SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
วิชา สุขศึกษารหัสวิชา พ 21102 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต สพป.สระแก้วเขต1
หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 โภชนาการตามวัย
เรื่อง อาหารและโภชนาการ เวลา 2 ชั่วโมง
ครูประจําวิชา นางทัศนีย์ ไชยเจริญ
วันที่ .................... เดือน ......................................... พ.ศ. ............................
1. สาระสําคัญ
อาหารและโภชนาการเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกายของคนเรา เพราะการได้รับ
สารอาหารมากเกินไปหรือน้อยเกินไป ย่อมทําให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการ การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
อาหารและโภชนาการจะช่วยให้สามารถเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้เจริญเติบโตสมวัย
2. ตัวชี้วัด
พ 4.1 ม.1/2 วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายและความสําคัญของอาหารและโภชนาการได้
2. บริโภคอาหารตามธงโภชนาการได้
3. วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพได้
4. สาระการเรียนรู้
ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ
- ภาวะการขาดสารอาหาร
- ภาวะโภชนาการเกิน
5.สมรรถนะที่สําคัญในการคิด
ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
7.กระบวนการจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
1.ขั้นเตรียม 2. ขั้นสอน 3. ขั้นทํากิจกรรมกลุ่ม
4. ขั้นตรวจสอบผลงาน 5. ขั้นสรุปบทเรียน
8.วิธีดําเนินกิจกรรม
ชั่วโมงที่ 1-2
1. ครูนําภาพอาหารมาแสดงให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาอาหารในภาพว่าเป็น
ตัวอย่างอาหารที่ให้สารอาหารใดแก่ร่างกาย
- รูปภาพอาหาร ได้แก่ ไข่ดาว หมูทอดกระเทียม หมูสามชั้นทอด ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน
2. นักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่อาหารตามสารอาหารที่ร่างกายได้รับ แล้วให้นักเรียนช่วยกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง
3. ให้นักเรียนช่วยกันเขียนตัวอย่างแหล่งอาหารในแต่ละหมู่ตามบัตรคําที่ครูกําหนดดังนี้
- โปรตีน แหล่งอาหารได้แก่ เนื้อปลา เนื้อไก่ เนื้อหมู ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง ฯลฯ
- คาร์โบไฮเดรต แหล่งอาหารได้แก่ แป้ง น้ําตาล เผือก มัน ข้าว ฯลฯ
- ไขมัน แหล่งอาหารได้แก่ น้ํามันหมู น้ํามันถั่วเหลือง ไขมันสัตว์ ฯลฯ
4. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียนออกไปตรวจสอบความถูกต้อง แล้วให้เพื่อนในชั้นเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบอีกครั้ง ครูชมเชยนักเรียนเพื่อเป็นการเสริมกําลังใจในการเรียน
5. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง โภชนบัญญัติและธงโภชนาการ จากหนังสือเรียน
6. ให้นักเรียนช่วยกันตอบคําถาม เพื่อเป็นการสรุปสาระสําคัญจากเรื่องที่ได้ศึกษา ดังนี้
- โภชนบัญญัติ 9 ประการคืออะไร มีความสําคัญอย่างไร
- ธงโภชนาการ มีประโยชน์ในการนําไปใช้อย่างไร
7. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยคละความสามารถหรือตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่ม
ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการรับประทานอาหารตามที่กําหนดในธงโภชนาการว่า นักเรียนสามารถนําไปจัด
อาหารเพื่อรับประทานได้อย่างไร โดยให้นักเรียนร่วมกันคิดรายการอาหารที่เหมาะสมและถูกต้อง เพื่อนํามา
เสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูอาจยกตัวอย่างรายการอาหารเพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น
มื้ออาหาร รายการอาหาร
เช้า ข้าวต้ม ผัดผักบุ้ง ไข่เจียว มะละกอ
กลางวัน ข้าวผัดกะเพรา-ไข่ดาว สับปะรด
เย็น ข้าวสวย ผัดผักคะน้า แกงป่าปลากราย กุ้งนึ่งมะนาว
8. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และให้ความรู้เพิ่มเติมด้วยว่า รายการ
อาหารที่จัดมีคุณค่าทางโภชนาการอย่างไร และให้สารอาหารครบถ้วนหรือไม่อย่างไร
9. ครูสรุปความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนสามารถนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจําวัน ดังนี้
