SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 2
แบบสรุปย่อการวิจัย
1. รายละเอียดเกี่ยวกับแผนงานวิจัย
1.1 ชื่อแผนงานวิจัย การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
Slow Tourism Attractions Development in Upper Northern for Elderly Tourists
1.2 ชื่อคณะผู้วิจัย
1) นางกรวรรณ สังขกร1
ผู้อานวยการแผนงานวิจัย และหัวหน้าโครงการย่อยที่ 1
2) อาจารย์จันทร์จิตร เธียรสิริ2
หัวหน้าโครงการย่อยที่ 2
3) นางสุรีย์ บุญญานุพงศ์1
นักวิจัย
4) นายฉันทวัต วันดี13
นักวิจัย
5) นางสาวกฤษณา พุ่มเล็ก1
ผู้ช่วยวิจัย
6) น.ส.กาญจนา จี้รัตน์1
ผู้ช่วยวิจัย
1.3 งบประมาณและระยะเวลาทาวิจัย
ได้รับงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จานวนเงิน 3,316,800 บาท
ระยะเวลาทาการวิจัย 1 ปี เริ่มทาการวิจัยเมื่อ 1 เมษายน 2553 ถึงเมษายน 2554
2. ความสาคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย
การท่องเที่ยวเป็นแหล่งรายได้สาคัญของไทย การรักษาตลาดการท่องเที่ยวจึงสาคัญอย่างยิ่ง ไทยจึง
มีนโยบายเน้นทาการตลาดการท่องเที่ยวใหม่ๆดึงตลาดกลุ่มกระแสหลักที่มีศักยภาพในการจับจ่าย
โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น และได้นาความต้องการของนักท่องเที่ยวมาสร้าง
เรื่องราวเฉพาะ เพื่อสร้างมูลค่าการท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน ไทยจึงให้ความสาคัญกับ การท่องเที่ยวแบบไร้
ความเร่งรีบ (Slow Tourism) ซึ่งสอดคล้องกับการท่องเที่ยวของผู้สูงอายุ สถาบันวิจัยสังคมได้ดาเนินแผน
งานวิจัย เรื่อง “การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุ” โดยมีโครงการวิจัยย่อยภายใต้แผนงานวิจัย 2 โครงการ คือ โครงการย่อยที่ 1: การประเมิน
ศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ในภาคเหนือตอนบนที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
1
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทรศัพท์ 0 5394 2571 โทรสาร 0 5389 2649
2
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทรศัพท์ 0 5320 1800-4 ต่อ 1421, 08 4611 0100 โทรสาร 0 5320 1810
3
บริษัทอิงคะ จากัด 99/19 ถนนห้วยแก้ว อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์: 0 5321 6427 โทรสาร 0 5389 2741
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 3
และ โครงการย่อยที่ 2: การประเมินศักยภาพการตลาดท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism
สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
3. วัตถุประสงค์การวิจัย
3.1 เพื่อสารวจศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism ที่เหมาะสม
กับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
3.2 เพื่อประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism ที่สามารถ
จัดการท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
3.3 เพื่อประเมินศักยภาพทางการตลาดของการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism
สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
3.4 เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุ
4. ระเบียบวิธีวิจัย
โครงการย่อยที่ 1 ทาการวิจัยเชิงสารวจมีแบบแผนการวิจัย (Research Design) รวบรวมข้อมูลจาก
เอกสาร เว็บไซต์ สารวจพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว สัมภาษณ์ และสอบถามนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุที่เดินทางมา
ท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบน และมีการจัดทาฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) ใน
ขั้นตอนสุดท้าย การดาเนินการวิจัยมีขั้นตอนการประเมิน 3 ระดับ คือ ระดับ 1: การประเมินเบื้องต้น ระดับ
2: การประเมินระดับจังหวัด และระดับ 3: การประเมินระดับภาค ใช้แบบสารวจเป็นเครื่องมือในการเก็บ
ข้อมูล และทาการประเมินโดยใช้เกณฑ์ 4 องค์ประกอบเพื่อคัดกรอง คือเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว สิ่งอานวย
ความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว และสิ่งบริการการท่องเที่ยวในบริเวณใกล้เคียง
โครงการย่อยที่ 2 ทาการวิจัยเชิงสารวจ โดยการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวและ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เพื่อประเมินศักยภาพทางการตลาดในด้านสถานการณ์ทั่วไปและ
สภาพการแข่งขัน และสัมภาษณ์นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติถึงพฤติกรรมการท่องเที่ยว
และประเมินส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวของภาคเหนือตอนบน
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 4
5. ผลการวิจัย
5.1 ผลสารวจศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism ที่เหมาะสมกับ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
ภาคเหนือตอนบนมีแหล่งท่องเที่ยวที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางมา
เพื่อท่องเที่ยวและพักผ่อนอยู่เสมอแหล่งท่องเที่ยวดังกล่าวกระจายอยู่ใน 1) จังหวัดเชียงใหม่ 163 แห่ง แหล่ง
ท่องเที่ยวที่เด่นได้แก่ วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร วัดเจดีย์หลวง วัดสวนดอก
วัดอุโมงค์ หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ สวนสัตว์เชียงใหม่ พระตาหนักดาราภิรมย์ น้าตกแม่สา ปางช้าง
แม่สา สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ถ้าเชียงดาว ดอยอ่างขาง หมู่บ้านทาร่มบ่อสร้าง น้าพุร้อน
สันกาแพง อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ 2) จังหวัดลาพูน พบแหล่งท่องเที่ยว 58 แห่งแหล่งท่องเที่ยวที่
เด่นเป็นประเภทประวัติศาสตร์และศาสนา ได้แก่ วัดพระธาตุหริภุญไชยวรมหาวิหาร พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง
หริภุญไชย วัดจามเทวี กู่ช้าง - กู่ม้า วัดพระพุทธบาทตากผ้า โบราณสถานเกาะกลาง 3) จังหวัดลาปาง พบ
ทั้งหมด 61 แห่ง แหล่งท่องเที่ยวที่เด่นๆ คือ ชุมชนท่ามะโอ กาดกองต้า (ตลาดกองต้า) ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย
อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล น้าพุร้อนแจ้ซ้อน เขื่อนกิ่วลม วัดพระธาตุลาปางหลวง เหมืองแม่เมาะ 4) จังหวัด
พะเยา พบแหล่งท่องเที่ยว 52 แห่ง ที่เด่นได้แก่ กว๊านพะเยา วัดศรีโคมคา วัดพระเจ้านั่งดิน ศูนย์วัฒนธรรม
ไทลื้อ และวัดท่าฟ้าใต้ 5) จังหวัดเชียงราย พบแหล่งท่องเที่ยวมากถึง 189 แห่ง อาทิ อนุสาวรีย์พ่อขุนมังราย
วัดพระแก้ว วัดพระสิงห์ วัดร่องขุน ดอย แม่สลอง พระธาตุดอยตุงและพระตาหนักดอยตุง เมืองโบราณเชียง
แสน ภูชี้ฟ้า 6) จังหวัดแพร่ พบแหล่งท่องเที่ยว 31 แห่ง อาทิวัดพระธาตุช่อแฮ วัดจอมสวรรค์ วัดพระธาตุ
จอมแจ้ง บ้านประทับใจ บ้านทุ่งโฮ่ง แพะเมืองผี 7) จังหวัดน่าน พบแหล่งท่องเที่ยว 39 แห่ง ที่เด่นได้แก่ วัด
พระธาตุช้างค้า วัดภูมินทร์ วัดหัวข่วง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน วัดพระธาตุแช่แห้ง อุทยานแห่งชาติ
ดอยภูคา 8) จังหวัดแม่ฮ่องสอน พบแหล่งท่องเที่ยว 81 แห่ง แหล่งท่องเที่ยวที่เด่น ได้แก่ วัดพระธาตุดอย
กองมู วัดจองคา – วัดจองกลาง เมืองปาย พิพิธภัณฑ์ทหารญี่ปุ่นขุนยวม ทุ่งบัวตองดอยแม่เหาะ
5.2 ผลประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism ที่สามารถจัดการ
ท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
ทาการประเมินเป็น 3 ระดับ ดังนี้
 ผลการประเมินระดับที่ 1: การประเมินเบื้องต้น
แหล่งท่องเที่ยวส่วนมากเป็นแหล่งท่องเที่ยวประเภทศาสนสถาน (วัด) ประวัติศาสตร์
(พิพิธภัณฑ์ เมืองโบราณ) ตั้งอยู่ในตัวเมือง ซึ่งเป็นที่ตั้งของสนามบิน สถานีรถไฟ และสถานีขนส่ง
มีการเข้าถึงได้สะดวกในทุกๆ ด้าน อีกทั้งยังมีสิ่งบริการต่างๆ ให้เลือกใช้ทั้งทางด้านที่พัก ร้านขาย
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 5
อาหาร ร้านขายของที่ระลึก บริษัทนาเที่ยว บริการให้เช่ารถ บริการมัคคุเทศก์ มีสถานที่น่าสนใจ
อื่นๆ ให้เที่ยวชม รวมทั้งยังมีสถานบริการด้านการรักษาพยาบาลในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน
 ผลการประเมินระดับที่ 2: การประเมินระดับจังหวัด
แหล่งท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุของทุกจังหวัด ส่วนใหญ่
ตั้งอยู่ในตัวเมืองและข้างเคียง เนื่องจากมีการเข้าถึงสะดวก มีสิ่งบริการครบทุกด้าน ทั้งด้านที่พัก
ร้านขายอาหาร ร้านขายของฝากของที่ระลึก การเดินทาง มัคคุเทศก์ รวมทั้งสถานรักษาพยาบาลใน
กรณีที่ผู้สูงอายุเกิดเจ็บป่วย ดังตารางที่ 1
 การประเมินระดับที่ 3: การประเมินระดับภาค
การประเมินระดับภาคได้นาแหล่งท่องเที่ยวของ 8 จังหวัดภาคเหนือที่ผ่านการประเมินทั้ง
139 แหล่ง มาจัดลาดับ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มตามคะแนนที่ได้รับ คือ
กลุ่มที่ 1: แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพต่า ได้คะแนนน้อยกว่า 78 คะแนน มี 6 แห่ง
กลุ่มที่ 2: แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพปานกลาง ได้คะแนนระหว่าง 79-155 คะแนน มี 109
แห่ง
กลุ่มที่ 3: แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูง ได้คะแนนตั้งแต่ 156 คะแนน ขึ้นไป จานวน 24
แห่ง
เมื่อพิจารณาแหล่งท่องเที่ยวที่ผ่านการประเมินที่มีศักยภาพสูงทั้งหมด 24 แหล่ง พบว่า
แหล่งท่องเที่ยวส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ถึง 18 แห่ง เนื่องจากเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว
ของภาคเหนือตอนบน มีการเข้าถึงที่สะดวก ในแหล่งท่องเที่ยวมีสิ่งอานวยความสะดวกอยู่ในระดับ
ที่ดี ในแหล่งท่องเที่ยวมีสิ่งที่น่าสนใจและมีกิจกรรมหลายอย่าง อีกทั้งยังตั้งอยู่ใกล้กับเมืองเชียงใหม่
ซึ่งเป็นศูนย์รวมของสิ่งบริการการท่องเที่ยวด้านต่างๆ มีที่พักแรม ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก
บริการนาเที่ยว บริการให้เช่ารถ รวมทั้งมีสถานที่รักษาพยาบาลให้นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุได้ใช้บริการ
เมื่อจาเป็น รองลงไปเป็นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดน่าน (4 แห่ง) จังหวัดเชียงราย จังหวัดแพร่ และ
จังหวัดลาปาง (จังหวัดละ 1 แห่ง) เมื่อพิจารณาถึงประเภทของแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูง
ปรากฏว่า มีครบทุกประเภท โดยส่วนใหญ่เป็นแหล่งท่องเที่ยวประเภทประวัติศาสตร์และศาสนา
ซึ่งมีมากถึง 16 แห่ง รองลงไปเป็นประเภทธรรมชาติ (4 แห่ง) และประเภทวัฒนธรรม (2 แห่ง)
ตารางที่ 1 แหล่งท่องเที่ยว 10 ลาดับแรกที่มีศักยภาพสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุแบบ Slow Tourism ในภาคเหนือตอนบน
เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน
1 วัดป่าดาราภิรมย์
(81.20)
วัดพระธาตุหริภุญชัย
(67.58)
ศูนย์อนุรักษ์
ช้างไทย
(70.12)
กว๊านพะเยา
(66.69)
วัดพระแก้ว
(81.20)
วัดจองคา-
จองกลาง
(69.80)
วัดพระธาตุช่อแฮ
(64.82)
วัดภูมินทร์
(75.44)
2 ชุมชนวัดเกต
(80.09)
อนุสาวรีย์
พระนางจามเทวี
(62.79)
วัดพระธาตุ
ลาปางหลวง
(69.29)
หอวัฒนธรรม
นิเทศน์
(65.94)
วัดร่องขุ่น
(67.47)
วัดพระธาตุ
ดอยกองมู
(63.70)
คุ้มเจ้าหลวง
(60.25)
วัดพระธาตุ
แช่แห้ง
(71.42)
3 เมืองโบราณ
เวียงกุมกาม
(79.43)
พิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติหริภุญไชย
(61.69)
บ้านเสานัก
(67.58)
วัดศรีโคมคา
(59.39)
เมืองโบราณ
เชียงแสน
(66.92)
บ่อน้าร้อน
ท่าปาย
(62.46)
บ้านวงศ์บุรี
(59.59)
วัดพระธาตุ
ช้างค้าวรวิหาร
(65.59)
4 วัดพระธาตุ
ดอยสุเทพ
(76.77)
วัดจามเทวี
(60.10)
วัดศรีชุม
(65.79)
วัดลี
(53.76)
ดอยตุง
(65.38)
วัดกลางใน
เมืองปาย
(61.60)
วัดพระบาท
มิ่งเมือง
(59.46)
พิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติน่าน
(69.56)
5 วัดอุโมงค์
(75.23)
พิพิธภณฑ์ชุมชน
เมืองหริภุญไชย
(58.80)
วัดปงสนุก
(64.87)
วัดอนาลโย
(53.23)
วัดพระสิงห์
(64.12)
พิพิธภัณฑ์ชุมชน
แม่สะเรียง
(59.00)
วัดจอมสวรรค์
(57.18)
วัดพญาภู
(67.46)
6 วัดสวนดอก
(75.06)
วัดพระยืน
(57.74)
วัดพระแก้วดอนเต้า
(64.15)
วัดกลางเวียง
(61.46)
บ้านสันติชล
(58.68)
วัดพระนอน
(56.62)
คุ้มเจ้าราชบุตร
(66.97)
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 7
ตารางที่ 1 แหล่งท่องเที่ยว 10 ลาดับแรกที่มีศักยภาพสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุแบบ Slow Tourism ในภาคเหนือตอนบน
เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน
7 พิพิธภัณฑ์พระ
ตาหนักดาราภิรมย์
(74.90)
วัดพระบาทห้วยต้ม
(55.30)
วัดไหล่หินหลวง
(63.80)
พิพิธภัณฑ์หอฝิ่น
(61.12)
ถ้าลอด
(57.17)
วัดหลวง
(55.61)
วัดหัวข่วง
(66.51)
8 หอศิลปวัฒนธรรม
เมืองเชียงใหม่
73.91
วัดพระพุทธบาท
ตากผ้า
(53.79)
วัดเจดีย์ซาว
(63.61)
วัดพระธาตุผาเงา
(60.58)
วัดจองสูง
(56.20)
แพะเมืองผี
(54.61)
วัดมิ่งเมือง
(65.85)
9 วัดพระธาตุ
ศรีจอมทอง
(73.12)
อุทยานแห่งชาติ
แม่ปิง
(53.75)
วัดพระธาตุจอมปิง
(63.33)
วัดพระธาตุ
จอมกิตติ
(59.16)
วัดน้าฮู
(55.84)
บ้านทุ่งโฮ้ง
(52.38)
วัดสวนตาล
(65.23)
10 สวนพฤษศาสตร์
สมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิติติ์
(72.95)
วัดบ้านปาง
(53.08)
เหมืองลิกไนต์
แม่เมาะ
(61.34)
ดอยแม่สลอง
(58.83)
อุทยานแห่งชาติ
ห้วยน้าดัง
(55.83)
วัดพระธาตุ
จอมแจ้ง
(50.71)
แหล่งโบราณคดี
บ้านบ่อสวก
(55.83)
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 8
5.3 ประเมินศักยภาพทางการตลาดของการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบในด้านบวกต่อการท่องเที่ยวสาหรับผู้สูงอายุในภาคเหนือตอนบน ได้แก่ คน
อายุยืนยาวขึ้น มีผลทาให้มีจานวนนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น เทคโนโลยีการสื่อสารที่มันสมัยไร้พรมแดน
ในปัจจุบัน ช่วยเผยแพร่ข้อมูลการท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จัก และช่วยอานวยความสะดวกต่อนักท่องเที่ยวใน
กรณีจองที่พัก ตั๋วเดินทาง รวมถึงความก้าวหน้าของการคมนาคม ทาให้นักท่องเที่ยวสามารถเดินทาง
ท่องเที่ยวได้สะดวกและง่ายขึ้น
ส่วนปัจจัยที่ส่งผลกระทบในด้านลบ ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจที่ชะลอตัวส่งผลให้นักท่องเที่ยวชาว
ไทยมีความระมัดระวังในการจับจ่ายใช้สอยเพิ่มขึ้น ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น ส่งผลให้นักท่องเที่ยวชาว
ต่างประเทศมีค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น การศึกษาของคนไทยที่ดีขึ้นทาให้นักท่องเที่ยวชาวไทยมี
แนวโน้มเดินทางท่องเที่ยวในต่างประเทศมากกว่าในประเทศ เหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองของไทยที่
เกิดขึ้น ทาให้จานวนนักท่องเที่ยวลดลงเนื่องจากขาดความเชื่อมั่นในความปลอดภัย รวมถึง ปัญหาหมอก
ควัน มลพิษ ภัยธรรมชาติ และโรคระบาดมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยว
 การประเมินสภาพการแข่งขันของการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบน
การประเมินสภาพการแข่งขันของการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบน ตามประเด็นต่างๆ ดังนี้
- ด้านปัจจัยที่สัมพันธ์กับการดาเนินธุรกิจ
กิจกรรมที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ เป็นกิจกรรมท่องเที่ยวเพื่อศึกษาวิถีชีวิต เข้า
ร่วมประเพณีท้องถิ่น กิจกรรมเชิงสุขภาพ เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับการท่องเที่ยวแบบ Slow
Tourism ที่เป็นการท่องเที่ยวแบบไม่เร่งรีบ ใช้เวลาในสถานที่ท่องเที่ยวแต่ละแห่งมากกว่าการ
ท่องเที่ยวแบบทั่วไป
ปัจจุบันแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบน ขาดการบริหารจัดการที่ดี โดยเฉพาะการดูแล
รักษา พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และขาดการให้ข้อมูลเรื่องราว ประวัติศาสตร์ เพื่อเพิ่มคุณค่าของแหล่ง
ท่องเที่ยว ส่วนสิ่งอานวยความสะดวกและบริการทางการท่องเที่ยวนั้น มีความพร้อมและเพียงพอ
สาหรับนักท่องเที่ยว และมีบริการหลายระดับให้เลือกตามความต้องการและความสามารถในการ
จ่ายของนักท่องเที่ยว ในด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ในภาคเหนือตอนบนมีถนนหนทางเชื่อม
ระหว่างจังหวัดที่ดี เดินทางสะดวก แต่แหล่งท่องเที่ยวส่วนใหญ่อยู่ห่างไกลกันทาให้ต้องใช้เวลา
เดินทางนาน อีกทั้งไม่มีระบบขนส่งสาธารณะหรือรถโดยสารประจาทางเพื่อเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว
โดยตรง ในบางจังหวัดประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงานภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวภายใน
จังหวัด ทั้งด้านปริมาณความเพียงพอและด้านคุณภาพความชานาญในการให้บริการ เนื่องจาก
แรงงานส่วนใหญ่ไปทางานในจังหวัดท่องเที่ยวใหญ่ๆ ซึ่งทาให้มีรายได้มากกว่า
- ความต้องการของผู้บริโภค
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 9
นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวไทย
มากับครอบครัว และกลุ่มนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเป็นหมู่คณะ มักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวที่
เป็นที่นิยม นักท่องเที่ยวชาวไทยใช้เวลาท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนประมาณ 2 – 3 วัน เดินทาง
ในช่วงหยุดนักขัตฤกษ์ ไม่ได้มีจุดหมายเพื่อเดินทางมาท่องเที่ยวเพียงจังหวัดเดียว แต่เดินทางไป
จังหวัดอื่นๆ ในภาคเหนือตอนบนด้วย วางแผนเดินทางด้วยตนเอง โดยหาข้อมูลผ่านทาง
อินเทอร์เน็ตและคู่มือท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมีความชอบในแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือ
ตอนบนคล้ายๆ กัน คือนิยมท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประเพณี วัฒนธรรม
- อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ยังไม่มีหลักสูตรการพัฒนา
บุคลากรที่ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ การเชื่อมโยงร่วมมือกันเป็นเครือข่าย
ระหว่างผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวยังไม่เป็นรูปธรรมนัก ยังอยู่ในระดับจากัดและผิวเผิน ทาให้
การขับเคลื่อนโครงการและการบริหารจัดการต่างๆ ขาดประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ผู้ประกอบการต้องการ
ให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวช่วยสนับสนุนด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์
แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัด
- กลยุทธ์โครงสร้างและคู่แข่งขัน
ภาพรวมของการแข่งขัน มีการแข่งขันสูง โดยมักแข่งขันกันด้านราคา คู่แข่งขันที่สาคัญของ
การท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบนมีทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ คู่แข่งในประเทศที่สาคัญ
ได้แก่ กรุงเทพและปริมณฑล จังหวัดเพชรบูรณ์ และกลุ่มจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และคู่
แข่งขันที่สาคัญในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศเวียดนาม จีนตอนใต้ สปป.ลาว สหภาพม่า สิงคโปร์
และมาเลเซีย
 พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทย
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีภูมิลาเนาอยู่ในภาคเหนือ ระดับการศึกษาต่า
กว่ามัธยมศึกษา มีรายได้มาจากเงินเบี้ยหวัด/เงินบานาญ และการประกอบอาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน
25,000 บาท ไม่มีปัญหาสุขภาพ พักอาศัยอยู่กับคู่สมรส มีความถี่ในการเดินทางท่องเที่ยวปีละ 1-2 ครั้ง
สิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทย คือสถานที่ท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติที่สวยงาม และ
วัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ มีวัตถุประสงค์การท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อน และได้อยู่กับลูกหลานใน
บรรยากาศใหม่ๆ มีช่วงเวลาที่เดินทางท่องเที่ยวในวันเสาร์-อาทิตย์ ชอบเที่ยวในประเทศ มีระยะเวลาในการ
ท่องเที่ยวแต่ละครั้งอยู่ในช่วงไม่เกิน 3 วัน ส่วนใหญ่จะเดินทางท่องเที่ยวกับลูกหลาน/คนในครอบครัว/ญาติ
พี่น้อง โดยลูกหลาน/คนในครอบครัว/ญาติพี่น้องจะเป็นผู้วางแผนการเดินทาง
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 10
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยส่วนมากคานึงถึงคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว ความสะดวกในการเดิน
ทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการ สิ่งอานวยความสะดวกและกิจกรรมที่มีในแหล่งท่องเที่ยว และสิ่งบริการ
การท่องเที่ยวในพื้นที่ใกล้เคียงเป็นปัจจัยที่ใช้พิจารณาในการตัดสินใจเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยส่วนใหญ่ชื่นชอบรูปแบบการท่องเที่ยวที่เที่ยวไปช้าๆ ไม่ เร่งรีบ
ลักษณะ Slow Tourism ส่วนใหญ่เลือกไปท่องเที่ยวยังแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ใช้พาหนะในการเดินทาง
ท่องเที่ยวเป็นรถยนต์ส่วนตัวเป็นหลัก เลือกพักที่โรงแรม เลือกรับประทานอาหารในร้านอาหารทั่วไปตาม
แหล่งท่องเที่ยว เลือกซื้อของที่ระลึกประเภทเครื่องแต่งกาย รับรู้ข้อมูลการท่องเที่ยวจากญาติ เพื่อน หรือคน
รู้จัก
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยส่วนใหญ่ประทับใจในการมาท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน โดยระบุว่า
จะกลับมาท่องเที่ยวอีกแน่นอน รวมถึงจะเล่าประสบการณ์ที่ดีๆ จากการท่องเที่ยวครั้งนี้ให้ผู้อื่นฟัง จะ
แนะนาเพื่อนหรือคนรู้จักให้มาเที่ยวภาคเหนือตอนบนของไทย และได้เสนอแนะการพัฒนาการท่องเที่ยว
ภาคเหนือตอนบน ได้แก่ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวก รวมถึงเสนอแนะ
ให้คนในท้องถิ่นรักษาวัฒนธรรม ประเพณี ท้องถิ่น และมีความภูมิใจในวิถีชีวิตที่เป็นอยู่
 พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีภูมิลาเนาอยู่ในทวีปยุโรป มีการศึกษาใน
ระดับปริญญาตรีขึ้นไป มีรายได้จากเงินเบี้ยหวัด/เงินบานาญ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 1,001 – 2,500
ดอลลาร์สหรัฐฯ ไม่มีปัญหาสุขภาพ พักอาศัยอยู่คนเดียวและอยู่กับคู่สมรส มีความถี่ในการเดินทางท่องเที่ยว
ปีละ 1-2 ครั้ง
สิ่งจูงใจในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ คือสถานที่ท่องเที่ยวประเภทวัฒนธรรม
ประเพณีท้องถิ่น และธรรมชาติที่สวยงาม มีวัตถุประสงค์การท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อน และได้ท่องเที่ยวกับ
เพื่อนเก่าๆ ในบรรยากาศใหม่ๆ ชอบเที่ยวต่างประเทศ มีระยะเวลาในการท่องเที่ยวแต่ละครั้งอยู่ในช่วง 1-2
สัปดาห์ ส่วนใหญ่จะเดินทางท่องเที่ยวกับคู่สมรส โดยวางแผนการเดินทางท่องเที่ยวด้วยตัวเอง
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติคานึงถึงคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว ความสะดวกในการเดินทางเข้า
สู่แหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการการท่องเที่ยวในพื้นที่ใกล้เคียง และสิ่งบริการสิ่งอานวยความสะดวกรวมถึง
กิจกรรมที่มีในแหล่งท่องเที่ยวที่ใช้พิจารณาในการตัดสินใจเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติส่วนใหญ่ชื่นชอบรูปแบบการท่องเที่ยวที่เที่ยวไปช้าๆ ไม่เร่งรีบ
ลักษณะ Slow Tourism ใช้พาหนะในการเดินทางท่องเที่ยวเป็นเครื่องบิน และรถเช่า เป็นหลัก เลือกพักที่
โรงแรม เลือกรับประทานอาหารในร้านอาหารท้องถิ่น เลือกซื้อของที่ระลึกประเภทเครื่องแต่งกาย รับรู้
ข้อมูลการท่องเที่ยวจากสื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ ใบปลิว โปสเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ นิตยสารไกด์บุ๊คส์ และ
อินเตอร์เน็ต
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 11
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติส่วนใหญ่มีความประทับใจในการมาท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน
โดยระบุว่า จะกลับมาท่องเที่ยวอีกแน่นอน รวมถึงจะเล่าประสบการณ์ที่ดีๆ จากการท่องเที่ยวครั้งนี้ให้ผู้อื่น
ฟัง รวมถึงจะแนะนาเพื่อนหรือคนรู้จักให้มาเที่ยวภาคเหนือตอนบนของไทย และได้ให้ข้อเสนอแนะในการ
พัฒนาการท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน ได้แก่ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงสิ่งอานวยความ
สะดวก การพัฒนาการให้บริการของบุคลากรผู้ให้บริการ รวมถึงเสนอแนะให้ปรับปรุงระบบการอานวย
ความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยว
 ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบนของนักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุชาวไทย
ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวภาคเหนือของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาว
ไทยต่อปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านผลิตภัณฑ์ได้แก่ สิ่งดึงดูด
