SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
Télécharger pour lire hors ligne
นางเอเดียน คุณาสิทธิ์
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง
อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ข
คานา
ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ
กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง)
8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช ในการใช้ชุดกิจกรรม
ให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดยปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับที่
ของชุดกิจกรรม
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ปก ............................................................................................................................................ ก
คานา......................................................................................................................................... ข
สารบัญ..................................................................................................................................... ค
สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ
คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช
แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ
ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช......................................................................1
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช ................................................................................2
กิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช...............................................................................10
ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร ..................................................................10
ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช...........................................................12
แนวการตอบกิจกรรมที่ 5...............................................................................................................14
เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 5..................................................................................................19
บรรณานุกรม..................................................................................................................................21
ง
สารบัญภาพประกอบ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 5.1 ลักษณะของขนรากพืช..................................................................................................1
ภาพที่ 5.2 ลักษณะของขนรากและโครงสร้างของรากพืช........................................................3
ภาพที่ 5.3 ทิศทางการดูดซึมน้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากพืช.............................................................3
ภาพที่ 5.4 ทิศทางการลาเลียงน้าจากรากขึ้นสู่ลาต้นและทิศทางการคายน้าออกทางปากใบ......4
ภาพที่ 5.5 กล้วย..............................................................................................................................6
ภาพที่ 5.6 แครอท...........................................................................................................................6
ภาพที่ 5.7 ข้าวโพด........................................................................................................................6
ภาพที่ 5.8 ทิศทางการลาเลียงสารในพืช.......................................................................................6
ภาพที่ 5.9 รากและลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว .................................................................................7
ภาพที่ 5.10 รากและลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ ....................................................................................8
ภาพที่ 5.11 การทดสอบการคายน้าของพืช...................................................................................8
ภาพที่ 5.12 การแช่ผักกระสัง .................................................................................................12
ภาพที่ 5.13 การตัดลาต้นผักกระสังตามขวาง และตัดตามยาว.................................................12
จ
ชุดกิจกรรมที่5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช มีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้
1. เป็นชุดกิจกรรมที่ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 และ 10 (ในเล่มคู่มือการใช้)
2. ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
3. ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร (1ชั่วโมง)
ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช ( 2 ชั่วโมง)
4. แนวการตอบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
5. เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมที่ 5
เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
ฉ
คาชี้แจงสาหรับครู
การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ สิ่งที่ครูผู้สอนต้องเตรียม
มีดังนี้
1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9และ 10 ในคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมให้ละเอียด
2. ศึกษาเนื้อหาและคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุด และปฏิบัติตามขั้นตอนใน
คาชี้แจงของกิจกรรมตามลาดับอย่าข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง
3. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุดกิจกรรมไว้ล่วงหน้าก่อนทาการเรียนการสอน
4. ครูจัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ตามแผนผังที่กาหนดไว้
โดยมีหัวหน้าประจาทุกกลุ่ม ผู้นากลุ่มอาจมีการผลัดเปลี่ยนกันแต่ละกลุ่มควรเป็นกลุ่มเดิมเพื่อจะได้
ทางานที่ต่อเนื่องกัน
5. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และรู้บทบาทหน้าที่ของตนในกลุ่ม
โดยไม่ให้ดูเฉลยก่อน หลังจากปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วจึงเปิดดูเฉลยได้และมีการแลกเปลี่ยนกัน
ตรวจตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม
6. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบ่งออกเป็น 5
ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นสารวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
4) ขั้นขยายความรู้ 5) ขั้นประเมินผล
7. ชุดกิจกรรมที่ 4 เป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเนื้อหาประจาหน่วย ซึ่ง
บูรณาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
ไปพร้อม ๆ กัน
8. ขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครูต้องคอยดูแลและแนะนาการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด
เมื่อนักเรียนพบปัญหาในการเรียนจะได้ช่วยแก้ไขปัญหาได้ทันที
9. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนเก็บสื่อและวัสดุอุปกรณ์ของ
แต่ละกลุ่มให้เรียบร้อย โดยเน้นการเก็บและดูแลรักษาความสะอาดฝึกให้เป็นระเบียบจนเป็นนิสัย
10. เมื่อสิ้นสุดการเรียนชุดกิจกรรมที่ 8 แล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
จานวน 40 ข้อซึ่งเป็นแบบทดสอบคู่ขนานกับแบบทดสอบก่อนเรียน
11. แจ้งผลการเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมทันทีที่ตรวจเสร็จแล้ว
ช
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
การใช้ชุดกิจกรรมนักเรียนควรทราบถึงบทบาทของตนเองดังนี้
1. ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียด
2. ศึกษาใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช แล้วปฏิบัติกิจกรรมตาม
ใบกิจกรรม ดังนี้
ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร (1ชั่วโมง)
ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช ( 2 ชั่วโมง)
3. นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังไม่เล่นหรือทาให้ล่าช้า
4. กิจกรรมการทดลองต้องทาตามขั้นตอนทุกขั้นตอนด้วยความระมัดระวังเพราะ
อุปกรณ์อาจแตกหรือเสียหายได้
5. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้นักเรียนส่งผลงานการทากิจกรรมให้ครูตรวจหรือ
แลกเปลี่ยนกันตรวจก่อนที่จะดาเนินการศึกษากิจกรรมต่อไป ถ้ามีอะไรชารุดเสียหายต้องแจ้งให้ครู
ทราบทันที
6. เมื่อทากิจกรรมเสร็จทั้ง 8 ชุดแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 40 ข้อ เพื่อ
ประเมินความรู้หลังเรียน
ซ
แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน
การประเมินผล
1. ประเมินจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน -หลังเรียน จานวน 40 ข้อ
2. ประเมินผลจากการทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ ขนรากมีลักษณะอย่างไร ตามเกณฑ์
การประเมินที่กาหนด
3. ประเมินการทากิจกรรมการทดลองตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช
ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด
4. สังเกตความสนใจและความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมและพฤติกรรมการทางาน
กลุ่มทุกครั้งที่เรียน
โต๊ะครู
กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 2
กลุ่มที่ 3
กลุ่มที่ 8
กลุ่มที่ 5
กลุ่มที่ 4
1
ชุดกิจกรรมที่ 5
เรื่องย่อยที่ 5 การลาเลียงของสารในพืช
ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 – 10 (เวลา 3 ชั่วโมง)
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร
ตอบคาถามแล้วสรุปผลการศึกษา
2.ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าในพืช
ตอบคาถามแล้วสรุปผลการศึกษา
3. ศึกษาใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช แล้วร่วมกันอภิปราย
และเสนอแนะแนวทางการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารใน
พืชและการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
4. ตรวจคาตอบจากแนวการตอบ
ภาพที่ 5.1 ลักษณะของขนรากพืช
ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
2
ใบความรู้ที่ 5
เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การลาเลียงของสารในพืชแล้ว สามารถ
1. สังเกตและอธิบายลักษณะของขนรากพืชที่มีผลต่อการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้
2. อธิบายกระบวนการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้
3. อธิบายกระบวนการคายน้าของพืชได้
4. ทดลอง เปรียบเทียบและอธิบายโครงสร้างของระบบท่อลาเลียงในพืชได้
5. เสนอชื่อเรื่องของโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารในพืชและ
บอกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
1. การลาเลียงของสารในพืช
การงอกของรากพืชต้องอาศัยน้า อุณหภูมิและอากาศในปริมาณที่เหมาะสม น้าและแร่ธาตุ
จากดินจะเข้าสู่เซลล์ขนรากด้วยกระบวนการออสโมซิสและการแพร่ จากนั้นจะเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์
หนึ่งไปสู่อีกเซลล์ข้างเคียงจนถึงท่อลาเลียงน้า (Xylem) ซึ่งจะอยู่ตรงกลางของราก น้าและแร่ธาตุจะ
ลาเลียงขึ้นไปสู่ใบเพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสงต่อไป สารอาหารที่สร้างได้จะถูกลาเลียงจากใบไปสู่
ส่วนต่าง ๆ ของพืชทางท่อลาเลียงอาหาร (Phloem) สู่ด้านล่างของพืช
1.1 ขนราก
ขนราก (Roothair) คือเซลล์ที่ทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากพืช จะพบบริเวณ
เหนือปลายหมวกรากขึ้นมาเล็กน้อย มีลักษณะเป็นเซลล์ยาวและบางเหมือนขนเส้นเล็ก ๆ หรือเป็น
ฝอยบาง ๆ จานวนมากอยู่ปลายราก การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ลักษณะนี้ ทาให้รากมีพื้นที่ผิวสัมผัส
กับน้าและแร่ธาตุมากขึ้น จึงทาให้น้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากพืชได้มากขึ้น
3
ภาพที่ 5.2 ลักษณะของขนรากและโครงสร้างของรากพืช
(ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). : 49)
น้าจากดินจะข้าสู่เซลล์ขนรากและแพร่ต่อไปยังเนื้อเยื่อท่อลาลียงน้าในรากได้
ด้วยกระบวนการออสโมซิสและการแพร่ ส่วนแร่ธาตุจะลายในน้าเข้าสู่เซลล์ขนรากและเซลล์
เนื้อเยื่อลาเลียงน้าได้โดยการลาเลียงแบบแอคทีฟ (Active transport) ซึ่งต้องอาศัยพลังงาน
จากเซลล์ขนรากช่วยในการแพร่ แร่ธาตุที่สาคัญที่พืชต้องการได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
และโพแทสเซียม ถ้าพืชขาดธาตุไนโตรเจน จะทาให้ใบเหลืองซีด เจริญเติบโตช้า ถ้าขาดธาตุ
ฟอสฟอรัส ลาต้นจะแคระแกร็น ใบเล็ก ขาดธาตุโพแทสเซียมจะทาให้ลาต้นแคระแกร็นและมีผล
ต่อการออกดอกและผลของพืช
ภาพที่ 5.3 ทิศทางการดูดซึมน้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากพืช
(ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. 2551 : 50)
(ที่มา ปรับปรุงจาก : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). หนังสือเรียนสาระ
การเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. รัตน์ธรา การพิมพ์ : กรุงเทพฯ.)
4
1.2 การลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืช
น้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากได้โดยกระบวนการออสโมซิสผ่านทางเซลล์ขนราก และจะ
แพร่ต่อไปยังเซลล์ถัดไปเรื่อย ๆ จนถึงท่อลาเลียงน้า (Xylem) ซึ่งอยู่ตรงกลางรากและเป็นท่อยาว
ต่อเนื่องไปสู่ลาต้น กิ่ง ก้านและใบ การที่น้าและแร่ธาตุจากรากขึ้นไปสู่ยอดพืชได้นั้นเป็นเพราะมี
แรงดึงที่เกิดจากการคายน้าของใบดึงดูดให้น้าและแร่ธาตุลาเลียงขึ้นไปได้ตลอดเวลา คล้ายกับการที่
เราดูดน้าจากขวดหรือจากแก้วโดยใช้หลอดดูด
1.3 การคายน้าของพืช (Transpiration)
การคายน้าของพืชส่วนใหญ่ออกทางปากใบ (Stoma) เพื่อรักษาอุณหภูมิของใบไม้
ไม่ให้ร้อนจัด และยังช่วยเร่งให้การดูดน้าขึ้นมาได้ตลอดเวลา ซึ่งจะมีแร่ธาตุละลายปนมากับน้า
ด้วย ใบจึงได้รับแร่ธาตุต่าง ๆ สาหรับใช้เป็นวัตถุดิบในการสร้างอาหาร
1.3.1 ขั้นตอนการดูดน้าของพืช
การดูดน้าของพืชจะมีความสัมพันธ์กันกับการปิดเปิดของปากใบ โดยน้าจะ
ออสโมซิสเข้าสู่รากพืช แล้วเข้าสู่ลาต้น ไปสู่ส่วนต่าง ๆ และใบพืช ทาให้ความเข้มข้นของน้าใน
เซลล์คุมมีมาก เซลล์จะเต่งขึ้น ทาให้ปากใบเปิดทาให้น้าถูกคายออกในรูปของไอน้า ดังนี้
ปากใบจะเปิดในเวลากลางวัน