ธงโภชนาการ คือ เครื่องมือที่ช่วยอธิบายและทําความเข้าใจโภชนบัญญัติ 9 ประการ เพื่อนําไปสู่การปฏิบัติโดย
กําหนดเป็น ภาพ"ธงปลายแหลม" แสดงกลุ่มอาหารและสัดส่วนการกินอาหารในแต่ละกลุ่มมากน้อยตามพื้นที่
สังเกตได้ชัดเจนว่าฐานใหญ่ด้านบนเน้นให้กินมาก และปลายธงด้านล่างบอกให้กินน้อย ๆ เท่าที่จําเป็น โดย
อธิบายได้ดังนี้
- กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
- กลุ่มอาหารที่บริโภคจากมากไปน้อย แสดงด้วยพื้นที่ในภาพ
- อาหารที่หลากหลายชนิดในแต่ละกลุ่ม สามารถเลือกกินสลับเปลี่ยนหมุนเวียนกันได้ภายในกลุ่ม
เดียวกัน ทั้งกลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ และกลุ่มเนื้อสัตว์
สําหรับกลุ่มข้าว
- แป้งให้กินเป็นอาหารหลัก อาจสลับกับผลิตภัณฑ์ที่ทําจากแป้งเป็นบางมื้อ
- ปริมาณอาหารบอกจํานวนเป็นหน่วยครัวเรือน เช่น ทัพพี ช้อนกินข้าว แก้ว และผลไม้กําหนดเป็น
สัดส่วน
- ชนิดของอาหารที่ควรกินปริมาณน้อยๆ เท่าที่จําเป็น คือ กลุ่มน้ํามัน น้ําตาล เกลือ
ชั่วโมงที่ 3
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับหลักในการเลือกรับประทานอาหารของนักเรียนแต่ละคน และให้
นักเรียนบอกรายการอาหารที่ชอบ หรือรับประทานบ่อยมากที่สุด
2. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและอภิปรายเกี่ยวกับผลเสียของการเลือกรับประทานอาหาร
ที่ตนเองชอบอยู่เพียงอย่างเดียวบ่อยๆ โดยให้ตัวแทนนักเรียนออกไปเขียนสรุปเป็นข้อๆบนกระดาน
3. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลการอภิปรายเกี่ยวกับผลเสียที่ร่างกายได้รับจากการรับประทาน
อาหารเพียงอย่างเดียวซ้ําๆ บ่อยๆ เช่น
- เกิดการสะสมสารพิษจากอาหาร
- ร่างกายขาดสารอาหารประเภทอื่น
4. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ จากหนังสือเรียน
5. นักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นความรู้เกี่ยวกับประเภทโภชนาการและโรคที่เกิดจากโภชนาการ ที่ไม่ดี
เช่น
- ภาวะโภชนาการเกิน เป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
- ภาวะโภชนาการต่ํา เป็นสาเหตุของโรคขาดสารอาหาร โรคโลหิตจาง
6. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อ
ร่างกาย และเน้นย้ําให้นักเรียนตระหนักถึงโรคต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหลักโภชนาการที่เกิดจากพฤติกรรมในการ
เลือกรับประทานอาหาร เช่น บุคคลที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ควรปฏิบัติ ดังนี้
- งดอาหารดองเค็ม เช่น ปลาเค็ม ไข่เค็ม ผลไม้ดองเค็ม
- ลดอาหารที่มีเกลือสูง เช่น กะปิ ไตปลา เต้าเจี้ยว ปลาร้า เต้าหู้ยี้
- งดปรุงอาหารจากซุปก้อน ซุปผง ซอสที่มีรสเค็ม
7. ให้นักเรียนทําใบงานที่ 2.1 เรื่อง ภาวะโภชนาการ เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนนําส่งครู
8. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรวบรวมรายการอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ แล้วบอก
รายละเอียดส่วนผสมและสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบการนําเสนอ
ผลงานในรูปของหนังสือ นิตยสาร หรือเมนูอาหาร ตามมติของกลุ่ม
9. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน
9. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1. รูปภาพอาหาร วัยรุ่น
2. ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ภาวะโภชนาการ
3. แบบทดสอบความรู้หลังเรียน
แหล่งการเรียนรู้
1. http://krutassanee01.wordpress.com
10. การวัดผลประเมินผลหน่วยการเรียนรู้
1. วิธีการวัดผลประเมินผล
1.1. สังเกตการร่วมกิจกรรม
1.2 การสนทนา ซักถามในชั้นเรียน
1.3 ตรวจชิ้นงานของนักเรียน
2. เครื่องมือการวัดผลประเมินผล
2.1 แบบบันทึกการสังเกตการร่วมกิจกรรม
2.2 แบบบันทึกคะแนน
11. กิจกรรมเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...................................................ผู้สอน
( นางทัศนีย์ ไชยเจริญ )
ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
....................../....................................../.......................