ในแหล่งท่องเที่ยว ความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการอานวยความสะดวกในแหล่ง
ท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว และความปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ปัจจัยด้านราคาโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อย ได้แก่ ความคุ้มค่าของเงินที่จ่ายไป
และความยุติธรรมของราคาสินค้าและบริการในแหล่งท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจาหน่าย โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยย่อยในเรื่องความสะดวก
ในการซื้อบริการต่างๆ ในการท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และปัจจัยย่อยด้านการบริการของตัวแทน
บริษัทนาเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง
ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยย่อยด้านการส่งเสริม
การตลาดได้แก่ ความเพียงพอของข้อมูลการท่องเที่ยว ความรวดเร็วในการให้บริการข้อมูลด้านการ
ท่องเที่ยว ความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลด้านการท่องเที่ยว และการส่งเสริมการขาย เช่น การให้ส่วนลด
การให้สิทธิพิเศษ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ปัจจัยด้านบุคลากรผู้ให้บริการโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่งได้แก่ การให้บริการของผู้
ให้บริการในแหล่งท่องเที่ยว
ปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยย่อยด้านลักษณะทาง
กายภาพได้แก่ สภาพภูมิทัศน์ที่สวยงามของแหล่งท่องเที่ยว และ ความสะอาดสวยงามของแหล่งท่องเที่ยว มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ปัจจัยด้านกระบวนการให้บริการ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านกระบวนการ
ให้บริการ ได้แก่ ความรวดเร็วในการให้บริการ และความถูกต้องแม่นยาในการให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 12
 ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบนของนักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุชาวต่างชาติ
ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวภาคเหนือของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
ชาวต่างชาติในปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านผลิตภัณฑ์ ซึ่ง
ได้แก่ สิ่งดึงดูดในแหล่งท่องเที่ยว ความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการอานวยความสะดวก
ในแหล่งท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว และความปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยวมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ปัจจัยด้านราคา โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านราคาทุกปัจจัย มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก ซึ่งได้แก่ ความคุ้มค่าของเงินที่จ่ายไป และ ความยุติธรรมของราคาสินค้าและบริการในแหล่ง
ท่องเที่ยว
ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจาหน่าย โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยในเรื่องความ
สะดวกในการซื้อบริการต่างๆ ในการท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และปัจจัยย่อยด้านการบริการของ
ตัวแทนบริษัทนาเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง
ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อย ในเรื่อง ความ
เพียงพอของข้อมูลการท่องเที่ยว ความรวดเร็วในการให้บริการข้อมูลด้านการท่องเที่ยว ความสะดวกในการ
เข้าถึงข้อมูลด้านการท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยย่อยด้านการส่งเสริมการขาย มีค่าเฉลี่ย
อยู่ในระดับปานกลาง
ปัจจัยด้านบุคลากรผู้ให้บริการโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่งได้แก่ การให้บริการของผู้
ให้บริการในแหล่งท่องเที่ยว
ปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านลักษณะทาง
กายภาพ ซึ่งได้แก่ สภาพภูมิทัศน์ที่สวยงามของแหล่งท่องเที่ยว และ ความสะอาดสวยงามของแหล่ง
ท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ปัจจัยด้านกระบวนการให้บริการ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านกระบวนการ
ให้บริการ ทุกปัจจัย มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่งได้แก่ ความรวดเร็วในการให้บริการ และความถูกต้อง
แม่นยาในการให้บริการ
5.4 สรุปความเชื่อมโยงของ 2 โครงการ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยและชาวต่างชาตินิยมท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
ประเพณี และวัฒนธรรมคล้ายกัน แต่จะแตกต่างกันในเรื่องของปัจจัยที่ใช้พิจารณาในการตัดสินใจไปเที่ยว
ในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ โดยนักท่องเที่ยวชาวไทยให้ความสาคัญกับคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจากคน
ไทยมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของแหล่งท่องเที่ยวอยู่ก่อนแล้ว จึงทาให้เป็นข้อมูลเบื้องต้น
ในการตัดสินใจไปเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้ ปัจจัยรองลงมาได้แก่ ความสะดวกในการเดินทางเข้าสู่แหล่ง
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 13
ท่องเที่ยว สิ่งบริการและสิ่งอานวยความสะดวกและกิจกรรมที่มีในแหล่งท่องเที่ยว และลาดับสุดท้ายที่ให้
ความสาคัญ คือ สิ่งบริการการท่องเที่ยวในพื้นที่ใกล้เคียง
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติให้ความสาคัญต่อคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวเป็นลาดับแรก
เช่นเดียวกัน รองลงมาคือ ความสะดวกในการเดินทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการการท่องเที่ยวในพื้นที่
ใกล้เคียง และลาดับสุดท้ายที่ให้ความสาคัญคือสิ่งบริการและสิ่งอานวยความสะดวกและกิจกรรมที่มีใน
แหล่งท่องเที่ยว
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวต้องคานึงถึงการวิเคราะห์เกี่ยวกับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว และด้าน
การตลาดประกอบกัน ดังนั้นในการพัฒนาการท่องเที่ยว ควรให้ความสาคัญในเรื่องคุณค่าของแหล่ง
ท่องเที่ยวเป็นลาดับแรก เนื่องจากนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติให้ความสาคัญในเรื่องคุณค่าของ
แหล่งท่องเที่ยวมากที่สุด การทาการตลาดเพื่อประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้นักท่องเที่ยวมาเที่ยวชมแหล่ง
ท่องเที่ยว จึงควรให้ข้อมูลด้านคุณค่า ประวัติ ความเป็นมาของแหล่งท่องเที่ยวนอกจากนี้ควรให้ข้อมูล
เกี่ยวกับความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวประกอบการตัดสินใจ ในกรณีที่นักท่องเที่ยวต้องการ
เดินทางมายังแหล่งท่องเที่ยวด้วยตัวเอง
6. ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย
การวิจัยนี้ได้เสนอแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุ ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ดังนี้
6.1 แนวทางการพัฒนาด้านกายภาพ พัฒนาสิ่งบริการอานวยความสะดวกเพื่อเพิ่มความปลอดภัย
ความสะดวกสบายแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และที่สาคัญคือการเพิ่มคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว โดยการ
1) ปรับปรุงการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ป้ายบอกทาง พื้นผิวถนน สภาพภูมิทัศน์ริมสองฟากเส้นทาง
2) ปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว ที่จอดรถ ถนนในแหล่งท่องเที่ยว ห้องสุขา
ศูนย์ข้อมูล ทางเดิน – ทางเท้า บันได ป้ายสื่อความหมาย ป้ายเตือน ที่นั่งพัก ร้านขายอาหาร ร้าน
ขายเครื่องดื่ม ห้องปฐมพยาบาลเบื้องต้น สิ่งสาธารณูปโภคอื่นๆ อาทิ น้าสะอาด การจัดการขยะ
การจัดการระบายน้า ไฟถนน รวมทั้งการตรวจตรารักษาความปลอดภัยอย่างเหมาะสม
3) คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว ดูแลบารุงรักษาแหล่งท่องเที่ยวให้อยู่ในสภาพดี ปรับปรุงป้ายสื่อ
ความหมาย สภาพภูมิทัศน์และสิ่งอานวยความสะดวก เพิ่มกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้รับความ
สนุกสนานและเรียนรู้ และใช้เวลาอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวนานขึ้น
4) สิ่งบริการการท่องเที่ยวในบริเวณใกล้เคียง ควรมีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้งและหมายเลข
โทรศัพท์ของสิ่งบริการเหล่านี้แล้วเผยแพร่ให้นักท่องเที่ยวได้รับรู้และเลือกใช้บริการ
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 14
6.2 แนวทางการพัฒนาด้านการจัดการ โดยพัฒนาด้านบุคลากรขององค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มี
ความรู้ด้านการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ที่เหมาะสมสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ โดยการ
1) ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่องค์กร หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับแหล่ง
ท่องเที่ยว
2) พัฒนาบุคลากรขององค์กรที่รับผิดชอบดูแลและสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยว
3) จัดทาคู่มือการปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยวที่เอื้อต่อผู้สูงอายุและเผยแพร่
ไปสู่องค์กรต่างๆ ที่ดูแลแหล่งท่องเที่ยว และผู้ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
4) เพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรขององค์กรที่เกี่ยวข้อง จัดให้มีการอบรม สัมมนา ดูงาน แก่
บุคลากรขององค์กรที่รับผิดชอบในการดูแลบารุงรักษาแหล่งท่องเที่ยว
5) สนับสนุนด้านการเงินแก่องค์กรที่ดาเนินการปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว
6.3 แนวทางการพัฒนาด้านการตลาด ปรับปรุงด้านข้อมูลและส่งผ่านสื่อที่เหมาะสมเพื่อให้เข้าถึง
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการ
1) เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับความสาคัญของนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุ ตลอดจนปัญหาความต้องการ
และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ไปยังผู้ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวรวมทั้ง
เจ้าหน้าที่ในองค์กรที่ดูแลบารุงรักษาแหล่งท่องเที่ยว
2) เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดการปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยวแบบ Slow
Tourism ในภาคเหนือตอนบนที่เหมาะสมสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุผ่านสื่อต่างๆ
3) จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวของผู้สูงอายุ ในโอกาสต่างๆ เช่น ไปเที่ยววันพ่อ วันแม่ชวน
แม่เที่ยว ไปเที่ยววันผู้สูงอายุ ทัวร์ไหว้พระ 9 วัด ทัวร์เพื่อสุขภาพ เป็นต้น โดยเฉพาะในช่วง Low
Season และวันธรรมดา เพื่อเสริมรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการท่องเที่ยวและทาให้ผู้สูงอายุได้ใช้
บริการในราคาพิเศษ
7 การนาไปใช้ประโยชน์
ผลงานวิจัยที่ได้จากการดาเนินแผนงานวิจัยการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ
Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ในด้านการพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว สามารถนาไป
ประยุกต์จัดทาเป็นคู่มือ และจัดทา Website การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow
Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ (www.sri.cmu.ac.th/~slowtour/) โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการ
พัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่ดูแลรับผิดชอบแหล่งท่องเที่ยวสามารถนาไปใช้ในการวางแผนปรับปรุง
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ได้
แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 15
ในส่วนของการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพการตลาดท่องเที่ยว สามารถนาผลงานวิจัยที่ได้ไปประยุกต์
จัดทาคู่มือ และ Website โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาศักยภาพการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวแบบ
Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการธุรกิจ
ท่องเที่ยว สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนการตลาดและการให้บริการต่างๆ สาหรับนักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุที่นิยมท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ในภาคเหนือตอนบน