เซลล์คุมเต่งขึ้น

น้าออสโมซิสเข้าสู่เซลล์คุม

ความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์มาก
โดยเฉพาะเซลล์คุม เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง

น้าออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ของใบ

น้าจากดินออสโมซิสเข้าสู่ราก
และถูกส่งต่อผ่านลาต้นไปยังใบตลอดเวลา
ภาพที่ 5.4 ทิศทางการลาเลียงน้าจากรากขึ้นสู่ลาต้นและทิศทางการคายน้าออกทางปากใบ
(ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 55)
5
1.3.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้าของพืช
การคายน้าของพืช เกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายอย่าง ดังนี้
1) ชนิดของพืช พืชบางชนิดมีปากใบมากการคายน้าจะมากด้วย
2) แสงสว่าง ถ้าความเข้มของแสงมากปากใบจะเปิดกว้าง ทาให้คายน้าได้มาก
3) อุณหภูมิของอากาศ ถ้าอุณหภูมิของอากาศสูง การคายน้าจะเกิดได้มาก เพื่อ
ระบายความร้อนออกจากต้นพืช
4) ความชื้นในอากาศ ถ้าความชื้นในอากาศสูง การคายน้าจะคายได้น้อยถ้าหาก
ความชื้นในอากาศต่าการคายน้าจะเป็นไปได้มาก
5) ความกดดันของอากาศ อากาศที่มีความกดดันต่า ความหนาแน่นของอากาศ
จะน้อย น้าจึงระเหยออกจากต้นพืชได้ง่าย ทาให้อัตราการคายน้าสูง
6) ลม ถ้าในวันที่มีลมแรง ปากใบจะปิด ทาให้พืชคายน้าได้น้อย
7) ปริมาณน้าในดิน ถ้ามีน้าน้อย จะทาให้การคายน้าน้อย
(ที่มา ปรับปรุงจาก : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). หนังสือเรียนสาระ
การเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. รัตน์ธราการพิมพ์ : กรุงเทพฯ.)
1.4 การลาลียงสารอาหารในพืช
สารอาหารที่พืชสร้างขึ้น คือ น้าตาลกลูโคส ซึ่งอยู่ในรูปของสารละลายจะถูกลาเลียง
จากใบไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืชผ่านทางท่อลาเลียงอาหาร (Phloem) ซึ่งการลาเลียงจากเซลล์ของใบ
ไปสู่เซลล์ข้างเคียงต่อ ๆ กันไปด้วยกระบวนการแพร่ การลาเลียงอาหารเป็นการเคลื่อนที่จาก
ด้านบนของลาต้นพืชสู่ด้านล่างไปเลี้ยงส่วนของลาต้น ราก และบางส่วนลาเลียงไปเลี้ยงดอกและผล
ถ้าตัดท่อลาเลียงอาหารของพืชโดยลอกเปลือกนอกออก เช่น การตอนกิ่งพืช จะมีราก
งอกออกมา เมื่อพืชสร้างอาหารได้มาก พืชจะลาเลียงอาหารไปเก็บไว้ที่ส่วนต่าง ๆ ดังนี้
1) ส่วนผลที่สะสมอาหาร เช่น มะม่วง กล้วย เงาะ ลาไย ขนุน
2) ส่วนของรากที่สะสมอาหาร เช่น ผักกาดหัว มันเทศ แครอท
3) ส่วนของเมล็ดที่สะสมอาหาร เช่น ข้าว ข้าวโพด ถั่ว
4) ส่วนของลาต้นที่สะสมอาหาร เช่น อ้อย
5) ส่วนของลาต้นใต้ดินที่สะสมอาหาร เช่น เผือก มันฝรั่ง หัวหอม ขมิ้น ข่า
6) ส่วนของดอกที่ทาหน้าที่สะสมอาหาร เช่น ดอกแค ดอกกระเจียว
6
ภาพที่ 5.5 กล้วย ภาพที่ 5.6 แครอท ภาพที่ 5.7 ข้าวโพด
ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
อาหารที่สะสมอยู่นี้จะอยู่ในรูปต่าง ๆ กัน เช่น แป้ ง น้าตาล ไขมัน โปรตีน ซึ่งมนุษย์
และสัตว์นามาใช้เป็นอาหาร และยังมีสารอื่น ๆ ที่พืชสร้างได้เช่น น้ายางพารา น้ามันสน เป็นต้น
ดังนั้นการลาเลียงน้าและแร่ธาตุของพืชจึงมีทิศทางตรงข้ามกัน โดยน้ามีทิศขึ้นจากราก
สู่ลาต้นพืช ส่วนการลาเลียงอาหารมีทิศลงจากใบสู่รากพืช ดังภาพที่ 40
ภาพที่ 5.8 ทิศทางการลาเลียงสารในพืช
ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
(ที่มา ปรับปรุงจาก : ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม. 1. อักษรเจริญทัศน์ :
กรุงเทพฯ)
7
2. โครงสร้างของระบบท่อลาเลียงในพืช
การจัดเรียงตัวของท่อลาเลียงน้า (Xylem) และท่อลาเลียงอาหาร (Phloem) ในรากและลา
ต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันดังนี้
2.1 ลักษณะท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ราก : ระบบลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ท่อลาเลียงน้าจะเรียงอยู่รอบแก่นไม้(Pith)
และท่อลาเลียงอาหาร จะแทรกกระจายอยู่ระหว่างท่อลาเลียงน้า
ลาต้น : ระบบลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ท่อลาเลียงน้าและท่อลาเลียงอาหารจะอยู่
กระจัดกระจายทั่วลาต้น
ภาพที่ 5.9 รากและลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
(ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 61)
2.1 ลักษณะท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงคู่
ราก : ระบบลาเลียงของพืชใบเลี้ยงคู่ ท่อลาเลียงน้าจะเรียงตัวเป็นแฉก 2 -5 แฉก
ออกมาจากกึ่งกลางของราก ส่วนท่อลาเลียงอาหาร จะแทรกอยู่ระหว่างแฉกของท่อลาเลียงน้า
ลาต้น : ระบบลาเลียงของพืชใบเลี้ยงคู่ ท่อลาเลียงน้าและท่อลาเลียงอาหารจะรวมอยู่
ด้วยกัน เรียงตัวเป็นระเบียบเป็นวงรอบลาต้น โดยท่อลาเลียงอาหารอยู่ด้านนอก ท่อลาเลียงน้าอยู่
ด้านใน มีเนื้อเยื่อ (Cambium) แทรกอยู่ระหว่างท่อลาเลียงทั้งสอง
8
ภาพที่ 5.10 รากและลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
(ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 61)
9
กิจกรรมที่ 5
เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การลาเลียงของสารในพืชแล้ว สามารถ
1. สังเกตและอธิบายการลาเลียงของสารในพืชโดยผ่านขนรากและรากพืชได้
2. อธิบายขั้นตอนของการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้
3. ทดลอง เปรียบเทียบและอธิบายโครงสร้างของระบบท่อลาเลียงในพืชได้
4. บอกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ
ควรเป็นกลุ่มเดิม
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับอุปกรณ์การทดลองและชุดกิจกรรมที่ 5 แล้ว
ทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2
ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร
1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ตั้งสมมุติฐาน .................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. อุปกรณ์
1) เมล็ดถั่วดาที่มีรากงอก กลุ่มละ 1 – 2 ต้นต่อกลุ่ม
2) แว่นขยาย จานวน 1 อัน ต่อกลุ่ม
3) สาลี จานวน 2 แผ่น ต่อกลุ่ม
4) กระดาษสีดา จานวน 1 แผ่น ต่อกลุ่ม
10
5. วิธีศึกษาทดลอง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเซลล์ขนรากของพืช โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้
1) เพาะเมล็ดถั่วดาที่แช่น้าไว้ 1 คืน วางบนสาลีใส่ในจานแก้วแล้วปิดด้วยสาลีอีกแผ่นหนึ่ง
2) นาเมล็ดถั่วดาที่มีรากงอกออกมา วางบนกระดาษสีดา สังเกตโดยใช้แว่นขยาย
3) วาดภาพตาแหน่งและลักษณะของขนราก
6. ตารางบันทึกผลการทดลอง
ภาพวาดของขนราก ลักษณะของขนรากที่สังเกตเห็น
7. คาถามท้ายการทดลอง
1) เซลล์ขนรากมีลักษณะอย่างไร
.............................................................................................................................................................
2) ลักษณะและรูปร่างของขนรากมีผลดีต่อพืชอย่างไร
.............................................................................................................................................................
3) ถ้าเซลล์ขนรากของพืชถูกทาลายจะเกิดผลอย่างไรกับพืช
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
8. สรุปผลการศึกษา
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
(ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3).
นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)
11
ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช
1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ตั้งสมมุติฐาน .................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. อุปกรณ์
1) ผักกระสัง จานวน 1 ต้น ต่อกลุ่ม นาไปแช่ในน้า
2) น้าหมึกสีแดง จานวน 2 หยด ผสมน้า ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3) กล่องพลาสติก 1 ใบ ต่อกลุ่ม
4) มีดโกน 1 ด้ามต่อกลุ่ม
5. วิธีศึกษาทดลอง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืช โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนดังนี้
1) น้าผักกระสังที่มีราก 1 ต้น มาล้างให้สะอาด
2) นาไปแช่ในน้าหมึกสีแดงผสมน้า ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร นาน 30 นาที
(ควรให้นักเรียนเตรียมไว้ล่วงหน้า)
3) นาต้นผักกระสังมาตัดเป็นท่อนๆตามขวางและตามยาวแล้วนาไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์
4) วาดภาพแสดงตาแหน่งที่ติดสีแดง
ภาพที่ 5.12 การแช่ผักกระสัง ภาพที่ 5.13 การตัดลาต้นผักกระสังตามขวาง
และตัดตามยาว
(ที่มาของภาพ:สุภาวดี สมัครสมาน(ถ่ายภาพ).2551) (ที่มาของภาพ:ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ.ม.ป.ป.:61)
12
6. ตารางบันทึกผลการทดลอง
ลักษณะภาพที่สังเกต ลักษณะของของลาต้นที่สังเกตเห็น
ภาพตัดตามขวาง
ภาพตัดตามยาว
7. คาถามท้ายการทดลอง
1) เมื่อแช่ต้นผักกระสังในน้าหมึกสีแดง นาน 30 นาที จะสังเกตเห็นลาต้นเป็นอย่างไร
.............................................................................................................................................................
2) จากการทดลองกลุ่มสีแดงรอบ ๆ ต้นตัดตามขวาง คืออะไร
.............................................................................................................................................................
3) จากการสังเกตภาพตัดตามยาวของลาต้น กลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อลาเลียงน้ามีลักษณะอย่างไร
.............................................................................................................................................................
4) หมึกสีแดงเข้าสู่รากและเคลื่อนที่สู่ลาต้นของพืชด้วยวิธีใด
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
5) จากการทดลองนี้ นักเรียนคิดว่าจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
8. สรุปผลการศึกษา
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
9. ให้นักเรียนเสนอชื่อเรื่องของโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารในพืช
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
14
แนวการตอบกิจกรรมที่ 5
เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การลาเลียงของสารในพืชแล้ว สามารถ
1. สังเกตและอธิบายลักษณะของขนรากพืชที่มีผลต่อการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้
2. อธิบายกระบวนการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้
3. อธิบายกระบวนการคายน้าของพืชได้
4. ทดลอง เปรียบเทียบและอธิบายโครงสร้างของระบบท่อลาเลียงในพืชได้
5. เสนอชื่อเรื่องของโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารในพืชและ
บอกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ
ควรเป็นกลุ่มเดิม
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับอุปกรณ์การทดลองและชุดกิจกรรมที่ 5 แล้ว
ทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2
ตอนที่ 1 เรื่อง ลักษณะของขนราก
1. กาหนดปัญหา ขนรากมีลักษณะอย่างไรและทาหน้าที่ใด
2. ตั้งสมมุติฐาน
ถ้าขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก ดังนั้น เมื่อสังเกตด้วยแว่นขยายจะพบ
โครงสร้างนี้ซึ่งทาหน้าที่ในการดูดน้าและแร่ธาตุจากดิน
3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร
ตัวแปรต้น คือ ลักษณะของขนราก
ตัวแปรตาม คือ ขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก เมื่อใช้แว่นขยายส่องดู
ตัวแปรควบคุม คือ เมล็ดถั่วดาที่แช่น้า 1 คืน
4. อุปกรณ์
1) เมล็ดถั่วดาที่มีรากงอก กลุ่มละ 1 – 2 ต้นต่อกลุ่ม
2) แว่นขยาย จานวน 1 อัน ต่อกลุ่ม
3) สาลี จานวน 2 แผ่น ต่อกลุ่ม
4) กระดาษสีดา จานวน 1 แผ่น ต่อกลุ่ม
15
5. วิธีศึกษาทดลอง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเซลล์ขนรากของพืช โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้
1) เพาะเมล็ดถั่วดาที่แช่น้าไว้ 1 คืน วางบนสาลีใส่ในจานแก้วแล้วปิดด้วยสาลีอีกแผ่นหนึ่ง
2) นาเมล็ดถั่วดาที่มีรากงอกออกมา วางบนกระดาษสีดา สังเกตโดยใช้แว่นขยาย
3) วาดภาพตาแหน่งและลักษณะของขนราก
6. ตารางบันทึกผลการทดลอง
ภาพวาดของขนราก ลักษณะของขนรากที่สังเกตเห็น
ขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก ทาหน้าที่ใน
การดูดน้าและแร่ธาตุจากดิน
7. คาถามท้ายการทดลอง
1) เซลล์ขนรากมีลักษณะอย่างไร
ขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก ทาหน้าที่ในการดูดน้าและแร่ธาตุจากดิน
2) ลักษณะและรูปร่างของขนรากมีผลดีต่อพืชอย่างไร
ลักษณะฝอยเล็ก ๆ ของขนรากช่วยในการเพิ่มพื้นที่ในการดูดน้าของพืชให้มากขึ้น
3) ถ้าเซลล์ขนรากของพืชถูกทาลายจะเกิดผลอย่างไรกับพืช
พืชจะไม่สามารถดูดน้าได้และทาให้พืชตายได้
8. สรุปผลการศึกษา
ขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก ทาหน้าที่ในการดูดน้าและแร่ธาตุจากดิน
ลักษณะฝอยเล็ก ๆ ของขนรากช่วยในการเพิ่มพื้นที่ในการดูดน้าของพืชให้มากขึ้น
(ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3).
นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)
16
ตอนที่ 2 เรื่อง การลาเลียงน้าและแร่ธาตุของพืช
1. กาหนดปัญหา ท่อลาเลียงน้าของพืชจะมีลักษณะเป็นอย่างไร เมื่อดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์
2. ตั้งสมมุติฐาน
ถ้าท่อลาเลียงน้าของพืชมีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ จากรากขึ้นไปสู่ลาต้นพืช เมื่อดูภายใต้กล้อง
จุลทรรศน์จะพบลักษณะนี้
3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร
ตัวแปรต้น คือ ลักษณะท่อลาเลียงน้า
ตัวแปรตาม คือ ท่อลาเลียงน้ามีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ เมื่อใช้ส่องดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์
ตัวแปรควบคุม คือ ต้นผักกระสังที่แช่น้าหมึกสีแดง ระยะเวลาการแช่ 30 นาที จานวน
หยดของน้าหมึกสีแดง
4. อุปกรณ์
1) ผักกระสัง จานวน 1 ต้น ต่อกลุ่ม
2) น้าหมึกสีแดง จานวน 2 หยด ผสมน้า ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3) กล่องพลาสติก 1 ใบ ต่อกลุ่ม
4) มีดโกน 1 ด้ามต่อกลุ่ม
5. วิธีศึกษาทดลอง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืช โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนดังนี้
1) น้าผักกระสังที่มีราก 1 ต้น มาล้างให้สะอาด
2) นาไปแช่ในน้าหมึกสีแดงผสมน้า ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร นาน 30 นาที
