SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
ใบความรู้ ที่ 1.1 <br />เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์<br />ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบที่ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูล ข้อมูล คือ ข้อเท็จจิรงที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ การประมวลผลข้อมูล หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์ทำการใด ๆ กับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้มากขึ้น เช่น จากแฟ้มทะเบียนประวัตินักเรียนทั้งห้องซึ่งมีอยู่ 35 คน ถ้าต้องการทราบว่านักเรียนกี่คนที่เป็นนักเรียนชายและเป็นนักเรียนหญิง คอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์เฉพาะเพื่อทำงานแล้วให้คำตอบตามที่ต้องการได้จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน คือ<br />ข้อมูลอุปกรณ์นำเข้าคู่มือการจัดเก็บข้อมูลกระบวนงานบุคลากรคอมพิวเตอร์       หน่วยประมวล                   ผลกลางโปรแกรม ซอฟต์แวร์อุปกรณ์ส่งออก<br />ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่สำคัญดังต่อไปนี้<br />1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)<br />2. ซอฟต์แวร์ (Software)<br />3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (People)<br />4. ข้อมูล (Data)<br />1. ฮาร์ดแวร์ คือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนต่าง ๆ ที่มีตัวตน สามารถมองเห็นได้ จับต้องได้ เช่น ซีพียู จอภาพ เมาส์ แป้นพิมพ์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ซึ่งส่วนเหล่านี้แตะละส่วนจะทำหน้าที่แตกต่างกันออกไปดังนี้คือ<br />1.1 หน่วยรับข้อมูลเข้า เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์<br />2668905183515931545635<br />102298541148029432255029201.2 หน่วยประมวลผลกลาง (ซีพียู)<br />1.3 หน่วยแสดงผลข้อมูล หรือหน่วยส่งออก<br />248602578105102298578105<br />2. ซอฟต์แวร์  คือ ชุดคำสั่ง (โปรแกรม) ที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน จัดเป็นส่วนที่เป็นนามธรรม คือ ไม่มีตัวตน ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่เป็นส่วนที่จำเป็น ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ ซอฟต์แวร์ถือว่าเป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่ง และอยู่ภายใต้การคุ้มครองของกฎหมายลิขสิทธิ์ หมายถึง ผู้ใช้งานที่ถูกต้องจะต้องได้รับการอนุญาตจากเจ้าของซอฟต์แวร์นั้น อาจจะได้รับอนุญาต หรือ ซื้อมา ซอฟต์แวร์นั้นเราแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้<br />2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานในส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ประสานงานระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์อื่น<br />84010595885<br />19373856553202.2 ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ช่วยในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ในหน้าที่เฉพาะด้านบางอย่าง เช่น การตรวจหาและกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ การเรียงลำดับข้อมูลเป็นต้น<br />330898568834010229856883402.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ได้แก่โปรแกรมที่ใช้ทำงานตามคำสั่ง หรือตามความต้องการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word หรือโปรแกรมคำนวณ เช่น Excel เป็นต้น<br />3. บุคลากรคอมพิวเตอร์  ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะแต่เดิมนั้น คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่ใช้ยาก บุคลากรที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์จะต้องมีความรู้ในระดับผู้ชำนาญการทีเดียว แต่ในปัจจุบันนี้ การใช้งานคอมพิวเตอร์มีหลายระดับ ในระดับพื้นฐานนั้นการใช้งานจะง่ายมาก เพราะทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สมัยใหม่ได้รับการออกแบบให้ง่ายต่อการใช้งาน เรียกว่า เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ผู้ใช้งานในระดับนี้ เมื่อได้รับการฝึกหัดเพียงเล็กน้อยก็สามารถเริ่มใช้งานได้ทันที อย่างไรก็ตาม ระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมักมีการต่อเชื่อมกับเครือข่าย ซึ่งส่วนนี้ยังมีความยุ่งยากพอสมควร นอกจากนี้ยังมีปัญหาเรื่องไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่สามารถทำให้เกิดความผิดปกติในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ จึงจำเป็นที่ต้องใช้บุคลากรคอมพิวเตอร์ที่มีความเชี่ยวชาญมาดูแลระบบคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์จำนวนมาก ๆ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์พอจำแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกันคือ<br />3.1 ผู้ใช้งานทั่วไป<br />3.2 ผู้เชี่ยวชาญ<br />3.3 ผู้บริหาร<br />3.1 ผู้ใช้งานทั่วไป<br />ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User/End User)เป็นผู้ใช้งานระดับต่ำสุด ไม่จำเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญมากอาจเข้ารับการอบรมบ้างเล็กน้อยหรือศึกษาจากคู่มือการปฏิบัติงานก็สามารถใช้งานได้บุคลากรกลุ่มนี้มีจำนวนมากที่สุดในหน่วยงานลักษณะงานมักเกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป เช่น งานธุรการสำนักงาน งานป้อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (call center) เป็นต้น<br />3.2 ผู้เชี่ยวชาญ<br />3.2.1 ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์(Computer Operator/Computer Technician)<br />- มีความชำนาญทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะ<br />- มีทักษะและประสบการณ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี<br />- หน้าที่หลักคือ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้ใช้งานได้ตามปกติ<br />3.2.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)<br />- มีหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหารของหน่วยงานว่าต้องการระบบโปรแกรมหรือลักษณะงานอย่างไร เพื่อจะพัฒนาระบบงานให้ตรงตามความต้องการมากที่สุด<br />- ออกแบบกระบวนการทำงานของระบบโปรแกรมต่างๆทั้งหมดด้วย<br /> - มีการทำงานคล้ายกับสถาปนิกออกแบบบ้าน<br />3.2.3 นักเขียนโปรแกรม (Programmer)<br />- ชำนาญเรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามที่ตนเองถนัด<br />- มีหน้าที่และตำแหน่งเรียกแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เช่น<br />- web programmer<br />- application programmer<br />- system programmer<br />3.2.4 วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Enginering)<br />- ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาอย่างมีแบบแผน<br />-อาศัยหลักการทางวิศวกรรมศาสตร์มาช่วย เช่น วัดค่าความซับซ้อนของซอฟท์แวร์ และหาคุณภาพของซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาได้<br />- มีทักษะและความเข้าใจในการพัฒนาซอฟต์แวร์มากพอสมควร<br />- อยู่ในทีมงานพัฒนาซอฟต์แวร์กลุ่มเดียวกับนักเขียนโปรแกรมและนักวิเคราะห์ระบบพบเห็นได้กับการผลิตซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น การสร้างระบบปฏิบัติการ การเขียนโปรแกรมเกมส์<br />3.2.5 ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administrator)<br />- ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร<br />- เกี่ยวข้องกับลักษณะงานด้านเครือข่ายโดยเฉพาะ เช่น การติดตั้งระบบเครือข่ายการควบคุมสิทธิของผู้ที่จะใช้งาน การป้องกันการบุกรุกเครือข่าย เป็นต้น<br />- มีความชำนาญเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี และต้องมีทักษะในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที<br />4. ข้อมูล คือทรัพยากรอันมีค่าขององค์กร ต้องมีการจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย และต้องมีวิธีการให้เรียกใช้ได้อย่างทันการตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การจัดข้อมูลอย่างมีระบบ ใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database Management Program) ดังนั้น ในการจัดเก็บข้อมูลจำเป็นต้องศึกษาระบบงานขององค์กรเป็นอย่างดี เพื่อทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายยิ่งขึ้น<br />พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์<br />1. หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit)<br />2. หน่วยความจำหลัก (primary storage)<br />3. หน่วยความจำสำรอง (secondary storage)<br />4. หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล (input/output unit)<br />1. หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit)<br />1. หน่วยควบคุม (Control Unit)<br />ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของทุกๆหน่วยในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงเริ่มตั้งแต่การแปลคำสั่งที่ป้อนเข้าไป