Contenu connexe

En vedette

7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยวMint NutniCha
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลีการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลีYuwaree Fine Day
 
Staycation 2014 Slideshare Overcoming Renewal Objections
Staycation 2014 Slideshare Overcoming Renewal ObjectionsStaycation 2014 Slideshare Overcoming Renewal Objections
Staycation 2014 Slideshare Overcoming Renewal ObjectionsSatisFactsEducation
 
ทำไมคนไทยไม่เที่ยวไทย
ทำไมคนไทยไม่เที่ยวไทยทำไมคนไทยไม่เที่ยวไทย
ทำไมคนไทยไม่เที่ยวไทยnattatira
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลีการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลีYuwaree Fine Day
 
สถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ
สถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ
สถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศnattatira
 
Final green tourism 13 oct 2014
Final green tourism 13 oct 2014Final green tourism 13 oct 2014
Final green tourism 13 oct 2014Hanisevae Visanti
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน Manisa Piuchan
 
จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาวจับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาวnattatira
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาKorawan Sangkakorn
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาThawiwat Khongtor
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
Sustainability in the Hospitality Industry
Sustainability in the Hospitality IndustrySustainability in the Hospitality Industry
Sustainability in the Hospitality IndustryEcoGreenHotel
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiKorawan Sangkakorn
 