(ควรให้นักเรียนเตรียมไว้ล่วงหน้า)
3) นาต้นผักกระสังมาตัดเป็นท่อนๆตามขวางและตามยาวแล้วนาไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์
4) วาดภาพแสดงตาแหน่งที่ติดสีแดง
17
6. ตารางบันทึกผลการทดลอง
ลักษณะภาพที่สังเกต ลักษณะของของลาต้นที่สังเกตเห็น
ภาพตัดตามขวาง เมื่อสังเกตในภาพตัดตามขวางลักษณะของท่อลาเลียงน้า
บริเวณที่มีสีแดงจะเป็นกระจุกอยู่รอบ ๆ ต้น
ภาพตัดตามยาว เมื่อสังเกตภาพตัดตามยาวจะเห็นเป็นท่อลาเลียงสีแดงยาว
ขึ้นไปตามลาต้น
7. คาถามท้ายการทดลอง
1) เมื่อแช่ต้นผักกระสังในน้าหมึกสีแดง นาน 30 นาที จะสังเกตเห็นลาต้นเป็นอย่างไร
ลาต้นจะมีสีแดงยาวจากรากถึงลาต้นและใบ
2) จากการทดลองกลุ่มสีแดงรอบ ๆ ต้นตัดตามขวาง คืออะไร
ท่อลาเลียงน้า
3) จากการสังเกตภาพตัดตามยาวของลาต้น กลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อลาเลียงน้ามีลักษณะอย่างไร
เป็นท่อยาวต่อเนื่องกันทั้งลาต้น
4) หมึกสีแดงเข้าสู่รากและเคลื่อนที่สู่ลาต้นของพืชด้วยวิธีใด
ด้วยวิธีการแพร่และการออสโมซิส
ภาพที่ 40 การแช่ผักกระสัง ภาพที่ 40 การตัดลาต้นผักกระสังตามขวาง
และตัดตามยาว
(ที่มาภาพ:สุภาวดี สมัครสมาน(ถ่ายภาพ).2551) (ที่มาภาพ:ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ.(ม.ป.ป.):61)
18
5) จากการทดลองนี้ นักเรียนคิดว่าจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร
ในการปักจันดอกไม้ถ้าต้องการยืดอายุของดอกไม้ให้สดนานควรเติมน้าในแจกันดอกไม้
จะทาให้ดอกไม้สดได้นานหลายวัน
8. สรุปผลการศึกษา
ท่อลาเลียงน้าของพืชเมื่อสังเกตด้วยกล้องจุลทรรศน์มีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ จากรากขึ้นไป
สู่ลาต้นพืช และอยู่กระจัดกระจายหรือเป็นกระจุกอยู่รอบ ๆ ต้น
9. ให้นักเรียนเสนอชื่อเรื่องของโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารในพืช
โครงงานเรื่อง ดอกไม้สดสวยด้วยโอเอซิสจากกาบมะพร้าว, โครงงานเรื่อง
สารส้มชะลอความเหี่ยวของผัก, น้ามะพร้าวชะลอความเหี่ยวของผักชี เป็นโครงงานประเภท
ทดลอง
19
เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 5
เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน
ตอนที่ 1 (10 คะแนน)
1 -3 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
4-5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ
3
ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ
2
ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ
บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ
1
7
(1- 3)
ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
8 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1
ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0
20
ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน
ตอนที่ 2 (15 คะแนน)
1 -3 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
4-5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ
3
ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน
ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ
2
ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ
บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ
1
7
(1- 5)
ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
8 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1
ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0
9 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการลาเลียงของสารในพืชได้ 2 ชื่อขึ้นไป
และบอกประเภทของโครงงานได้ถูกต้อง
3
บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการลาเลียงของสารในพืชได้1 ชื่อและ
บอกประเภทของโครงงานได้ถูกต้อง
2
บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการลาเลียงของสารในพืชได้1 ชื่อแต่
ไม่ได้บอกประเภทของโครงงาน
1
บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการลาเลียงของสารในพืชไม่ได้หรือ
บอกแต่ไม่สอดคล้องและบอกประเภทของโครงงานไม่ได้
0
รวมตอนที่ 1 และ 2 (10+15) = 25 คะแนน
สรุปผลการประเมิน
 ดีมาก (21 – 25 คะแนน)  ดี (16 – 20 คะแนน)
 ปานกลาง (11 – 15 คะแนน)  ผ่าน (6 – 10 คะแนน)
 ต้องปรับปรุง (ต่ากว่า 6 คะแนน)
ผู้ประเมิน ............................................
(............................................)
21
บรรณานุกรม
กนก จันทร์ขจร และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่ง
สินค้าและพัสดุภัณฑ์.
. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
คุรุสภาลาดพร้าว.
กฤษณีย์ ปิตุรัตน์. (2548). ผลการใช้ชุดฝึกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ที่พัฒนามาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กุณฑรี เพชรทวีพรเดช และนิตยา บุญมี. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์.
เกริก ท่วมกลาง. (2546). แบบฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน คู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4- 6). : กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์.
จักฬพล สว่างอารมณ์. (2543). ผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาบูรพา.
ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก.
เตือนใจ ไชยโย. (2545). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกคิดหัวข้อและ
วางแผนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ถนัด ศรีบุญเรือง. (2549). วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
ถวัลย์ มาศจรัสและมณี เรืองขา. (2549). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโครงงาน.
กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
22
บัญชา แสนทวี และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้น ม.1. กรุงเทพฯ :
วัฒนาพาณิช.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์แม็ค .
ปิ่นศักดิ์ ชุมเกษียน และปิยาณี สมคิด. (2545). วิทยาศาสตร์ 2 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). นนทบุรี :
ไทยร่มเกล้า.
พเยาว์ ยินดีสุข และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ
(วพ)จากัด
. (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพ์พันธุ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ.
. (2550). สุดยอดคู่มือครูแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา
คุณภาพวิชาการ.
พีระ พนาสุภน. (2551). แม็ค ม.ต้น. กรุงเทพฯ : ซีวีแอลการพิมพ์.
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง. (2551). แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2551.
กลุ่มบริหารงานทั่วไป.
. (2550). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2). ฝ่ายวิชาการ.
ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design.กรุงเทพฯ :
ช้างทอง.
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2549). โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. : กรุงเทพฯ :
เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง

Contenu connexe

Tendances

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
fal-war
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
Guntima NaLove
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 

Tendances (20)

6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 

En vedette

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
Wann Rattiya
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
nokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
Nokko Bio
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
Wann Rattiya
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
Anana Anana
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 

En vedette (10)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 

Similaire à 8. ชุดที่ 5 การลำเลียง

4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
Wareerut Hunter
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
Krupol Phato
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
Ketsarin Prommajun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 

Similaire à 8. ชุดที่ 5 การลำเลียง (20)

11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 

8. ชุดที่ 5 การลำเลียง

  • 1. นางเอเดียน คุณาสิทธิ์ โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 2. ข คานา ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง) 8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช ในการใช้ชุดกิจกรรม ให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดยปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับที่ ของชุดกิจกรรม
  • 3. ค สารบัญ เรื่อง หน้า ปก ............................................................................................................................................ ก คานา......................................................................................................................................... ข สารบัญ..................................................................................................................................... ค สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช......................................................................1 ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช ................................................................................2 กิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช...............................................................................10 ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร ..................................................................10 ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช...........................................................12 แนวการตอบกิจกรรมที่ 5...............................................................................................................14 เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 5..................................................................................................19 บรรณานุกรม..................................................................................................................................21
  • 4. ง สารบัญภาพประกอบ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 5.1 ลักษณะของขนรากพืช..................................................................................................1 ภาพที่ 5.2 ลักษณะของขนรากและโครงสร้างของรากพืช........................................................3 ภาพที่ 5.3 ทิศทางการดูดซึมน้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากพืช.............................................................3 ภาพที่ 5.4 ทิศทางการลาเลียงน้าจากรากขึ้นสู่ลาต้นและทิศทางการคายน้าออกทางปากใบ......4 ภาพที่ 5.5 กล้วย..............................................................................................................................6 ภาพที่ 5.6 แครอท...........................................................................................................................6 ภาพที่ 5.7 ข้าวโพด........................................................................................................................6 ภาพที่ 5.8 ทิศทางการลาเลียงสารในพืช.......................................................................................6 ภาพที่ 5.9 รากและลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว .................................................................................7 ภาพที่ 5.10 รากและลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ ....................................................................................8 ภาพที่ 5.11 การทดสอบการคายน้าของพืช...................................................................................8 ภาพที่ 5.12 การแช่ผักกระสัง .................................................................................................12 ภาพที่ 5.13 การตัดลาต้นผักกระสังตามขวาง และตัดตามยาว.................................................12
  • 5. จ ชุดกิจกรรมที่5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช มีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้ 1. เป็นชุดกิจกรรมที่ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 และ 10 (ในเล่มคู่มือการใช้) 2. ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช 3. ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร (1ชั่วโมง) ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช ( 2 ชั่วโมง) 4. แนวการตอบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช 5. เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช
  • 6. ฉ คาชี้แจงสาหรับครู การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ สิ่งที่ครูผู้สอนต้องเตรียม มีดังนี้ 1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9และ 10 ในคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมให้ละเอียด 2. ศึกษาเนื้อหาและคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุด และปฏิบัติตามขั้นตอนใน คาชี้แจงของกิจกรรมตามลาดับอย่าข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง 3. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุดกิจกรรมไว้ล่วงหน้าก่อนทาการเรียนการสอน 4. ครูจัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ตามแผนผังที่กาหนดไว้ โดยมีหัวหน้าประจาทุกกลุ่ม ผู้นากลุ่มอาจมีการผลัดเปลี่ยนกันแต่ละกลุ่มควรเป็นกลุ่มเดิมเพื่อจะได้ ทางานที่ต่อเนื่องกัน 5. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และรู้บทบาทหน้าที่ของตนในกลุ่ม โดยไม่ให้ดูเฉลยก่อน หลังจากปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วจึงเปิดดูเฉลยได้และมีการแลกเปลี่ยนกัน ตรวจตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม 6. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นสารวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 4) ขั้นขยายความรู้ 5) ขั้นประเมินผล 7. ชุดกิจกรรมที่ 4 เป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเนื้อหาประจาหน่วย ซึ่ง บูรณาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ไปพร้อม ๆ กัน 8. ขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครูต้องคอยดูแลและแนะนาการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เมื่อนักเรียนพบปัญหาในการเรียนจะได้ช่วยแก้ไขปัญหาได้ทันที 9. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนเก็บสื่อและวัสดุอุปกรณ์ของ แต่ละกลุ่มให้เรียบร้อย โดยเน้นการเก็บและดูแลรักษาความสะอาดฝึกให้เป็นระเบียบจนเป็นนิสัย 10. เมื่อสิ้นสุดการเรียนชุดกิจกรรมที่ 8 แล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 40 ข้อซึ่งเป็นแบบทดสอบคู่ขนานกับแบบทดสอบก่อนเรียน 11. แจ้งผลการเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมทันทีที่ตรวจเสร็จแล้ว