โดยการไปดึงคำสั่งและข้อมูลจากหน่วยความจำมาแล้วแปลความหมายของคำสั่งจากนั้นส่งความหมายที่ได้ไปให้หน่วยคำนวณและตรรกะเพื่อคำนวณและตัดสินใจว่าจะให้เก็บข้อมูลไว้ที่ใด<br />2. หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)<br />ทำหน้าที่ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ (arithmetic) เช่น การคูณ ลบ บวก หารเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์ (logical) ว่าเป็นจริงหรือเท็จอาศัยตัวปฏิบัติการเปรียบเทียบพื้นฐาน 3 ค่า คือ มากกว่า น้อยกว่าและ เท่ากับ<br />3. รีจิสเตอร์ (Register)<br />พื้นที่สำหรับเก็บพักข้อมูลชุดคำสั่ง ผลลัพธ์ และข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเพียงชั่วคราวไม่ถือว่าเป็นหน่วยความจำ รับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง และทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุมเช่นเดียวกับหน่วยอื่นๆ<br />รีจิสเตอร์ที่สำคัญโดยทั่วไป (อาจแตกต่างกันออกไปตามรุ่นของซีพียู) มีดังนี้<br />Accumulate Register ใช้เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณStorage Register เก็บข้อมูลและคำสั่งชั่วคราวที่ผ่านจากหน่วยความจำหลัก หรือรอส่งกลับไปที่หน่วยความจำหลักInstruction Register ใช้เก็บคำสั่งในการประมวลผลAddress Register บอกตำแหน่งของข้อมูลและคำสั่งในหน่วยความจำ<br />2. หน่วยความจำหลัก (primary storage)<br />ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและคำสั่งตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วคราวเช่นเดียวกันปกติจะมีตำแหน่งของการเก็บข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันที่เรียกว่า“แอดเดรส” (address)<br />ต่างจากรีจิสเตอร์ตรงที่เป็นการเก็บมูลและคำสั่งเพื่อที่จะ เรียกใช้ได้ในอนาคตอันใกล้ (ไม่เหมือนกับรีจิสเตอร์ที่เป็นเพียงแหล่งพักข้อมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเท่านั้น)<br /> แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ<br />2.1 รอม (ROM : Read Only Memory)<br />2.2 แรม (RAM : Random Access Memory)<br />2.1 รอม (ROM : Read Only Memory)<br />หน่วยความจำที่อ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้ใช้เก็บคำสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคำสั่งเฉพาะข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่องอย่างถาวร ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิดเครื่องไปก็ไม่สามารถทำให้ข้อมูลหรือคำสั่งในการทำงานต่างๆหายไปได้นิยมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า nonvolatile memory<br />มีหลายชนิดเช่น PROM, EPROM, EEPROM เป็นต้น<br />2.2 แรม (RAM : Random Access Memory)<br />หน่วยความจำที่จดจำข้อมูลคำสั่งในระหว่างที่ระบบกำลังทำงานอยู่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลาหากไฟดับหรือมีการปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจำนี้จะถูกลบเลือนหายไปหมดนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า volatile memoryมีหลายชนิด เช่น SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM<br />3. หน่วยความจำสำรอง (secondary storage)<br />ใช้สำหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกข้อมูลนั้นใช้ในภายหลังได้ (เก็บไว้ใช้ได้ในอนาคต) มีหลายชนิดมาก เช่น ฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ Flash Drive CD ฯลฯ<br />4. หน่วยรับและคำสั่งและแสดงผลข้อมูล (input/output unit)<br />หน่วยรับและคำสั่ง<br />คอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีหน่วยรับข้อมูลและคำสั่งเข้าสู่ระบบแปลงข้อมูลผ่านอุปกรณ์นำข้อมูลเข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ เป็นต้นส่งต่อข้อมูลที่ป้อนเข้าให้กับส่วนของหน่วยประมวลผลกลาง เพื่อทำหน้าที่ตามคำสั่งที่ได้รับมาหากขาดส่วนรับข้อมูลและคำสั่ง มนุษย์จะไม่สามารถติดต่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้<br />แสดงผลข้อมูล (input/output unit)<br />แสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เรียกว่า soft copy) เช่น จอภาพคอมพิวเตอร์หรืออยู่ในรูปแบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมาเป็น กระดาษออกทางเครื่องพิมพ์อาจอาศัยอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ลำโพง สำหรับการแสดงผลที่เป็นเสียงได้<br />
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNuttapon Punyaban
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111ratsamee
 