En vedette (20)

7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลีการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
 
Staycation 2014 Slideshare Overcoming Renewal Objections
Staycation 2014 Slideshare Overcoming Renewal ObjectionsStaycation 2014 Slideshare Overcoming Renewal Objections
Staycation 2014 Slideshare Overcoming Renewal Objections
 
2016 Staycation Presentation
2016 Staycation Presentation2016 Staycation Presentation
2016 Staycation Presentation
 
ทำไมคนไทยไม่เที่ยวไทย
ทำไมคนไทยไม่เที่ยวไทยทำไมคนไทยไม่เที่ยวไทย
ทำไมคนไทยไม่เที่ยวไทย
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลีการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโปลี
 
สถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ
สถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ
สถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ
 
Final green tourism 13 oct 2014
Final green tourism 13 oct 2014Final green tourism 13 oct 2014
Final green tourism 13 oct 2014
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
 
จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาวจับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
จับกระแสเที่ยวไทยในวันหยุดยาว
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
 
green tourism
green tourismgreen tourism
green tourism
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
 
LPB city plan
LPB city planLPB city plan
LPB city plan
 
LPB Tourism Situation
LPB Tourism SituationLPB Tourism Situation
LPB Tourism Situation
 
CNX Tourism Situation
CNX Tourism SituationCNX Tourism Situation
CNX Tourism Situation
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
Sustainability in the Hospitality Industry
Sustainability in the Hospitality IndustrySustainability in the Hospitality Industry
Sustainability in the Hospitality Industry
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang mai
 
Tourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPBTourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPB
 

Plus de Korawan Sangkakorn

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่Korawan Sangkakorn
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติอนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กKorawan Sangkakorn
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวKorawan Sangkakorn
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotKorawan Sangkakorn
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนKorawan Sangkakorn
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่Korawan Sangkakorn
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesKorawan Sangkakorn
 

Plus de Korawan Sangkakorn (18)

Lanna longstay
Lanna longstayLanna longstay
Lanna longstay
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติอนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
 

การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ

  • 1.
  • 2. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 2 แบบสรุปย่อการวิจัย 1. รายละเอียดเกี่ยวกับแผนงานวิจัย 1.1 ชื่อแผนงานวิจัย การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับ นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ Slow Tourism Attractions Development in Upper Northern for Elderly Tourists 1.2 ชื่อคณะผู้วิจัย 1) นางกรวรรณ สังขกร1 ผู้อานวยการแผนงานวิจัย และหัวหน้าโครงการย่อยที่ 1 2) อาจารย์จันทร์จิตร เธียรสิริ2 หัวหน้าโครงการย่อยที่ 2 3) นางสุรีย์ บุญญานุพงศ์1 นักวิจัย 4) นายฉันทวัต วันดี13 นักวิจัย 5) นางสาวกฤษณา พุ่มเล็ก1 ผู้ช่วยวิจัย 6) น.ส.กาญจนา จี้รัตน์1 ผู้ช่วยวิจัย 1.3 งบประมาณและระยะเวลาทาวิจัย ได้รับงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จานวนเงิน 3,316,800 บาท ระยะเวลาทาการวิจัย 1 ปี เริ่มทาการวิจัยเมื่อ 1 เมษายน 2553 ถึงเมษายน 2554 2. ความสาคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย การท่องเที่ยวเป็นแหล่งรายได้สาคัญของไทย การรักษาตลาดการท่องเที่ยวจึงสาคัญอย่างยิ่ง ไทยจึง มีนโยบายเน้นทาการตลาดการท่องเที่ยวใหม่ๆดึงตลาดกลุ่มกระแสหลักที่มีศักยภาพในการจับจ่าย โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น และได้นาความต้องการของนักท่องเที่ยวมาสร้าง เรื่องราวเฉพาะ เพื่อสร้างมูลค่าการท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน ไทยจึงให้ความสาคัญกับ การท่องเที่ยวแบบไร้ ความเร่งรีบ (Slow Tourism) ซึ่งสอดคล้องกับการท่องเที่ยวของผู้สูงอายุ สถาบันวิจัยสังคมได้ดาเนินแผน งานวิจัย เรื่อง “การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุ” โดยมีโครงการวิจัยย่อยภายใต้แผนงานวิจัย 2 โครงการ คือ โครงการย่อยที่ 1: การประเมิน ศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ในภาคเหนือตอนบนที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 1 สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทรศัพท์ 0 5394 2571 โทรสาร 0 5389 2649 2 มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทรศัพท์ 0 5320 1800-4 ต่อ 1421, 08 4611 0100 โทรสาร 0 5320 1810 3 บริษัทอิงคะ จากัด 99/19 ถนนห้วยแก้ว อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์: 0 5321 6427 โทรสาร 0 5389 2741
  • 3. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 3 และ โครงการย่อยที่ 2: การประเมินศักยภาพการตลาดท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 3. วัตถุประสงค์การวิจัย 3.1 เพื่อสารวจศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism ที่เหมาะสม กับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 3.2 เพื่อประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism ที่สามารถ จัดการท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 3.3 เพื่อประเมินศักยภาพทางการตลาดของการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 3.4 เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุ 4. ระเบียบวิธีวิจัย โครงการย่อยที่ 1 ทาการวิจัยเชิงสารวจมีแบบแผนการวิจัย (Research Design) รวบรวมข้อมูลจาก เอกสาร เว็บไซต์ สารวจพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว สัมภาษณ์ และสอบถามนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุที่เดินทางมา ท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบน และมีการจัดทาฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) ใน ขั้นตอนสุดท้าย การดาเนินการวิจัยมีขั้นตอนการประเมิน 3 ระดับ คือ ระดับ 1: การประเมินเบื้องต้น ระดับ 2: การประเมินระดับจังหวัด และระดับ 3: การประเมินระดับภาค ใช้แบบสารวจเป็นเครื่องมือในการเก็บ ข้อมูล และทาการประเมินโดยใช้เกณฑ์ 4 องค์ประกอบเพื่อคัดกรอง คือเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว สิ่งอานวย ความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว และสิ่งบริการการท่องเที่ยวในบริเวณใกล้เคียง โครงการย่อยที่ 2 ทาการวิจัยเชิงสารวจ โดยการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เพื่อประเมินศักยภาพทางการตลาดในด้านสถานการณ์ทั่วไปและ สภาพการแข่งขัน และสัมภาษณ์นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติถึงพฤติกรรมการท่องเที่ยว และประเมินส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวของภาคเหนือตอนบน
  • 4. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 4 5. ผลการวิจัย 5.1 ผลสารวจศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism ที่เหมาะสมกับ นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ภาคเหนือตอนบนมีแหล่งท่องเที่ยวที่ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางมา เพื่อท่องเที่ยวและพักผ่อนอยู่เสมอแหล่งท่องเที่ยวดังกล่าวกระจายอยู่ใน 1) จังหวัดเชียงใหม่ 163 แห่ง แหล่ง ท่องเที่ยวที่เด่นได้แก่ วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร วัดเจดีย์หลวง วัดสวนดอก วัดอุโมงค์ หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ สวนสัตว์เชียงใหม่ พระตาหนักดาราภิรมย์ น้าตกแม่สา ปางช้าง แม่สา สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ถ้าเชียงดาว ดอยอ่างขาง หมู่บ้านทาร่มบ่อสร้าง น้าพุร้อน สันกาแพง อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ 2) จังหวัดลาพูน พบแหล่งท่องเที่ยว 58 แห่งแหล่งท่องเที่ยวที่ เด่นเป็นประเภทประวัติศาสตร์และศาสนา ได้แก่ วัดพระธาตุหริภุญไชยวรมหาวิหาร พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง หริภุญไชย วัดจามเทวี กู่ช้าง - กู่ม้า วัดพระพุทธบาทตากผ้า โบราณสถานเกาะกลาง 3) จังหวัดลาปาง พบ ทั้งหมด 61 แห่ง แหล่งท่องเที่ยวที่เด่นๆ คือ ชุมชนท่ามะโอ กาดกองต้า (ตลาดกองต้า) ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล น้าพุร้อนแจ้ซ้อน เขื่อนกิ่วลม วัดพระธาตุลาปางหลวง เหมืองแม่เมาะ 4) จังหวัด พะเยา พบแหล่งท่องเที่ยว 52 แห่ง ที่เด่นได้แก่ กว๊านพะเยา วัดศรีโคมคา วัดพระเจ้านั่งดิน ศูนย์วัฒนธรรม ไทลื้อ และวัดท่าฟ้าใต้ 5) จังหวัดเชียงราย พบแหล่งท่องเที่ยวมากถึง 189 แห่ง อาทิ อนุสาวรีย์พ่อขุนมังราย วัดพระแก้ว วัดพระสิงห์ วัดร่องขุน ดอย แม่สลอง พระธาตุดอยตุงและพระตาหนักดอยตุง เมืองโบราณเชียง แสน ภูชี้ฟ้า 6) จังหวัดแพร่ พบแหล่งท่องเที่ยว 31 แห่ง อาทิวัดพระธาตุช่อแฮ วัดจอมสวรรค์ วัดพระธาตุ จอมแจ้ง บ้านประทับใจ บ้านทุ่งโฮ่ง แพะเมืองผี 7) จังหวัดน่าน พบแหล่งท่องเที่ยว 39 แห่ง ที่เด่นได้แก่ วัด พระธาตุช้างค้า วัดภูมินทร์ วัดหัวข่วง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน วัดพระธาตุแช่แห้ง อุทยานแห่งชาติ ดอยภูคา 8) จังหวัดแม่ฮ่องสอน พบแหล่งท่องเที่ยว 81 แห่ง แหล่งท่องเที่ยวที่เด่น ได้แก่ วัดพระธาตุดอย กองมู วัดจองคา – วัดจองกลาง เมืองปาย พิพิธภัณฑ์ทหารญี่ปุ่นขุนยวม ทุ่งบัวตองดอยแม่เหาะ 5.2 ผลประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism ที่สามารถจัดการ ท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ทาการประเมินเป็น 3 ระดับ ดังนี้  ผลการประเมินระดับที่ 1: การประเมินเบื้องต้น แหล่งท่องเที่ยวส่วนมากเป็นแหล่งท่องเที่ยวประเภทศาสนสถาน (วัด) ประวัติศาสตร์ (พิพิธภัณฑ์ เมืองโบราณ) ตั้งอยู่ในตัวเมือง ซึ่งเป็นที่ตั้งของสนามบิน สถานีรถไฟ และสถานีขนส่ง มีการเข้าถึงได้สะดวกในทุกๆ ด้าน อีกทั้งยังมีสิ่งบริการต่างๆ ให้เลือกใช้ทั้งทางด้านที่พัก ร้านขาย
  • 5. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 5 อาหาร ร้านขายของที่ระลึก บริษัทนาเที่ยว บริการให้เช่ารถ บริการมัคคุเทศก์ มีสถานที่น่าสนใจ อื่นๆ ให้เที่ยวชม รวมทั้งยังมีสถานบริการด้านการรักษาพยาบาลในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน  ผลการประเมินระดับที่ 2: การประเมินระดับจังหวัด แหล่งท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุของทุกจังหวัด ส่วนใหญ่ ตั้งอยู่ในตัวเมืองและข้างเคียง เนื่องจากมีการเข้าถึงสะดวก มีสิ่งบริการครบทุกด้าน ทั้งด้านที่พัก ร้านขายอาหาร ร้านขายของฝากของที่ระลึก การเดินทาง มัคคุเทศก์ รวมทั้งสถานรักษาพยาบาลใน กรณีที่ผู้สูงอายุเกิดเจ็บป่วย ดังตารางที่ 1  การประเมินระดับที่ 3: การประเมินระดับภาค การประเมินระดับภาคได้นาแหล่งท่องเที่ยวของ 8 จังหวัดภาคเหนือที่ผ่านการประเมินทั้ง 139 แหล่ง มาจัดลาดับ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มตามคะแนนที่ได้รับ คือ กลุ่มที่ 1: แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพต่า ได้คะแนนน้อยกว่า 78 คะแนน มี 6 แห่ง กลุ่มที่ 2: แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพปานกลาง ได้คะแนนระหว่าง 79-155 คะแนน มี 109 แห่ง กลุ่มที่ 3: แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูง ได้คะแนนตั้งแต่ 156 คะแนน ขึ้นไป จานวน 24 แห่ง เมื่อพิจารณาแหล่งท่องเที่ยวที่ผ่านการประเมินที่มีศักยภาพสูงทั้งหมด 24 แหล่ง พบว่า แหล่งท่องเที่ยวส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ถึง 18 แห่ง เนื่องจากเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว ของภาคเหนือตอนบน มีการเข้าถึงที่สะดวก ในแหล่งท่องเที่ยวมีสิ่งอานวยความสะดวกอยู่ในระดับ ที่ดี ในแหล่งท่องเที่ยวมีสิ่งที่น่าสนใจและมีกิจกรรมหลายอย่าง อีกทั้งยังตั้งอยู่ใกล้กับเมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นศูนย์รวมของสิ่งบริการการท่องเที่ยวด้านต่างๆ มีที่พักแรม ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก บริการนาเที่ยว บริการให้เช่ารถ รวมทั้งมีสถานที่รักษาพยาบาลให้นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุได้ใช้บริการ เมื่อจาเป็น รองลงไปเป็นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดน่าน (4 แห่ง) จังหวัดเชียงราย จังหวัดแพร่ และ จังหวัดลาปาง (จังหวัดละ 1 แห่ง) เมื่อพิจารณาถึงประเภทของแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูง ปรากฏว่า มีครบทุกประเภท โดยส่วนใหญ่เป็นแหล่งท่องเที่ยวประเภทประวัติศาสตร์และศาสนา ซึ่งมีมากถึง 16 แห่ง รองลงไปเป็นประเภทธรรมชาติ (4 แห่ง) และประเภทวัฒนธรรม (2 แห่ง)
  • 6. ตารางที่ 1 แหล่งท่องเที่ยว 10 ลาดับแรกที่มีศักยภาพสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุแบบ Slow Tourism ในภาคเหนือตอนบน เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน 1 วัดป่าดาราภิรมย์ (81.20) วัดพระธาตุหริภุญชัย (67.58) ศูนย์อนุรักษ์ ช้างไทย (70.12) กว๊านพะเยา (66.69) วัดพระแก้ว (81.20) วัดจองคา- จองกลาง (69.80) วัดพระธาตุช่อแฮ (64.82) วัดภูมินทร์ (75.44) 2 ชุมชนวัดเกต (80.09) อนุสาวรีย์ พระนางจามเทวี (62.79) วัดพระธาตุ ลาปางหลวง (69.29) หอวัฒนธรรม นิเทศน์ (65.94) วัดร่องขุ่น (67.47) วัดพระธาตุ ดอยกองมู (63.70) คุ้มเจ้าหลวง (60.25) วัดพระธาตุ แช่แห้ง (71.42) 3 เมืองโบราณ เวียงกุมกาม (79.43) พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติหริภุญไชย (61.69) บ้านเสานัก (67.58) วัดศรีโคมคา (59.39) เมืองโบราณ เชียงแสน (66.92) บ่อน้าร้อน ท่าปาย (62.46) บ้านวงศ์บุรี (59.59) วัดพระธาตุ ช้างค้าวรวิหาร (65.59) 4 วัดพระธาตุ ดอยสุเทพ (76.77) วัดจามเทวี (60.10) วัดศรีชุม (65.79) วัดลี (53.76) ดอยตุง (65.38) วัดกลางใน เมืองปาย (61.60) วัดพระบาท มิ่งเมือง (59.46) พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติน่าน (69.56) 5 วัดอุโมงค์ (75.23) พิพิธภณฑ์ชุมชน เมืองหริภุญไชย (58.80) วัดปงสนุก (64.87) วัดอนาลโย (53.23) วัดพระสิงห์ (64.12) พิพิธภัณฑ์ชุมชน แม่สะเรียง (59.00) วัดจอมสวรรค์ (57.18) วัดพญาภู (67.46) 6 วัดสวนดอก (75.06) วัดพระยืน (57.74) วัดพระแก้วดอนเต้า (64.15) วัดกลางเวียง (61.46) บ้านสันติชล (58.68) วัดพระนอน (56.62) คุ้มเจ้าราชบุตร (66.97)