  • 7. ช คาชี้แจงสาหรับนักเรียน การใช้ชุดกิจกรรมนักเรียนควรทราบถึงบทบาทของตนเองดังนี้ 1. ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียด 2. ศึกษาใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช แล้วปฏิบัติกิจกรรมตาม ใบกิจกรรม ดังนี้ ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร (1ชั่วโมง) ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช ( 2 ชั่วโมง) 3. นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังไม่เล่นหรือทาให้ล่าช้า 4. กิจกรรมการทดลองต้องทาตามขั้นตอนทุกขั้นตอนด้วยความระมัดระวังเพราะ อุปกรณ์อาจแตกหรือเสียหายได้ 5. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้นักเรียนส่งผลงานการทากิจกรรมให้ครูตรวจหรือ แลกเปลี่ยนกันตรวจก่อนที่จะดาเนินการศึกษากิจกรรมต่อไป ถ้ามีอะไรชารุดเสียหายต้องแจ้งให้ครู ทราบทันที 6. เมื่อทากิจกรรมเสร็จทั้ง 8 ชุดแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 40 ข้อ เพื่อ ประเมินความรู้หลังเรียน
  • 8. ซ แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน การประเมินผล 1. ประเมินจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน -หลังเรียน จานวน 40 ข้อ 2. ประเมินผลจากการทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ ขนรากมีลักษณะอย่างไร ตามเกณฑ์ การประเมินที่กาหนด 3. ประเมินการทากิจกรรมการทดลองตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด 4. สังเกตความสนใจและความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมและพฤติกรรมการทางาน กลุ่มทุกครั้งที่เรียน โต๊ะครู กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 8 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 4
  • 9. 1 ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่องย่อยที่ 5 การลาเลียงของสารในพืช ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 – 10 (เวลา 3 ชั่วโมง) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร ตอบคาถามแล้วสรุปผลการศึกษา 2.ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าในพืช ตอบคาถามแล้วสรุปผลการศึกษา 3. ศึกษาใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช แล้วร่วมกันอภิปราย และเสนอแนะแนวทางการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารใน พืชและการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 4. ตรวจคาตอบจากแนวการตอบ ภาพที่ 5.1 ลักษณะของขนรากพืช ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
  • 10. 2 ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การลาเลียงของสารในพืชแล้ว สามารถ 1. สังเกตและอธิบายลักษณะของขนรากพืชที่มีผลต่อการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้ 2. อธิบายกระบวนการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้ 3. อธิบายกระบวนการคายน้าของพืชได้ 4. ทดลอง เปรียบเทียบและอธิบายโครงสร้างของระบบท่อลาเลียงในพืชได้ 5. เสนอชื่อเรื่องของโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารในพืชและ บอกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ 1. การลาเลียงของสารในพืช การงอกของรากพืชต้องอาศัยน้า อุณหภูมิและอากาศในปริมาณที่เหมาะสม น้าและแร่ธาตุ จากดินจะเข้าสู่เซลล์ขนรากด้วยกระบวนการออสโมซิสและการแพร่ จากนั้นจะเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ หนึ่งไปสู่อีกเซลล์ข้างเคียงจนถึงท่อลาเลียงน้า (Xylem) ซึ่งจะอยู่ตรงกลางของราก น้าและแร่ธาตุจะ ลาเลียงขึ้นไปสู่ใบเพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสงต่อไป สารอาหารที่สร้างได้จะถูกลาเลียงจากใบไปสู่ ส่วนต่าง ๆ ของพืชทางท่อลาเลียงอาหาร (Phloem) สู่ด้านล่างของพืช 1.1 ขนราก ขนราก (Roothair) คือเซลล์ที่ทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากพืช จะพบบริเวณ เหนือปลายหมวกรากขึ้นมาเล็กน้อย มีลักษณะเป็นเซลล์ยาวและบางเหมือนขนเส้นเล็ก ๆ หรือเป็น ฝอยบาง ๆ จานวนมากอยู่ปลายราก การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ลักษณะนี้ ทาให้รากมีพื้นที่ผิวสัมผัส กับน้าและแร่ธาตุมากขึ้น จึงทาให้น้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากพืชได้มากขึ้น
  • 11. 3 ภาพที่ 5.2 ลักษณะของขนรากและโครงสร้างของรากพืช (ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). : 49) น้าจากดินจะข้าสู่เซลล์ขนรากและแพร่ต่อไปยังเนื้อเยื่อท่อลาลียงน้าในรากได้ ด้วยกระบวนการออสโมซิสและการแพร่ ส่วนแร่ธาตุจะลายในน้าเข้าสู่เซลล์ขนรากและเซลล์ เนื้อเยื่อลาเลียงน้าได้โดยการลาเลียงแบบแอคทีฟ (Active transport) ซึ่งต้องอาศัยพลังงาน จากเซลล์ขนรากช่วยในการแพร่ แร่ธาตุที่สาคัญที่พืชต้องการได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ถ้าพืชขาดธาตุไนโตรเจน จะทาให้ใบเหลืองซีด เจริญเติบโตช้า ถ้าขาดธาตุ ฟอสฟอรัส ลาต้นจะแคระแกร็น ใบเล็ก ขาดธาตุโพแทสเซียมจะทาให้ลาต้นแคระแกร็นและมีผล ต่อการออกดอกและผลของพืช ภาพที่ 5.3 ทิศทางการดูดซึมน้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากพืช (ที่มาของภาพ : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. 2551 : 50) (ที่มา ปรับปรุงจาก : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). หนังสือเรียนสาระ การเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. รัตน์ธรา การพิมพ์ : กรุงเทพฯ.)
  • 12. 4 1.2 การลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืช น้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากได้โดยกระบวนการออสโมซิสผ่านทางเซลล์ขนราก และจะ แพร่ต่อไปยังเซลล์ถัดไปเรื่อย ๆ จนถึงท่อลาเลียงน้า (Xylem) ซึ่งอยู่ตรงกลางรากและเป็นท่อยาว ต่อเนื่องไปสู่ลาต้น กิ่ง ก้านและใบ การที่น้าและแร่ธาตุจากรากขึ้นไปสู่ยอดพืชได้นั้นเป็นเพราะมี แรงดึงที่เกิดจากการคายน้าของใบดึงดูดให้น้าและแร่ธาตุลาเลียงขึ้นไปได้ตลอดเวลา คล้ายกับการที่ เราดูดน้าจากขวดหรือจากแก้วโดยใช้หลอดดูด 1.3 การคายน้าของพืช (Transpiration) การคายน้าของพืชส่วนใหญ่ออกทางปากใบ (Stoma) เพื่อรักษาอุณหภูมิของใบไม้ ไม่ให้ร้อนจัด และยังช่วยเร่งให้การดูดน้าขึ้นมาได้ตลอดเวลา ซึ่งจะมีแร่ธาตุละลายปนมากับน้า ด้วย ใบจึงได้รับแร่ธาตุต่าง ๆ สาหรับใช้เป็นวัตถุดิบในการสร้างอาหาร 1.3.1 ขั้นตอนการดูดน้าของพืช การดูดน้าของพืชจะมีความสัมพันธ์กันกับการปิดเปิดของปากใบ โดยน้าจะ ออสโมซิสเข้าสู่รากพืช แล้วเข้าสู่ลาต้น ไปสู่ส่วนต่าง ๆ และใบพืช ทาให้ความเข้มข้นของน้าใน เซลล์คุมมีมาก เซลล์จะเต่งขึ้น ทาให้ปากใบเปิดทาให้น้าถูกคายออกในรูปของไอน้า ดังนี้ ปากใบจะเปิดในเวลากลางวัน  เซลล์คุมเต่งขึ้น  น้าออสโมซิสเข้าสู่เซลล์คุม  ความเข้มข้นของสารละลายในเซลล์มาก โดยเฉพาะเซลล์คุม เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง  น้าออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ของใบ  น้าจากดินออสโมซิสเข้าสู่ราก และถูกส่งต่อผ่านลาต้นไปยังใบตลอดเวลา ภาพที่ 5.4 ทิศทางการลาเลียงน้าจากรากขึ้นสู่ลาต้นและทิศทางการคายน้าออกทางปากใบ (ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 55)
  • 13. 5 1.3.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้าของพืช การคายน้าของพืช เกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายอย่าง ดังนี้ 1) ชนิดของพืช พืชบางชนิดมีปากใบมากการคายน้าจะมากด้วย 2) แสงสว่าง ถ้าความเข้มของแสงมากปากใบจะเปิดกว้าง ทาให้คายน้าได้มาก 3) อุณหภูมิของอากาศ ถ้าอุณหภูมิของอากาศสูง การคายน้าจะเกิดได้มาก เพื่อ ระบายความร้อนออกจากต้นพืช 4) ความชื้นในอากาศ ถ้าความชื้นในอากาศสูง การคายน้าจะคายได้น้อยถ้าหาก ความชื้นในอากาศต่าการคายน้าจะเป็นไปได้มาก 5) ความกดดันของอากาศ อากาศที่มีความกดดันต่า ความหนาแน่นของอากาศ จะน้อย น้าจึงระเหยออกจากต้นพืชได้ง่าย ทาให้อัตราการคายน้าสูง 6) ลม ถ้าในวันที่มีลมแรง ปากใบจะปิด ทาให้พืชคายน้าได้น้อย 7) ปริมาณน้าในดิน ถ้ามีน้าน้อย จะทาให้การคายน้าน้อย (ที่มา ปรับปรุงจาก : ประดับ นาคแก้วและดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). หนังสือเรียนสาระ การเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. รัตน์ธราการพิมพ์ : กรุงเทพฯ.) 1.4 การลาลียงสารอาหารในพืช สารอาหารที่พืชสร้างขึ้น คือ น้าตาลกลูโคส ซึ่งอยู่ในรูปของสารละลายจะถูกลาเลียง จากใบไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืชผ่านทางท่อลาเลียงอาหาร (Phloem) ซึ่งการลาเลียงจากเซลล์ของใบ ไปสู่เซลล์ข้างเคียงต่อ ๆ กันไปด้วยกระบวนการแพร่ การลาเลียงอาหารเป็นการเคลื่อนที่จาก ด้านบนของลาต้นพืชสู่ด้านล่างไปเลี้ยงส่วนของลาต้น ราก และบางส่วนลาเลียงไปเลี้ยงดอกและผล ถ้าตัดท่อลาเลียงอาหารของพืชโดยลอกเปลือกนอกออก เช่น การตอนกิ่งพืช จะมีราก งอกออกมา เมื่อพืชสร้างอาหารได้มาก พืชจะลาเลียงอาหารไปเก็บไว้ที่ส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1) ส่วนผลที่สะสมอาหาร เช่น มะม่วง กล้วย เงาะ ลาไย ขนุน 2) ส่วนของรากที่สะสมอาหาร เช่น ผักกาดหัว มันเทศ แครอท 3) ส่วนของเมล็ดที่สะสมอาหาร เช่น ข้าว ข้าวโพด ถั่ว 4) ส่วนของลาต้นที่สะสมอาหาร เช่น อ้อย 5) ส่วนของลาต้นใต้ดินที่สะสมอาหาร เช่น เผือก มันฝรั่ง หัวหอม ขมิ้น ข่า 6) ส่วนของดอกที่ทาหน้าที่สะสมอาหาร เช่น ดอกแค ดอกกระเจียว