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...เจษฎา วงค์ปัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารKrittin Piampricharat
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์วชรพล สาระศาลิน
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Pavinee Weeranitiwechasarn
 

Tendances (17)

ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111งานเพาเวอร์21111111111111111111111
งานเพาเวอร์21111111111111111111111
 
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 

Similaire à ใบความรู้1.1

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
นาย ภคิณ-อาภรณ์รัตน์-ม
นาย ภคิณ-อาภรณ์รัตน์-มนาย ภคิณ-อาภรณ์รัตน์-ม
นาย ภคิณ-อาภรณ์รัตน์-มPimpisa Sunhatham
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 

Similaire à ใบความรู้1.1 (20)

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
Lab
LabLab
Lab
 
Lab
LabLab
Lab
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
นาย ภคิณ-อาภรณ์รัตน์-ม
นาย ภคิณ-อาภรณ์รัตน์-มนาย ภคิณ-อาภรณ์รัตน์-ม
นาย ภคิณ-อาภรณ์รัตน์-ม
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 

ใบความรู้1.1

  • 1. ใบความรู้ ที่ 1.1 <br />เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์<br />ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบที่ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูล ข้อมูล คือ ข้อเท็จจิรงที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ การประมวลผลข้อมูล หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์ทำการใด ๆ กับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้มากขึ้น เช่น จากแฟ้มทะเบียนประวัตินักเรียนทั้งห้องซึ่งมีอยู่ 35 คน ถ้าต้องการทราบว่านักเรียนกี่คนที่เป็นนักเรียนชายและเป็นนักเรียนหญิง คอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์เฉพาะเพื่อทำงานแล้วให้คำตอบตามที่ต้องการได้จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน คือ<br />ข้อมูลอุปกรณ์นำเข้าคู่มือการจัดเก็บข้อมูลกระบวนงานบุคลากรคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวล ผลกลางโปรแกรม ซอฟต์แวร์อุปกรณ์ส่งออก<br />ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่สำคัญดังต่อไปนี้<br />1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)<br />2. ซอฟต์แวร์ (Software)<br />3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (People)<br />4. ข้อมูล (Data)<br />1. ฮาร์ดแวร์ คือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนต่าง ๆ ที่มีตัวตน สามารถมองเห็นได้ จับต้องได้ เช่น ซีพียู จอภาพ เมาส์ แป้นพิมพ์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ซึ่งส่วนเหล่านี้แตะละส่วนจะทำหน้าที่แตกต่างกันออกไปดังนี้คือ<br />1.1 หน่วยรับข้อมูลเข้า เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์<br />2668905183515931545635<br />102298541148029432255029201.2 หน่วยประมวลผลกลาง (ซีพียู)<br />1.3 หน่วยแสดงผลข้อมูล หรือหน่วยส่งออก<br />248602578105102298578105<br />2. ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่ง (โปรแกรม) ที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน จัดเป็นส่วนที่เป็นนามธรรม คือ ไม่มีตัวตน ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่เป็นส่วนที่จำเป็น ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ ซอฟต์แวร์ถือว่าเป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่ง และอยู่ภายใต้การคุ้มครองของกฎหมายลิขสิทธิ์ หมายถึง ผู้ใช้งานที่ถูกต้องจะต้องได้รับการอนุญาตจากเจ้าของซอฟต์แวร์นั้น อาจจะได้รับอนุญาต หรือ ซื้อมา ซอฟต์แวร์นั้นเราแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้<br />2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานในส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ประสานงานระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์อื่น<br />84010595885<br />19373856553202.2 ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ช่วยในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ในหน้าที่เฉพาะด้านบางอย่าง เช่น การตรวจหาและกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ การเรียงลำดับข้อมูลเป็นต้น<br />330898568834010229856883402.