  • 7. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 7 ตารางที่ 1 แหล่งท่องเที่ยว 10 ลาดับแรกที่มีศักยภาพสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุแบบ Slow Tourism ในภาคเหนือตอนบน เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน 7 พิพิธภัณฑ์พระ ตาหนักดาราภิรมย์ (74.90) วัดพระบาทห้วยต้ม (55.30) วัดไหล่หินหลวง (63.80) พิพิธภัณฑ์หอฝิ่น (61.12) ถ้าลอด (57.17) วัดหลวง (55.61) วัดหัวข่วง (66.51) 8 หอศิลปวัฒนธรรม เมืองเชียงใหม่ 73.91 วัดพระพุทธบาท ตากผ้า (53.79) วัดเจดีย์ซาว (63.61) วัดพระธาตุผาเงา (60.58) วัดจองสูง (56.20) แพะเมืองผี (54.61) วัดมิ่งเมือง (65.85) 9 วัดพระธาตุ ศรีจอมทอง (73.12) อุทยานแห่งชาติ แม่ปิง (53.75) วัดพระธาตุจอมปิง (63.33) วัดพระธาตุ จอมกิตติ (59.16) วัดน้าฮู (55.84) บ้านทุ่งโฮ้ง (52.38) วัดสวนตาล (65.23) 10 สวนพฤษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติติ์ (72.95) วัดบ้านปาง (53.08) เหมืองลิกไนต์ แม่เมาะ (61.34) ดอยแม่สลอง (58.83) อุทยานแห่งชาติ ห้วยน้าดัง (55.83) วัดพระธาตุ จอมแจ้ง (50.71) แหล่งโบราณคดี บ้านบ่อสวก (55.83)
  • 8. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 8 5.3 ประเมินศักยภาพทางการตลาดของการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับ นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ปัจจัยที่ส่งผลกระทบในด้านบวกต่อการท่องเที่ยวสาหรับผู้สูงอายุในภาคเหนือตอนบน ได้แก่ คน อายุยืนยาวขึ้น มีผลทาให้มีจานวนนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น เทคโนโลยีการสื่อสารที่มันสมัยไร้พรมแดน ในปัจจุบัน ช่วยเผยแพร่ข้อมูลการท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จัก และช่วยอานวยความสะดวกต่อนักท่องเที่ยวใน กรณีจองที่พัก ตั๋วเดินทาง รวมถึงความก้าวหน้าของการคมนาคม ทาให้นักท่องเที่ยวสามารถเดินทาง ท่องเที่ยวได้สะดวกและง่ายขึ้น ส่วนปัจจัยที่ส่งผลกระทบในด้านลบ ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจที่ชะลอตัวส่งผลให้นักท่องเที่ยวชาว ไทยมีความระมัดระวังในการจับจ่ายใช้สอยเพิ่มขึ้น ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น ส่งผลให้นักท่องเที่ยวชาว ต่างประเทศมีค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น การศึกษาของคนไทยที่ดีขึ้นทาให้นักท่องเที่ยวชาวไทยมี แนวโน้มเดินทางท่องเที่ยวในต่างประเทศมากกว่าในประเทศ เหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองของไทยที่ เกิดขึ้น ทาให้จานวนนักท่องเที่ยวลดลงเนื่องจากขาดความเชื่อมั่นในความปลอดภัย รวมถึง ปัญหาหมอก ควัน มลพิษ ภัยธรรมชาติ และโรคระบาดมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยว  การประเมินสภาพการแข่งขันของการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบน การประเมินสภาพการแข่งขันของการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบน ตามประเด็นต่างๆ ดังนี้ - ด้านปัจจัยที่สัมพันธ์กับการดาเนินธุรกิจ กิจกรรมที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ เป็นกิจกรรมท่องเที่ยวเพื่อศึกษาวิถีชีวิต เข้า ร่วมประเพณีท้องถิ่น กิจกรรมเชิงสุขภาพ เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ที่เป็นการท่องเที่ยวแบบไม่เร่งรีบ ใช้เวลาในสถานที่ท่องเที่ยวแต่ละแห่งมากกว่าการ ท่องเที่ยวแบบทั่วไป ปัจจุบันแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบน ขาดการบริหารจัดการที่ดี โดยเฉพาะการดูแล รักษา พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และขาดการให้ข้อมูลเรื่องราว ประวัติศาสตร์ เพื่อเพิ่มคุณค่าของแหล่ง ท่องเที่ยว ส่วนสิ่งอานวยความสะดวกและบริการทางการท่องเที่ยวนั้น มีความพร้อมและเพียงพอ สาหรับนักท่องเที่ยว และมีบริการหลายระดับให้เลือกตามความต้องการและความสามารถในการ จ่ายของนักท่องเที่ยว ในด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ในภาคเหนือตอนบนมีถนนหนทางเชื่อม ระหว่างจังหวัดที่ดี เดินทางสะดวก แต่แหล่งท่องเที่ยวส่วนใหญ่อยู่ห่างไกลกันทาให้ต้องใช้เวลา เดินทางนาน อีกทั้งไม่มีระบบขนส่งสาธารณะหรือรถโดยสารประจาทางเพื่อเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว โดยตรง ในบางจังหวัดประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงานภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวภายใน จังหวัด ทั้งด้านปริมาณความเพียงพอและด้านคุณภาพความชานาญในการให้บริการ เนื่องจาก แรงงานส่วนใหญ่ไปทางานในจังหวัดท่องเที่ยวใหญ่ๆ ซึ่งทาให้มีรายได้มากกว่า - ความต้องการของผู้บริโภค
  • 9. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 9 นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวไทย มากับครอบครัว และกลุ่มนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเป็นหมู่คณะ มักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวที่ เป็นที่นิยม นักท่องเที่ยวชาวไทยใช้เวลาท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนประมาณ 2 – 3 วัน เดินทาง ในช่วงหยุดนักขัตฤกษ์ ไม่ได้มีจุดหมายเพื่อเดินทางมาท่องเที่ยวเพียงจังหวัดเดียว แต่เดินทางไป จังหวัดอื่นๆ ในภาคเหนือตอนบนด้วย วางแผนเดินทางด้วยตนเอง โดยหาข้อมูลผ่านทาง อินเทอร์เน็ตและคู่มือท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมีความชอบในแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือ ตอนบนคล้ายๆ กัน คือนิยมท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประเพณี วัฒนธรรม - อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ยังไม่มีหลักสูตรการพัฒนา บุคลากรที่ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ การเชื่อมโยงร่วมมือกันเป็นเครือข่าย ระหว่างผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวยังไม่เป็นรูปธรรมนัก ยังอยู่ในระดับจากัดและผิวเผิน ทาให้ การขับเคลื่อนโครงการและการบริหารจัดการต่างๆ ขาดประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ผู้ประกอบการต้องการ ให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวช่วยสนับสนุนด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัด - กลยุทธ์โครงสร้างและคู่แข่งขัน ภาพรวมของการแข่งขัน มีการแข่งขันสูง โดยมักแข่งขันกันด้านราคา คู่แข่งขันที่สาคัญของ การท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบนมีทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ คู่แข่งในประเทศที่สาคัญ ได้แก่ กรุงเทพและปริมณฑล จังหวัดเพชรบูรณ์ และกลุ่มจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และคู่ แข่งขันที่สาคัญในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศเวียดนาม จีนตอนใต้ สปป.ลาว สหภาพม่า สิงคโปร์ และมาเลเซีย  พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทย นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีภูมิลาเนาอยู่ในภาคเหนือ ระดับการศึกษาต่า กว่ามัธยมศึกษา มีรายได้มาจากเงินเบี้ยหวัด/เงินบานาญ และการประกอบอาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 25,000 บาท ไม่มีปัญหาสุขภาพ พักอาศัยอยู่กับคู่สมรส มีความถี่ในการเดินทางท่องเที่ยวปีละ 1-2 ครั้ง สิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทย คือสถานที่ท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติที่สวยงาม และ วัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ มีวัตถุประสงค์การท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อน และได้อยู่กับลูกหลานใน บรรยากาศใหม่ๆ มีช่วงเวลาที่เดินทางท่องเที่ยวในวันเสาร์-อาทิตย์ ชอบเที่ยวในประเทศ มีระยะเวลาในการ ท่องเที่ยวแต่ละครั้งอยู่ในช่วงไม่เกิน 3 วัน ส่วนใหญ่จะเดินทางท่องเที่ยวกับลูกหลาน/คนในครอบครัว/ญาติ พี่น้อง โดยลูกหลาน/คนในครอบครัว/ญาติพี่น้องจะเป็นผู้วางแผนการเดินทาง
  • 10. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 10 นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยส่วนมากคานึงถึงคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว ความสะดวกในการเดิน ทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการ สิ่งอานวยความสะดวกและกิจกรรมที่มีในแหล่งท่องเที่ยว และสิ่งบริการ การท่องเที่ยวในพื้นที่ใกล้เคียงเป็นปัจจัยที่ใช้พิจารณาในการตัดสินใจเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยส่วนใหญ่ชื่นชอบรูปแบบการท่องเที่ยวที่เที่ยวไปช้าๆ ไม่ เร่งรีบ ลักษณะ Slow Tourism ส่วนใหญ่เลือกไปท่องเที่ยวยังแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ใช้พาหนะในการเดินทาง ท่องเที่ยวเป็นรถยนต์ส่วนตัวเป็นหลัก เลือกพักที่โรงแรม เลือกรับประทานอาหารในร้านอาหารทั่วไปตาม แหล่งท่องเที่ยว เลือกซื้อของที่ระลึกประเภทเครื่องแต่งกาย รับรู้ข้อมูลการท่องเที่ยวจากญาติ เพื่อน หรือคน รู้จัก นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยส่วนใหญ่ประทับใจในการมาท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน โดยระบุว่า จะกลับมาท่องเที่ยวอีกแน่นอน รวมถึงจะเล่าประสบการณ์ที่ดีๆ จากการท่องเที่ยวครั้งนี้ให้ผู้อื่นฟัง จะ แนะนาเพื่อนหรือคนรู้จักให้มาเที่ยวภาคเหนือตอนบนของไทย และได้เสนอแนะการพัฒนาการท่องเที่ยว ภาคเหนือตอนบน ได้แก่ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวก รวมถึงเสนอแนะ ให้คนในท้องถิ่นรักษาวัฒนธรรม ประเพณี ท้องถิ่น และมีความภูมิใจในวิถีชีวิตที่เป็นอยู่  พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติ นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีภูมิลาเนาอยู่ในทวีปยุโรป มีการศึกษาใน ระดับปริญญาตรีขึ้นไป มีรายได้จากเงินเบี้ยหวัด/เงินบานาญ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 1,001 – 2,500 ดอลลาร์สหรัฐฯ ไม่มีปัญหาสุขภาพ พักอาศัยอยู่คนเดียวและอยู่กับคู่สมรส มีความถี่ในการเดินทางท่องเที่ยว ปีละ 1-2 ครั้ง สิ่งจูงใจในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ คือสถานที่ท่องเที่ยวประเภทวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น และธรรมชาติที่สวยงาม มีวัตถุประสงค์การท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อน และได้ท่องเที่ยวกับ เพื่อนเก่าๆ ในบรรยากาศใหม่ๆ ชอบเที่ยวต่างประเทศ มีระยะเวลาในการท่องเที่ยวแต่ละครั้งอยู่ในช่วง 1-2 สัปดาห์ ส่วนใหญ่จะเดินทางท่องเที่ยวกับคู่สมรส โดยวางแผนการเดินทางท่องเที่ยวด้วยตัวเอง นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติคานึงถึงคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว ความสะดวกในการเดินทางเข้า สู่แหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการการท่องเที่ยวในพื้นที่ใกล้เคียง และสิ่งบริการสิ่งอานวยความสะดวกรวมถึง กิจกรรมที่มีในแหล่งท่องเที่ยวที่ใช้พิจารณาในการตัดสินใจเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติส่วนใหญ่ชื่นชอบรูปแบบการท่องเที่ยวที่เที่ยวไปช้าๆ ไม่เร่งรีบ ลักษณะ Slow Tourism ใช้พาหนะในการเดินทางท่องเที่ยวเป็นเครื่องบิน และรถเช่า เป็นหลัก เลือกพักที่ โรงแรม เลือกรับประทานอาหารในร้านอาหารท้องถิ่น เลือกซื้อของที่ระลึกประเภทเครื่องแต่งกาย รับรู้ ข้อมูลการท่องเที่ยวจากสื่อต่างๆ ได้แก่ แผ่นพับ ใบปลิว โปสเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ นิตยสารไกด์บุ๊คส์ และ อินเตอร์เน็ต