  • 14. 6 ภาพที่ 5.5 กล้วย ภาพที่ 5.6 แครอท ภาพที่ 5.7 ข้าวโพด ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th อาหารที่สะสมอยู่นี้จะอยู่ในรูปต่าง ๆ กัน เช่น แป้ ง น้าตาล ไขมัน โปรตีน ซึ่งมนุษย์ และสัตว์นามาใช้เป็นอาหาร และยังมีสารอื่น ๆ ที่พืชสร้างได้เช่น น้ายางพารา น้ามันสน เป็นต้น ดังนั้นการลาเลียงน้าและแร่ธาตุของพืชจึงมีทิศทางตรงข้ามกัน โดยน้ามีทิศขึ้นจากราก สู่ลาต้นพืช ส่วนการลาเลียงอาหารมีทิศลงจากใบสู่รากพืช ดังภาพที่ 40 ภาพที่ 5.8 ทิศทางการลาเลียงสารในพืช ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th (ที่มา ปรับปรุงจาก : ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม. 1. อักษรเจริญทัศน์ : กรุงเทพฯ)
  • 15. 7 2. โครงสร้างของระบบท่อลาเลียงในพืช การจัดเรียงตัวของท่อลาเลียงน้า (Xylem) และท่อลาเลียงอาหาร (Phloem) ในรากและลา ต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันดังนี้ 2.1 ลักษณะท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ราก : ระบบลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ท่อลาเลียงน้าจะเรียงอยู่รอบแก่นไม้(Pith) และท่อลาเลียงอาหาร จะแทรกกระจายอยู่ระหว่างท่อลาเลียงน้า ลาต้น : ระบบลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ท่อลาเลียงน้าและท่อลาเลียงอาหารจะอยู่ กระจัดกระจายทั่วลาต้น ภาพที่ 5.9 รากและลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 61) 2.1 ลักษณะท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงคู่ ราก : ระบบลาเลียงของพืชใบเลี้ยงคู่ ท่อลาเลียงน้าจะเรียงตัวเป็นแฉก 2 -5 แฉก ออกมาจากกึ่งกลางของราก ส่วนท่อลาเลียงอาหาร จะแทรกอยู่ระหว่างแฉกของท่อลาเลียงน้า ลาต้น : ระบบลาเลียงของพืชใบเลี้ยงคู่ ท่อลาเลียงน้าและท่อลาเลียงอาหารจะรวมอยู่ ด้วยกัน เรียงตัวเป็นระเบียบเป็นวงรอบลาต้น โดยท่อลาเลียงอาหารอยู่ด้านนอก ท่อลาเลียงน้าอยู่ ด้านใน มีเนื้อเยื่อ (Cambium) แทรกอยู่ระหว่างท่อลาเลียงทั้งสอง
  • 17. 9 กิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การลาเลียงของสารในพืชแล้ว สามารถ 1. สังเกตและอธิบายการลาเลียงของสารในพืชโดยผ่านขนรากและรากพืชได้ 2. อธิบายขั้นตอนของการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้ 3. ทดลอง เปรียบเทียบและอธิบายโครงสร้างของระบบท่อลาเลียงในพืชได้ 4. บอกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ ควรเป็นกลุ่มเดิม 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับอุปกรณ์การทดลองและชุดกิจกรรมที่ 5 แล้ว ทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ตอนที่ 1 เรื่อง ขนรากมีลักษณะอย่างไร 1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 2. ตั้งสมมุติฐาน ................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. อุปกรณ์ 1) เมล็ดถั่วดาที่มีรากงอก กลุ่มละ 1 – 2 ต้นต่อกลุ่ม 2) แว่นขยาย จานวน 1 อัน ต่อกลุ่ม 3) สาลี จานวน 2 แผ่น ต่อกลุ่ม 4) กระดาษสีดา จานวน 1 แผ่น ต่อกลุ่ม
  • 18. 10 5. วิธีศึกษาทดลอง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเซลล์ขนรากของพืช โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้ 1) เพาะเมล็ดถั่วดาที่แช่น้าไว้ 1 คืน วางบนสาลีใส่ในจานแก้วแล้วปิดด้วยสาลีอีกแผ่นหนึ่ง 2) นาเมล็ดถั่วดาที่มีรากงอกออกมา วางบนกระดาษสีดา สังเกตโดยใช้แว่นขยาย 3) วาดภาพตาแหน่งและลักษณะของขนราก 6. ตารางบันทึกผลการทดลอง ภาพวาดของขนราก ลักษณะของขนรากที่สังเกตเห็น 7. คาถามท้ายการทดลอง 1) เซลล์ขนรากมีลักษณะอย่างไร ............................................................................................................................................................. 2) ลักษณะและรูปร่างของขนรากมีผลดีต่อพืชอย่างไร ............................................................................................................................................................. 3) ถ้าเซลล์ขนรากของพืชถูกทาลายจะเกิดผลอย่างไรกับพืช ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 8. สรุปผลการศึกษา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3). นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)
  • 19. 11 ตอนที่ 2 เรื่อง ลักษณะท่อลาเลียงน้าของพืช 1. กาหนดปัญหา ................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 2. ตั้งสมมุติฐาน ................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. อุปกรณ์ 1) ผักกระสัง จานวน 1 ต้น ต่อกลุ่ม นาไปแช่ในน้า 2) น้าหมึกสีแดง จานวน 2 หยด ผสมน้า ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3) กล่องพลาสติก 1 ใบ ต่อกลุ่ม 4) มีดโกน 1 ด้ามต่อกลุ่ม 5. วิธีศึกษาทดลอง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืช โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนดังนี้ 1) น้าผักกระสังที่มีราก 1 ต้น มาล้างให้สะอาด 2) นาไปแช่ในน้าหมึกสีแดงผสมน้า ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร นาน 30 นาที (ควรให้นักเรียนเตรียมไว้ล่วงหน้า) 3) นาต้นผักกระสังมาตัดเป็นท่อนๆตามขวางและตามยาวแล้วนาไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ 4) วาดภาพแสดงตาแหน่งที่ติดสีแดง ภาพที่ 5.12 การแช่ผักกระสัง ภาพที่ 5.13 การตัดลาต้นผักกระสังตามขวาง และตัดตามยาว (ที่มาของภาพ:สุภาวดี สมัครสมาน(ถ่ายภาพ).2551) (ที่มาของภาพ:ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ.ม.ป.ป.:61)
  • 20. 12 6. ตารางบันทึกผลการทดลอง ลักษณะภาพที่สังเกต ลักษณะของของลาต้นที่สังเกตเห็น ภาพตัดตามขวาง ภาพตัดตามยาว 7. คาถามท้ายการทดลอง 1) เมื่อแช่ต้นผักกระสังในน้าหมึกสีแดง นาน 30 นาที จะสังเกตเห็นลาต้นเป็นอย่างไร ............................................................................................................................................................. 2) จากการทดลองกลุ่มสีแดงรอบ ๆ ต้นตัดตามขวาง คืออะไร ............................................................................................................................................................. 3) จากการสังเกตภาพตัดตามยาวของลาต้น กลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อลาเลียงน้ามีลักษณะอย่างไร ............................................................................................................................................................. 4) หมึกสีแดงเข้าสู่รากและเคลื่อนที่สู่ลาต้นของพืชด้วยวิธีใด ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 5) จากการทดลองนี้ นักเรียนคิดว่าจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 8. สรุปผลการศึกษา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 9. ให้นักเรียนเสนอชื่อเรื่องของโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารในพืช ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 21. 14 แนวการตอบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เรื่อง การลาเลียงของสารในพืชแล้ว สามารถ 1. สังเกตและอธิบายลักษณะของขนรากพืชที่มีผลต่อการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้ 2. อธิบายกระบวนการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืชได้ 3. อธิบายกระบวนการคายน้าของพืชได้ 4. ทดลอง เปรียบเทียบและอธิบายโครงสร้างของระบบท่อลาเลียงในพืชได้ 5. เสนอชื่อเรื่องของโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารในพืชและ บอกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยคละเพศและความสามารถ ควรเป็นกลุ่มเดิม 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับอุปกรณ์การทดลองและชุดกิจกรรมที่ 5 แล้ว ทากิจกรรมที่ 5 ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ตอนที่ 1 เรื่อง ลักษณะของขนราก 1. กาหนดปัญหา ขนรากมีลักษณะอย่างไรและทาหน้าที่ใด 2. ตั้งสมมุติฐาน ถ้าขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก ดังนั้น เมื่อสังเกตด้วยแว่นขยายจะพบ โครงสร้างนี้ซึ่งทาหน้าที่ในการดูดน้าและแร่ธาตุจากดิน 3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร ตัวแปรต้น คือ ลักษณะของขนราก ตัวแปรตาม คือ ขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก เมื่อใช้แว่นขยายส่องดู ตัวแปรควบคุม คือ เมล็ดถั่วดาที่แช่น้า 1 คืน 4. อุปกรณ์ 1) เมล็ดถั่วดาที่มีรากงอก กลุ่มละ 1 – 2 ต้นต่อกลุ่ม 2) แว่นขยาย จานวน 1 อัน ต่อกลุ่ม 3) สาลี จานวน 2 แผ่น ต่อกลุ่ม 4) กระดาษสีดา จานวน 1 แผ่น ต่อกลุ่ม
  • 22. 15 5. วิธีศึกษาทดลอง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเซลล์ขนรากของพืช โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้ 1) เพาะเมล็ดถั่วดาที่แช่น้าไว้ 1 คืน วางบนสาลีใส่ในจานแก้วแล้วปิดด้วยสาลีอีกแผ่นหนึ่ง 2) นาเมล็ดถั่วดาที่มีรากงอกออกมา วางบนกระดาษสีดา สังเกตโดยใช้แว่นขยาย 3) วาดภาพตาแหน่งและลักษณะของขนราก 6. ตารางบันทึกผลการทดลอง ภาพวาดของขนราก ลักษณะของขนรากที่สังเกตเห็น ขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก ทาหน้าที่ใน การดูดน้าและแร่ธาตุจากดิน 7. คาถามท้ายการทดลอง 1) เซลล์ขนรากมีลักษณะอย่างไร ขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก ทาหน้าที่ในการดูดน้าและแร่ธาตุจากดิน 2) ลักษณะและรูปร่างของขนรากมีผลดีต่อพืชอย่างไร ลักษณะฝอยเล็ก ๆ ของขนรากช่วยในการเพิ่มพื้นที่ในการดูดน้าของพืชให้มากขึ้น 3) ถ้าเซลล์ขนรากของพืชถูกทาลายจะเกิดผลอย่างไรกับพืช พืชจะไม่สามารถดูดน้าได้และทาให้พืชตายได้ 8. สรุปผลการศึกษา ขนรากมีลักษณะเป็นฝอยเล็ก ๆ รอบ ๆ ราก ทาหน้าที่ในการดูดน้าและแร่ธาตุจากดิน ลักษณะฝอยเล็ก ๆ ของขนรากช่วยในการเพิ่มพื้นที่ในการดูดน้าของพืชให้มากขึ้น (ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3). นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)
