็บค่าตัวแปร
3การเก็บค่าตัวแปรteedee111
 

Tendances (20)

ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียวฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
 
ฟังก์ชั่น If สองทางเลือก
ฟังก์ชั่น If สองทางเลือกฟังก์ชั่น If สองทางเลือก
ฟังก์ชั่น If สองทางเลือก
 
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เทอม 2 คาบ 10 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
Know009
Know009Know009
Know009
 
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
 
Know010
Know010Know010
Know010
 
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
เงื่อนไข การตัดสินใจ
เงื่อนไข การตัดสินใจเงื่อนไข การตัดสินใจ
เงื่อนไข การตัดสินใจ
 
04 conditional
04 conditional04 conditional
04 conditional
 
การแสดงผลออกทางหน้าจอ
การแสดงผลออกทางหน้าจอการแสดงผลออกทางหน้าจอ
การแสดงผลออกทางหน้าจอ
 
If statement
If statementIf statement
If statement
 
If statement
If statementIf statement
If statement
 
Unit11
Unit11Unit11
Unit11
 
ฟังก์ชั่น do_while
ฟังก์ชั่น do_whileฟังก์ชั่น do_while
ฟังก์ชั่น do_while
 
ฟังก์ชั่น for
ฟังก์ชั่น forฟังก์ชั่น for
ฟังก์ชั่น for
 
Unit9
Unit9Unit9
Unit9
 
คำสั่งและเงื่อนไข [Web-Programming]
คำสั่งและเงื่อนไข [Web-Programming]คำสั่งและเงื่อนไข [Web-Programming]
คำสั่งและเงื่อนไข [Web-Programming]
 
3การเก็บค่าตัวแปร
3การเก็บค่าตัวแปร3การเก็บค่าตัวแปร
3การเก็บค่าตัวแปร
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 

Similaire à chapter 3 คำสั่งควบคุม

บทที่ 3 คำสั่งควบค
บทที่ 3 คำสั่งควบคบทที่ 3 คำสั่งควบค
บทที่ 3 คำสั่งควบคTheeravaj Tum
 
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุมบทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุมView Nudchanad
 
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)View Nudchanad
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมThanachart Numnonda
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
ม.3 รหัสจำลอง Pseudocode
ม.3 รหัสจำลอง Pseudocodeม.3 รหัสจำลอง Pseudocode
ม.3 รหัสจำลอง PseudocodeBansit Deelom
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นSamart Phetdee
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
Java-Chapter 09 Advanced Statements and Applications
Java-Chapter 09 Advanced Statements and ApplicationsJava-Chapter 09 Advanced Statements and Applications
Java-Chapter 09 Advanced Statements and ApplicationsWongyos Keardsri
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Pornpimon Aom
 

Similaire à chapter 3 คำสั่งควบคุม (20)

บทที่ 3 คำสั่งควบค
บทที่ 3 คำสั่งควบคบทที่ 3 คำสั่งควบค
บทที่ 3 คำสั่งควบค
 
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุมบทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม
 
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
บทที่ 6-เงื่อนไข-การตัดสินใจ-การควบคุม (2)
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
207
207207
207
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
Know3 4
Know3 4Know3 4
Know3 4
 
C lang
C langC lang
C lang
 
ม.3 รหัสจำลอง Pseudocode
ม.3 รหัสจำลอง Pseudocodeม.3 รหัสจำลอง Pseudocode
ม.3 รหัสจำลอง Pseudocode
 
Know3 2
Know3 2Know3 2
Know3 2
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้น
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
Java-Chapter 09 Advanced Statements and Applications
Java-Chapter 09 Advanced Statements and ApplicationsJava-Chapter 09 Advanced Statements and Applications
Java-Chapter 09 Advanced Statements and Applications
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
02 basic
02 basic02 basic
02 basic
 
11
1111
11
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 

Plus de อัครเดช โพธิญาณ์

เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลายเอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลายอัครเดช โพธิญาณ์
 
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้อัครเดช โพธิญาณ์
 

Plus de อัครเดช โพธิญาณ์ (19)

หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล
หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล
หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล
 
ประมวลการสอน
ประมวลการสอนประมวลการสอน
ประมวลการสอน
 
Test
TestTest
Test
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Cchapter 1
Cchapter 1 Cchapter 1
Cchapter 1
 
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลายเอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
 
11 biodata
11 biodata11 biodata
11 biodata
 
10 bibliography
10 bibliography10 bibliography
10 bibliography
 
8 chapter4
8 chapter48 chapter4
8 chapter4
 
7 chapter3
7 chapter37 chapter3
7 chapter3
 
5 chapter1
5 chapter15 chapter1
5 chapter1
 
4 content
4 content4 content
4 content
 
12 kumnum
12 kumnum12 kumnum
12 kumnum
 
3 abstract
3 abstract3 abstract
3 abstract
 
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
 
Tok
TokTok
Tok
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
1 titlepage
1 titlepage1 titlepage
1 titlepage
 