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ได้แก่โปรแกรมที่ใช้ทำงานตามคำสั่ง หรือตามความต้องการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word หรือโปรแกรมคำนวณ เช่น Excel เป็นต้น<br />3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะแต่เดิมนั้น คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่ใช้ยาก บุคลากรที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์จะต้องมีความรู้ในระดับผู้ชำนาญการทีเดียว แต่ในปัจจุบันนี้ การใช้งานคอมพิวเตอร์มีหลายระดับ ในระดับพื้นฐานนั้นการใช้งานจะง่ายมาก เพราะทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สมัยใหม่ได้รับการออกแบบให้ง่ายต่อการใช้งาน เรียกว่า เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ผู้ใช้งานในระดับนี้ เมื่อได้รับการฝึกหัดเพียงเล็กน้อยก็สามารถเริ่มใช้งานได้ทันที อย่างไรก็ตาม ระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมักมีการต่อเชื่อมกับเครือข่าย ซึ่งส่วนนี้ยังมีความยุ่งยากพอสมควร นอกจากนี้ยังมีปัญหาเรื่องไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่สามารถทำให้เกิดความผิดปกติในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ จึงจำเป็นที่ต้องใช้บุคลากรคอมพิวเตอร์ที่มีความเชี่ยวชาญมาดูแลระบบคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์จำนวนมาก ๆ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์พอจำแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกันคือ<br />3.1 ผู้ใช้งานทั่วไป<br />3.2 ผู้เชี่ยวชาญ<br />3.3 ผู้บริหาร<br />3.1 ผู้ใช้งานทั่วไป<br />ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User/End User)เป็นผู้ใช้งานระดับต่ำสุด ไม่จำเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญมากอาจเข้ารับการอบรมบ้างเล็กน้อยหรือศึกษาจากคู่มือการปฏิบัติงานก็สามารถใช้งานได้บุคลากรกลุ่มนี้มีจำนวนมากที่สุดในหน่วยงานลักษณะงานมักเกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป เช่น งานธุรการสำนักงาน งานป้อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (call center) เป็นต้น<br />3.2 ผู้เชี่ยวชาญ<br />3.2.1 ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์(Computer Operator/Computer Technician)<br />- มีความชำนาญทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะ<br />- มีทักษะและประสบการณ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี<br />- หน้าที่หลักคือ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้ใช้งานได้ตามปกติ<br />3.2.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)<br />- มีหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหารของหน่วยงานว่าต้องการระบบโปรแกรมหรือลักษณะงานอย่างไร เพื่อจะพัฒนาระบบงานให้ตรงตามความต้องการมากที่สุด<br />- ออกแบบกระบวนการทำงานของระบบโปรแกรมต่างๆทั้งหมดด้วย<br /> - มีการทำงานคล้ายกับสถาปนิกออกแบบบ้าน<br />3.2.3 นักเขียนโปรแกรม (Programmer)<br />- ชำนาญเรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามที่ตนเองถนัด<br />- มีหน้าที่และตำแหน่งเรียกแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เช่น<br />- web programmer<br />- application programmer<br />- system programmer<br />3.2.4 วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Enginering)<br />- ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาอย่างมีแบบแผน<br />-อาศัยหลักการทางวิศวกรรมศาสตร์มาช่วย เช่น วัดค่าความซับซ้อนของซอฟท์แวร์ และหาคุณภาพของซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาได้<br />- มีทักษะและความเข้าใจในการพัฒนาซอฟต์แวร์มากพอสมควร<br />- อยู่ในทีมงานพัฒนาซอฟต์แวร์กลุ่มเดียวกับนักเขียนโปรแกรมและนักวิเคราะห์ระบบพบเห็นได้กับการผลิตซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น การสร้างระบบปฏิบัติการ การเขียนโปรแกรมเกมส์<br />3.2.5 ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administrator)<br />- ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร<br />- เกี่ยวข้องกับลักษณะงานด้านเครือข่ายโดยเฉพาะ เช่น การติดตั้งระบบเครือข่ายการควบคุมสิทธิของผู้ที่จะใช้งาน การป้องกันการบุกรุกเครือข่าย เป็นต้น<br />- มีความชำนาญเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี และต้องมีทักษะในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที<br />4. ข้อมูล คือทรัพยากรอันมีค่าขององค์กร ต้องมีการจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย และต้องมีวิธีการให้เรียกใช้ได้อย่างทันการตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การจัดข้อมูลอย่างมีระบบ ใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database Management Program) ดังนั้น ในการจัดเก็บข้อมูลจำเป็นต้องศึกษาระบบงานขององค์กรเป็นอย่างดี เพื่อทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายยิ่งขึ้น<br />พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์<br />1. หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit)<br />2. หน่วยความจำหลัก (primary storage)<br />3. หน่วยความจำสำรอง (secondary storage)<br />4. หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล (input/output unit)<br />1. หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit)<br />1. หน่วยควบคุม (Control Unit)<br />ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของทุกๆหน่วยในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงเริ่มตั้งแต่การแปลคำสั่งที่ป้อนเข้าไป โดยการไปดึงคำสั่งและข้อมูลจากหน่วยความจำมาแล้วแปลความหมายของคำสั่งจากนั้นส่งความหมายที่ได้ไปให้หน่วยคำนวณและตรรกะเพื่อคำนวณและตัดสินใจว่าจะให้เก็บข้อมูลไว้ที่ใด<br />2. หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)<br />ทำหน้าที่ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ (arithmetic) เช่น การคูณ ลบ บวก หารเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์ (logical) ว่าเป็นจริงหรือเท็จอาศัยตัวปฏิบัติการเปรียบเทียบพื้นฐาน 3 ค่า คือ มากกว่า น้อยกว่าและ เท่ากับ<br />3. รีจิสเตอร์ (Register)<br />พื้นที่สำหรับเก็บพักข้อมูลชุดคำสั่ง ผลลัพธ์ และข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเพียงชั่วคราวไม่ถือว่าเป็นหน่วยความจำ รับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง และทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุมเช่นเดียวกับหน่วยอื่นๆ<br />รีจิสเตอร์ที่สำคัญโดยทั่วไป (อาจแตกต่างกันออกไปตามรุ่นของซีพียู) มีดังนี้<br />Accumulate Register ใช้เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณStorage Register เก็บข้อมูลและคำสั่งชั่วคราวที่ผ่านจากหน่วยความจำหลัก หรือรอส่งกลับไปที่หน่วยความจำหลักInstruction Register ใช้เก็บคำสั่งในการประมวลผลAddress Register บอกตำแหน่งของข้อมูลและคำสั่งในหน่วยความจำ<br />2. หน่วยความจำหลัก (primary storage)<br />ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและคำสั่งตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วคราวเช่นเดียวกันปกติจะมีตำแหน่งของการเก็บข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันที่เรียกว่า“แอดเดรส” (address)<br />ต่างจากรีจิสเตอร์ตรงที่เป็นการเก็บมูลและคำสั่งเพื่อที่จะ เรียกใช้ได้ในอนาคตอันใกล้ (ไม่เหมือนกับรีจิสเตอร์ที่เป็นเพียงแหล่งพักข้อมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเท่านั้น)<br /> แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ<br />2.1 รอม (ROM : Read Only Memory)<br />2.2 แรม (RAM : Random Access Memory)<br />2.1 รอม (ROM : Read Only Memory)<br />หน่วยความจำที่อ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้ใช้เก็บคำสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคำสั่งเฉพาะข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่องอย่างถาวร ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิดเครื่องไปก็ไม่สามารถทำให้ข้อมูลหรือคำสั่งในการทำงานต่างๆหายไปได้นิยมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า nonvolatile memory<br />มีหลายชนิดเช่น PROM, EPROM, EEPROM เป็นต้น<br />2.2 แรม (RAM : Random Access Memory)<br />หน่วยความจำที่จดจำข้อมูลคำสั่งในระหว่างที่ระบบกำลังทำงานอยู่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลาหากไฟดับหรือมีการปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจำนี้จะถูกลบเลือนหายไปหมดนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า volatile memoryมีหลายชนิด เช่น SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM<br />3. หน่วยความจำสำรอง (secondary storage)<br />ใช้สำหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกข้อมูลนั้นใช้ในภายหลังได้ (เก็บไว้ใช้ได้ในอนาคต) มีหลายชนิดมาก เช่น ฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ Flash Drive CD ฯลฯ<br />4. หน่วยรับและคำสั่งและแสดงผลข้อมูล (input/output unit)<br />หน่วยรับและคำสั่ง<br />คอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีหน่วยรับข้อมูลและคำสั่งเข้าสู่ระบบแปลงข้อมูลผ่านอุปกรณ์นำข้อมูลเข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ เป็นต้นส่งต่อข้อมูลที่ป้อนเข้าให้กับส่วนของหน่วยประมวลผลกลาง เพื่อทำหน้าที่ตามคำสั่งที่ได้รับมาหากขาดส่วนรับข้อมูลและคำสั่ง มนุษย์จะไม่สามารถติดต่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้<br />แสดงผลข้อมูล (input/output unit)<br />แสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เรียกว่า soft copy) เช่น จอภาพคอมพิวเตอร์หรืออยู่ในรูปแบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมาเป็น กระดาษออกทางเครื่องพิมพ์อาจอาศัยอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ลำโพง สำหรับการแสดงผลที่เป็นเสียงได้<br />