  • 23. 16 ตอนที่ 2 เรื่อง การลาเลียงน้าและแร่ธาตุของพืช 1. กาหนดปัญหา ท่อลาเลียงน้าของพืชจะมีลักษณะเป็นอย่างไร เมื่อดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ 2. ตั้งสมมุติฐาน ถ้าท่อลาเลียงน้าของพืชมีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ จากรากขึ้นไปสู่ลาต้นพืช เมื่อดูภายใต้กล้อง จุลทรรศน์จะพบลักษณะนี้ 3. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ของการศึกษาเรื่องนี้คืออะไร ตัวแปรต้น คือ ลักษณะท่อลาเลียงน้า ตัวแปรตาม คือ ท่อลาเลียงน้ามีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ เมื่อใช้ส่องดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ตัวแปรควบคุม คือ ต้นผักกระสังที่แช่น้าหมึกสีแดง ระยะเวลาการแช่ 30 นาที จานวน หยดของน้าหมึกสีแดง 4. อุปกรณ์ 1) ผักกระสัง จานวน 1 ต้น ต่อกลุ่ม 2) น้าหมึกสีแดง จานวน 2 หยด ผสมน้า ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3) กล่องพลาสติก 1 ใบ ต่อกลุ่ม 4) มีดโกน 1 ด้ามต่อกลุ่ม 5. วิธีศึกษาทดลอง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาการลาเลียงน้าและแร่ธาตุในพืช โดยปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนดังนี้ 1) น้าผักกระสังที่มีราก 1 ต้น มาล้างให้สะอาด 2) นาไปแช่ในน้าหมึกสีแดงผสมน้า ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร นาน 30 นาที (ควรให้นักเรียนเตรียมไว้ล่วงหน้า) 3) นาต้นผักกระสังมาตัดเป็นท่อนๆตามขวางและตามยาวแล้วนาไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ 4) วาดภาพแสดงตาแหน่งที่ติดสีแดง
  • 24. 17 6. ตารางบันทึกผลการทดลอง ลักษณะภาพที่สังเกต ลักษณะของของลาต้นที่สังเกตเห็น ภาพตัดตามขวาง เมื่อสังเกตในภาพตัดตามขวางลักษณะของท่อลาเลียงน้า บริเวณที่มีสีแดงจะเป็นกระจุกอยู่รอบ ๆ ต้น ภาพตัดตามยาว เมื่อสังเกตภาพตัดตามยาวจะเห็นเป็นท่อลาเลียงสีแดงยาว ขึ้นไปตามลาต้น 7. คาถามท้ายการทดลอง 1) เมื่อแช่ต้นผักกระสังในน้าหมึกสีแดง นาน 30 นาที จะสังเกตเห็นลาต้นเป็นอย่างไร ลาต้นจะมีสีแดงยาวจากรากถึงลาต้นและใบ 2) จากการทดลองกลุ่มสีแดงรอบ ๆ ต้นตัดตามขวาง คืออะไร ท่อลาเลียงน้า 3) จากการสังเกตภาพตัดตามยาวของลาต้น กลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อลาเลียงน้ามีลักษณะอย่างไร เป็นท่อยาวต่อเนื่องกันทั้งลาต้น 4) หมึกสีแดงเข้าสู่รากและเคลื่อนที่สู่ลาต้นของพืชด้วยวิธีใด ด้วยวิธีการแพร่และการออสโมซิส ภาพที่ 40 การแช่ผักกระสัง ภาพที่ 40 การตัดลาต้นผักกระสังตามขวาง และตัดตามยาว (ที่มาภาพ:สุภาวดี สมัครสมาน(ถ่ายภาพ).2551) (ที่มาภาพ:ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ.(ม.ป.ป.):61)
  • 25. 18 5) จากการทดลองนี้ นักเรียนคิดว่าจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร ในการปักจันดอกไม้ถ้าต้องการยืดอายุของดอกไม้ให้สดนานควรเติมน้าในแจกันดอกไม้ จะทาให้ดอกไม้สดได้นานหลายวัน 8. สรุปผลการศึกษา ท่อลาเลียงน้าของพืชเมื่อสังเกตด้วยกล้องจุลทรรศน์มีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ จากรากขึ้นไป สู่ลาต้นพืช และอยู่กระจัดกระจายหรือเป็นกระจุกอยู่รอบ ๆ ต้น 9. ให้นักเรียนเสนอชื่อเรื่องของโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงของสารในพืช โครงงานเรื่อง ดอกไม้สดสวยด้วยโอเอซิสจากกาบมะพร้าว, โครงงานเรื่อง สารส้มชะลอความเหี่ยวของผัก, น้ามะพร้าวชะลอความเหี่ยวของผักชี เป็นโครงงานประเภท ทดลอง
  • 26. 19 เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน ตอนที่ 1 (10 คะแนน) 1 -3 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 4-5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ 3 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ 2 ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ 1 7 (1- 3) ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 8 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1 ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0
  • 27. 20 ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน ตอนที่ 2 (15 คะแนน) 1 -3 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 4-5 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 1 รายการ 3 ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและมีการบันทึกผลการทดลองครบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดผิดหรือผิดไม่เกิน 2 รายการ 2 ไม่ได้ทาการทดลองตามขั้นตอนและไม่มีการบันทึกผลการทดลองหรือ บันทึกผลการทดลองไม่ครบส่วนผิดมากกว่า 2 รายการ 1 7 (1- 5) ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 8 สรุปผลการศึกษาได้ถูกต้องตรงตามผลการทดลอง 1 ไม่ได้สรุปผลการศึกษาหรือสรุปแต่ไม่ถูกต้อง 0 9 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการลาเลียงของสารในพืชได้ 2 ชื่อขึ้นไป และบอกประเภทของโครงงานได้ถูกต้อง 3 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการลาเลียงของสารในพืชได้1 ชื่อและ บอกประเภทของโครงงานได้ถูกต้อง 2 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการลาเลียงของสารในพืชได้1 ชื่อแต่ ไม่ได้บอกประเภทของโครงงาน 1 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับการลาเลียงของสารในพืชไม่ได้หรือ บอกแต่ไม่สอดคล้องและบอกประเภทของโครงงานไม่ได้ 0 รวมตอนที่ 1 และ 2 (10+15) = 25 คะแนน สรุปผลการประเมิน  ดีมาก (21 – 25 คะแนน)  ดี (16 – 20 คะแนน)  ปานกลาง (11 – 15 คะแนน)  ผ่าน (6 – 10 คะแนน)  ต้องปรับปรุง (ต่ากว่า 6 คะแนน) ผู้ประเมิน ............................................ (............................................)
  • 28. 21 บรรณานุกรม กนก จันทร์ขจร และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุภัณฑ์. . (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กฤษณีย์ ปิตุรัตน์. (2548). ผลการใช้ชุดฝึกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ที่พัฒนามาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กุณฑรี เพชรทวีพรเดช และนิตยา บุญมี. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. เกริก ท่วมกลาง. (2546). แบบฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน คู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4- 6). : กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์. จักฬพล สว่างอารมณ์. (2543). ผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาบูรพา. ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. เตือนใจ ไชยโย. (2545). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกคิดหัวข้อและ วางแผนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถนัด ศรีบุญเรือง. (2549). วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. . (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. ถวัลย์ มาศจรัสและมณี เรืองขา. (2549). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโครงงาน. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
  • 29. 22 บัญชา แสนทวี และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้น ม.1. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช. ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แม็ค . ปิ่นศักดิ์ ชุมเกษียน และปิยาณี สมคิด. (2545). วิทยาศาสตร์ 2 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า. พเยาว์ ยินดีสุข และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (วพ)จากัด . (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์พันธุ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพ วิชาการ. . (2550). สุดยอดคู่มือครูแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา คุณภาพวิชาการ. พีระ พนาสุภน. (2551). แม็ค ม.ต้น. กรุงเทพฯ : ซีวีแอลการพิมพ์. โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง. (2551). แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2551. กลุ่มบริหารงานทั่วไป. . (2550). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2). ฝ่ายวิชาการ. ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design.กรุงเทพฯ : ช้างทอง. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2549). โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. : กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.