  • 11. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 11 นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติส่วนใหญ่มีความประทับใจในการมาท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน โดยระบุว่า จะกลับมาท่องเที่ยวอีกแน่นอน รวมถึงจะเล่าประสบการณ์ที่ดีๆ จากการท่องเที่ยวครั้งนี้ให้ผู้อื่น ฟัง รวมถึงจะแนะนาเพื่อนหรือคนรู้จักให้มาเที่ยวภาคเหนือตอนบนของไทย และได้ให้ข้อเสนอแนะในการ พัฒนาการท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน ได้แก่ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงสิ่งอานวยความ สะดวก การพัฒนาการให้บริการของบุคลากรผู้ให้บริการ รวมถึงเสนอแนะให้ปรับปรุงระบบการอานวย ความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยว  ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบนของนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุชาวไทย ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวภาคเหนือของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาว ไทยต่อปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านผลิตภัณฑ์ได้แก่ สิ่งดึงดูด ในแหล่งท่องเที่ยว ความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการอานวยความสะดวกในแหล่ง ท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว และความปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านราคาโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อย ได้แก่ ความคุ้มค่าของเงินที่จ่ายไป และความยุติธรรมของราคาสินค้าและบริการในแหล่งท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจาหน่าย โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยย่อยในเรื่องความสะดวก ในการซื้อบริการต่างๆ ในการท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และปัจจัยย่อยด้านการบริการของตัวแทน บริษัทนาเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยย่อยด้านการส่งเสริม การตลาดได้แก่ ความเพียงพอของข้อมูลการท่องเที่ยว ความรวดเร็วในการให้บริการข้อมูลด้านการ ท่องเที่ยว ความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลด้านการท่องเที่ยว และการส่งเสริมการขาย เช่น การให้ส่วนลด การให้สิทธิพิเศษ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านบุคลากรผู้ให้บริการโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่งได้แก่ การให้บริการของผู้ ให้บริการในแหล่งท่องเที่ยว ปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยย่อยด้านลักษณะทาง กายภาพได้แก่ สภาพภูมิทัศน์ที่สวยงามของแหล่งท่องเที่ยว และ ความสะอาดสวยงามของแหล่งท่องเที่ยว มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านกระบวนการให้บริการ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านกระบวนการ ให้บริการ ได้แก่ ความรวดเร็วในการให้บริการ และความถูกต้องแม่นยาในการให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมาก
  • 12. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 12  ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบนของนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุชาวต่างชาติ ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยวภาคเหนือของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ชาวต่างชาติในปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านผลิตภัณฑ์ ซึ่ง ได้แก่ สิ่งดึงดูดในแหล่งท่องเที่ยว ความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการอานวยความสะดวก ในแหล่งท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว และความปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยวมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านราคา โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านราคาทุกปัจจัย มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมาก ซึ่งได้แก่ ความคุ้มค่าของเงินที่จ่ายไป และ ความยุติธรรมของราคาสินค้าและบริการในแหล่ง ท่องเที่ยว ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจาหน่าย โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยในเรื่องความ สะดวกในการซื้อบริการต่างๆ ในการท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และปัจจัยย่อยด้านการบริการของ ตัวแทนบริษัทนาเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อย ในเรื่อง ความ เพียงพอของข้อมูลการท่องเที่ยว ความรวดเร็วในการให้บริการข้อมูลด้านการท่องเที่ยว ความสะดวกในการ เข้าถึงข้อมูลด้านการท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยย่อยด้านการส่งเสริมการขาย มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยด้านบุคลากรผู้ให้บริการโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่งได้แก่ การให้บริการของผู้ ให้บริการในแหล่งท่องเที่ยว ปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านลักษณะทาง กายภาพ ซึ่งได้แก่ สภาพภูมิทัศน์ที่สวยงามของแหล่งท่องเที่ยว และ ความสะอาดสวยงามของแหล่ง ท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านกระบวนการให้บริการ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยย่อยด้านกระบวนการ ให้บริการ ทุกปัจจัย มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่งได้แก่ ความรวดเร็วในการให้บริการ และความถูกต้อง แม่นยาในการให้บริการ 5.4 สรุปความเชื่อมโยงของ 2 โครงการ นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยและชาวต่างชาตินิยมท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประเพณี และวัฒนธรรมคล้ายกัน แต่จะแตกต่างกันในเรื่องของปัจจัยที่ใช้พิจารณาในการตัดสินใจไปเที่ยว ในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ โดยนักท่องเที่ยวชาวไทยให้ความสาคัญกับคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจากคน ไทยมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของแหล่งท่องเที่ยวอยู่ก่อนแล้ว จึงทาให้เป็นข้อมูลเบื้องต้น ในการตัดสินใจไปเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้ ปัจจัยรองลงมาได้แก่ ความสะดวกในการเดินทางเข้าสู่แหล่ง
  • 13. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 13 ท่องเที่ยว สิ่งบริการและสิ่งอานวยความสะดวกและกิจกรรมที่มีในแหล่งท่องเที่ยว และลาดับสุดท้ายที่ให้ ความสาคัญ คือ สิ่งบริการการท่องเที่ยวในพื้นที่ใกล้เคียง นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติให้ความสาคัญต่อคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวเป็นลาดับแรก เช่นเดียวกัน รองลงมาคือ ความสะดวกในการเดินทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยว สิ่งบริการการท่องเที่ยวในพื้นที่ ใกล้เคียง และลาดับสุดท้ายที่ให้ความสาคัญคือสิ่งบริการและสิ่งอานวยความสะดวกและกิจกรรมที่มีใน แหล่งท่องเที่ยว ในการพัฒนาการท่องเที่ยวต้องคานึงถึงการวิเคราะห์เกี่ยวกับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว และด้าน การตลาดประกอบกัน ดังนั้นในการพัฒนาการท่องเที่ยว ควรให้ความสาคัญในเรื่องคุณค่าของแหล่ง ท่องเที่ยวเป็นลาดับแรก เนื่องจากนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติให้ความสาคัญในเรื่องคุณค่าของ แหล่งท่องเที่ยวมากที่สุด การทาการตลาดเพื่อประชาสัมพันธ์และเชิญชวนให้นักท่องเที่ยวมาเที่ยวชมแหล่ง ท่องเที่ยว จึงควรให้ข้อมูลด้านคุณค่า ประวัติ ความเป็นมาของแหล่งท่องเที่ยวนอกจากนี้ควรให้ข้อมูล เกี่ยวกับความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวประกอบการตัดสินใจ ในกรณีที่นักท่องเที่ยวต้องการ เดินทางมายังแหล่งท่องเที่ยวด้วยตัวเอง 6. ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย การวิจัยนี้ได้เสนอแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุ ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ 6.1 แนวทางการพัฒนาด้านกายภาพ พัฒนาสิ่งบริการอานวยความสะดวกเพื่อเพิ่มความปลอดภัย ความสะดวกสบายแก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และที่สาคัญคือการเพิ่มคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว โดยการ 1) ปรับปรุงการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ป้ายบอกทาง พื้นผิวถนน สภาพภูมิทัศน์ริมสองฟากเส้นทาง 2) ปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว ที่จอดรถ ถนนในแหล่งท่องเที่ยว ห้องสุขา ศูนย์ข้อมูล ทางเดิน – ทางเท้า บันได ป้ายสื่อความหมาย ป้ายเตือน ที่นั่งพัก ร้านขายอาหาร ร้าน ขายเครื่องดื่ม ห้องปฐมพยาบาลเบื้องต้น สิ่งสาธารณูปโภคอื่นๆ อาทิ น้าสะอาด การจัดการขยะ การจัดการระบายน้า ไฟถนน รวมทั้งการตรวจตรารักษาความปลอดภัยอย่างเหมาะสม 3) คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว ดูแลบารุงรักษาแหล่งท่องเที่ยวให้อยู่ในสภาพดี ปรับปรุงป้ายสื่อ ความหมาย สภาพภูมิทัศน์และสิ่งอานวยความสะดวก เพิ่มกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้รับความ สนุกสนานและเรียนรู้ และใช้เวลาอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวนานขึ้น 4) สิ่งบริการการท่องเที่ยวในบริเวณใกล้เคียง ควรมีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้งและหมายเลข โทรศัพท์ของสิ่งบริการเหล่านี้แล้วเผยแพร่ให้นักท่องเที่ยวได้รับรู้และเลือกใช้บริการ
  • 14. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 14 6.2 แนวทางการพัฒนาด้านการจัดการ โดยพัฒนาด้านบุคลากรขององค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มี ความรู้ด้านการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ที่เหมาะสมสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ โดยการ 1) ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่องค์กร หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับแหล่ง ท่องเที่ยว 2) พัฒนาบุคลากรขององค์กรที่รับผิดชอบดูแลและสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยว 3) จัดทาคู่มือการปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยวที่เอื้อต่อผู้สูงอายุและเผยแพร่ ไปสู่องค์กรต่างๆ ที่ดูแลแหล่งท่องเที่ยว และผู้ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้อง 4) เพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรขององค์กรที่เกี่ยวข้อง จัดให้มีการอบรม สัมมนา ดูงาน แก่ บุคลากรขององค์กรที่รับผิดชอบในการดูแลบารุงรักษาแหล่งท่องเที่ยว 5) สนับสนุนด้านการเงินแก่องค์กรที่ดาเนินการปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว 6.3 แนวทางการพัฒนาด้านการตลาด ปรับปรุงด้านข้อมูลและส่งผ่านสื่อที่เหมาะสมเพื่อให้เข้าถึง นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการ 1) เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับความสาคัญของนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุ ตลอดจนปัญหาความต้องการ และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ไปยังผู้ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวรวมทั้ง เจ้าหน้าที่ในองค์กรที่ดูแลบารุงรักษาแหล่งท่องเที่ยว 2) เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดการปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ในภาคเหนือตอนบนที่เหมาะสมสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุผ่านสื่อต่างๆ 3) จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวของผู้สูงอายุ ในโอกาสต่างๆ เช่น ไปเที่ยววันพ่อ วันแม่ชวน แม่เที่ยว ไปเที่ยววันผู้สูงอายุ ทัวร์ไหว้พระ 9 วัด ทัวร์เพื่อสุขภาพ เป็นต้น โดยเฉพาะในช่วง Low Season และวันธรรมดา เพื่อเสริมรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการท่องเที่ยวและทาให้ผู้สูงอายุได้ใช้ บริการในราคาพิเศษ 7 การนาไปใช้ประโยชน์ ผลงานวิจัยที่ได้จากการดาเนินแผนงานวิจัยการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ในด้านการพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว สามารถนาไป ประยุกต์จัดทาเป็นคู่มือ และจัดทา Website การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ (www.sri.cmu.ac.th/~slowtour/) โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการ พัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่ดูแลรับผิดชอบแหล่งท่องเที่ยวสามารถนาไปใช้ในการวางแผนปรับปรุง พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ได้
  • 15. แบบสรุปย่อการวิจัย: การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 15 ในส่วนของการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพการตลาดท่องเที่ยว สามารถนาผลงานวิจัยที่ได้ไปประยุกต์ จัดทาคู่มือ และ Website โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาศักยภาพการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการธุรกิจ ท่องเที่ยว สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนการตลาดและการให้บริการต่างๆ สาหรับนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุที่นิยมท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism ในภาคเหนือตอนบน