chapter 3 คำสั่งควบคุม

  • 1. C Language Chapter 3 (Control Statements ) คาสั่งควบคุม
  • 2. (Control Statements ) คาสังควบคุม ่ ในการเขียนโปรแกรมแบบโครงสราง จะมีรูปแบบการแกปัญหาหรือ รูปแบบการ เขียนโปรแกรมอยู 3 ลักษณะ คือ 1. การเขียนแบบลาดับ (Sequential) 2. การเขียนแบบเงื่อนไข (Selection) 3. การเขียนแบบวนซ้า(Repetition)
  • 3. คาสั่ง if คาสั่ง if เป็นคาสั่งทีใชในการเขียนแบบเงื่อนไข ตัวอยางของ ประโยคในลักษณเงือนไขเป็นตัวอยางทีสามารถพบเห็นไดใน ่ ่ ชีวิตประจาวัน เชน ถ้า วันนี้ฝนไม่ตก ฉันคงต้องเดินมาโรงเรียน แต่ ถ้าฝนตก ฉันคง ต้องให้คณพ่อมาส่ง ุ หรือ ถ้าฉันตังใจเรียนให้มากกว่านี้ ฉันคงสอบผ่านทุกรายวิชา ้
  • 4. คาสั่ง if ประโยคเงื่อนไขดังกล่าวมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริง เกิดเหตุการณ์หนึ่ง แต่ถ้าไม่จริงจะเกิดอีกเหตุการณ์หนึ่ง กับ ประโยคในลักษณะที่ถ้าเงือนไขเป็นจริงจึงจะเกิดเหตุการณ์ขึ้น ่ เท่านั้น ทั้ง 2 ลักษณะสามารถเขียนเป็นผังงานของงานได้ดงรูปที่ ั จริง เท็จ จริง เงื่อนไข เท็จ เงื่อนไข คำสั่ง 1 คำสั่ง 2 คำสั่ง 1
  • 5. คาสั่ง if – else คา สั่ง if ในรูปแบบแรกจะคาสั่งที่ตองทา ทั้งในกรณีที่เงื่อนไขเป็นจริง ้ และเป็นเท็จ โดยใช้นิพจน์ตรรกศาสตร์มาเป็นเครื่องมือช่วยในการ ตรวจสอบเงื่อนไข มีรูปแบบคา สั่ง คือ if (เงื่อนไข) คาสั่งที่ 1; else คาสั่งที่ 2;
  • 6. ตัวอย่าง โปรแกรมตรวจสอบ ค่ามากกว่าศูนย์ ในโปรแกรมจะทาการตรวจสอบว่าตัวแปร j มีค่า 1. #include<stdio.h> มากกว่าศูนย์หรือ ไม่ 2. main() ถ้ามาค่ามากกว่า ศูนย์ (จริง) จะพิมพ์คาว่า “Greater 3. { the zero” แต่ถ้ามีค่าเป็นศูนย์ (เท็จ) จะพิมพ์ “”Equal to zero” 4. int j; 5. printf("Enter a integer number "); 6. scanf("%d",&j); 7. if (j) 8. printf("Greater the zeron"); 9. else 10. printf("Equal to zeron"); 11. getch(); 12. }
  • 7. ตัวอย่าง โปรแกรมเพือตรวจสอบความสูงของนักเรียน 2 คน โดยรับ ่ ข้อมูลความสูงของนักเรียนทั้งสองมาหาว่าความสูงมากที่สุดคือค่าใด 1. #include<stdio.h> 2. main( ) 3. { 4. float height1, height2, max; 5. printf("Enter first student’s height (cm.) : "); 6. scanf("%f", &height1); 7. printf("Enter second student’s height (cm.) : "); 8. scanf("%f", &height2); ผลการทา งานของโปรแกรม 9. if (height1 > height2) Enter first student’s height (cm.) : 184.5 10. max = height1; Enter second student’s height (cm.) : 192.4 11. else Maximum height is : 192.40 cm. 12. max = height2; 13. printf("Maximum height is : %.2f cm.", max); 14. getch(); 15. }
  • 8. คาสั่ง if – else  แต่หากเงื่อนไขเป็น จริง หรือ เท็จ แล้วต้องทา คาสั่งมากกว่า 1 คาสั่ง จะต้อง ใช้เขียน if-else ในรูปแบบทีใช้เครื่อง { } ซึ่งแสดงขอบเขตของการทา เงื่อนไข ่ ครอบคา สั่งทีต้องทา ในแต่ละเงื่อนไข มีรูป แบบนี้ ่ if ( เงื่อนไข ) { คา สั่งที่ 1; คา สั่งที่ 2; …. } else { คา สั่งที่ 3; คา สั่งที่ 4; … }
  • 9. ตัวอย่างโปรแกรมแสดงผลการเรี ยน 1. #include<stdio.h> else if(mark >=66 && mark <= 75) { 2. main() printf(“You grade is Bn”); 3. { printf(“You are goodn”); 4. int mark; } 5. printf(“Enter you mark ”); else if(mark > 75) { 6. scanf(“%d”,&mark); printf(“You grade is An”); 7. if(mark >=50 && mark <= 55) { printf(“You are excellentn”); 8. printf(“You grade is Dn”); } 9. printf(“You are poorn”); else { 10. } printf(“You grade is Fn”); 11. else if (mark >=56 && mark <= 65) { printf(“You are failn”); 12. printf(“You grade is Cn”); } 13. printf(“You are Averagen”); getch(); 14. } }
  • 10. จบคาสัง if ่