Contenu connexe

Tendances

แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 sarawut chaicharoen
 
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4sarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3sarawut chaicharoen
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาnammint
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษาkrusupkij
 

Tendances (20)

แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  5 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
 
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
ชุดส่งเสริมการเรียนรู้เวิชาสุขศึกษา ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  7 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สุข ม.2
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 สุข ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 

Similaire à แผนการเรียนรู้ที่ 2_2

แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2Nattaporn Chayapanja
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Madamme Boom
 
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยAor Dujkamol
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3tassanee chaicharoen
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นNamfon fon
 
ตารางสอบ ปวส 2 ภาคเรียน 2 55
ตารางสอบ ปวส 2 ภาคเรียน 2 55ตารางสอบ ปวส 2 ภาคเรียน 2 55
ตารางสอบ ปวส 2 ภาคเรียน 2 55Jutapun Vongpredee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30Chanathip Loahasakthavorn
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1Wichai Likitponrak
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คkrupornpana55
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Kkae Rujira
 

Similaire à แผนการเรียนรู้ที่ 2_2 (18)

แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวยโครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
โครงงานการแข็งตัวของเต้าฮวย
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
ตารางสอบ ปวส 2 ภาคเรียน 2 55
ตารางสอบ ปวส 2 ภาคเรียน 2 55ตารางสอบ ปวส 2 ภาคเรียน 2 55
ตารางสอบ ปวส 2 ภาคเรียน 2 55
 
อาหาร Fast food
อาหาร Fast foodอาหาร Fast food
อาหาร Fast food
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 

Plus de tassanee chaicharoen

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนtassanee chaicharoen
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรtassanee chaicharoen
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์tassanee chaicharoen
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้tassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 6
แผนการเรียนรู้ที่ 6แผนการเรียนรู้ที่ 6
แผนการเรียนรู้ที่ 6tassanee chaicharoen
 

Plus de tassanee chaicharoen (20)

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
 
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
ใบกิจกรรมนักเรียนที่ 1
 
ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2ใบงานที่ 5.2
ใบงานที่ 5.2
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
 
ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9แผนการเรียนรู้ที่ 9
แผนการเรียนรู้ที่ 9
 
แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8แผนการเรียนรู้ที่ 8
แผนการเรียนรู้ที่ 8
 
แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการเรียนรู้ที่ 6
แผนการเรียนรู้ที่ 6แผนการเรียนรู้ที่ 6
แผนการเรียนรู้ที่ 6
 

แผนการเรียนรู้ที่ 2_2

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 วิชา สุขศึกษารหัสวิชา พ 21102 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต สพป.สระแก้วเขต1 หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 โภชนาการตามวัย เรื่อง อาหารและโภชนาการ เวลา 2 ชั่วโมง ครูประจําวิชา นางทัศนีย์ ไชยเจริญ วันที่ .................... เดือน ......................................... พ.ศ. ............................ 1. สาระสําคัญ อาหารและโภชนาการเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกายของคนเรา เพราะการได้รับ สารอาหารมากเกินไปหรือน้อยเกินไป ย่อมทําให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการ การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ อาหารและโภชนาการจะช่วยให้สามารถเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้เจริญเติบโตสมวัย 2. ตัวชี้วัด พ 4.1 ม.1/2 วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายและความสําคัญของอาหารและโภชนาการได้ 2. บริโภคอาหารตามธงโภชนาการได้ 3. วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพได้ 4. สาระการเรียนรู้ ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ - ภาวะการขาดสารอาหาร - ภาวะโภชนาการเกิน 5.สมรรถนะที่สําคัญในการคิด ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 7.กระบวนการจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบร่วมมือ 1.ขั้นเตรียม 2. ขั้นสอน 3. ขั้นทํากิจกรรมกลุ่ม 4. ขั้นตรวจสอบผลงาน 5. ขั้นสรุปบทเรียน
  • 2. 8.วิธีดําเนินกิจกรรม ชั่วโมงที่ 1-2 1. ครูนําภาพอาหารมาแสดงให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาอาหารในภาพว่าเป็น ตัวอย่างอาหารที่ให้สารอาหารใดแก่ร่างกาย - รูปภาพอาหาร ได้แก่ ไข่ดาว หมูทอดกระเทียม หมูสามชั้นทอด ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน 2. นักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่อาหารตามสารอาหารที่ร่างกายได้รับ แล้วให้นักเรียนช่วยกัน ตรวจสอบความถูกต้อง 3. ให้นักเรียนช่วยกันเขียนตัวอย่างแหล่งอาหารในแต่ละหมู่ตามบัตรคําที่ครูกําหนดดังนี้ - โปรตีน แหล่งอาหารได้แก่ เนื้อปลา เนื้อไก่ เนื้อหมู ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง ฯลฯ - คาร์โบไฮเดรต แหล่งอาหารได้แก่ แป้ง น้ําตาล เผือก มัน ข้าว ฯลฯ - ไขมัน แหล่งอาหารได้แก่ น้ํามันหมู น้ํามันถั่วเหลือง ไขมันสัตว์ ฯลฯ 4. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียนออกไปตรวจสอบความถูกต้อง แล้วให้เพื่อนในชั้นเรียนร่วมกัน ตรวจสอบอีกครั้ง ครูชมเชยนักเรียนเพื่อเป็นการเสริมกําลังใจในการเรียน 5. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง โภชนบัญญัติและธงโภชนาการ จากหนังสือเรียน 6. ให้นักเรียนช่วยกันตอบคําถาม เพื่อเป็นการสรุปสาระสําคัญจากเรื่องที่ได้ศึกษา ดังนี้ - โภชนบัญญัติ 9 ประการคืออะไร มีความสําคัญอย่างไร - ธงโภชนาการ มีประโยชน์ในการนําไปใช้อย่างไร 7. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยคละความสามารถหรือตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่ม ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการรับประทานอาหารตามที่กําหนดในธงโภชนาการว่า นักเรียนสามารถนําไปจัด อาหารเพื่อรับประทานได้อย่างไร โดยให้นักเรียนร่วมกันคิดรายการอาหารที่เหมาะสมและถูกต้อง เพื่อนํามา เสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูอาจยกตัวอย่างรายการอาหารเพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น มื้ออาหาร รายการอาหาร เช้า ข้าวต้ม ผัดผักบุ้ง ไข่เจียว มะละกอ กลางวัน ข้าวผัดกะเพรา-ไข่ดาว สับปะรด เย็น ข้าวสวย ผัดผักคะน้า แกงป่าปลากราย กุ้งนึ่งมะนาว 8. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และให้ความรู้เพิ่มเติมด้วยว่า รายการ อาหารที่จัดมีคุณค่าทางโภชนาการอย่างไร และให้สารอาหารครบถ้วนหรือไม่อย่างไร 9. ครูสรุปความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนสามารถนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจําวัน ดังนี้ ธงโภชนาการ คือ เครื่องมือที่ช่วยอธิบายและทําความเข้าใจโภชนบัญญัติ 9 ประการ เพื่อนําไปสู่การปฏิบัติโดย กําหนดเป็น ภาพ"ธงปลายแหลม" แสดงกลุ่มอาหารและสัดส่วนการกินอาหารในแต่ละกลุ่มมากน้อยตามพื้นที่ สังเกตได้ชัดเจนว่าฐานใหญ่ด้านบนเน้นให้กินมาก และปลายธงด้านล่างบอกให้กินน้อย ๆ เท่าที่จําเป็น โดย อธิบายได้ดังนี้ - กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ - กลุ่มอาหารที่บริโภคจากมากไปน้อย แสดงด้วยพื้นที่ในภาพ - อาหารที่หลากหลายชนิดในแต่ละกลุ่ม สามารถเลือกกินสลับเปลี่ยนหมุนเวียนกันได้ภายในกลุ่ม เดียวกัน ทั้งกลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ และกลุ่มเนื้อสัตว์ สําหรับกลุ่มข้าว - แป้งให้กินเป็นอาหารหลัก อาจสลับกับผลิตภัณฑ์ที่ทําจากแป้งเป็นบางมื้อ - ปริมาณอาหารบอกจํานวนเป็นหน่วยครัวเรือน เช่น ทัพพี ช้อนกินข้าว แก้ว และผลไม้กําหนดเป็น
  • 3. สัดส่วน - ชนิดของอาหารที่ควรกินปริมาณน้อยๆ เท่าที่จําเป็น คือ กลุ่มน้ํามัน น้ําตาล เกลือ ชั่วโมงที่ 3 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับหลักในการเลือกรับประทานอาหารของนักเรียนแต่ละคน และให้ นักเรียนบอกรายการอาหารที่ชอบ หรือรับประทานบ่อยมากที่สุด 2. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและอภิปรายเกี่ยวกับผลเสียของการเลือกรับประทานอาหาร ที่ตนเองชอบอยู่เพียงอย่างเดียวบ่อยๆ โดยให้ตัวแทนนักเรียนออกไปเขียนสรุปเป็นข้อๆบนกระดาน 3. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลการอภิปรายเกี่ยวกับผลเสียที่ร่างกายได้รับจากการรับประทาน อาหารเพียงอย่างเดียวซ้ําๆ บ่อยๆ เช่น - เกิดการสะสมสารพิษจากอาหาร - ร่างกายขาดสารอาหารประเภทอื่น 4. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ จากหนังสือเรียน 5. นักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นความรู้เกี่ยวกับประเภทโภชนาการและโรคที่เกิดจากโภชนาการ ที่ไม่ดี เช่น - ภาวะโภชนาการเกิน เป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ - ภาวะโภชนาการต่ํา เป็นสาเหตุของโรคขาดสารอาหาร โรคโลหิตจาง 6. ครูเสนอแนะเพิ่มเติมให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อ ร่างกาย และเน้นย้ําให้นักเรียนตระหนักถึงโรคต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหลักโภชนาการที่เกิดจากพฤติกรรมในการ เลือกรับประทานอาหาร เช่น บุคคลที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ควรปฏิบัติ ดังนี้ - งดอาหารดองเค็ม เช่น ปลาเค็ม ไข่เค็ม ผลไม้ดองเค็ม - ลดอาหารที่มีเกลือสูง เช่น กะปิ ไตปลา เต้าเจี้ยว ปลาร้า เต้าหู้ยี้ - งดปรุงอาหารจากซุปก้อน ซุปผง ซอสที่มีรสเค็ม 7. ให้นักเรียนทําใบงานที่ 2.1 เรื่อง ภาวะโภชนาการ เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนนําส่งครู 8. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรวบรวมรายการอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ แล้วบอก รายละเอียดส่วนผสมและสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบการนําเสนอ ผลงานในรูปของหนังสือ นิตยสาร หรือเมนูอาหาร ตามมติของกลุ่ม 9. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 9. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. รูปภาพอาหาร วัยรุ่น 2. ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ภาวะโภชนาการ 3. แบบทดสอบความรู้หลังเรียน แหล่งการเรียนรู้ 1. http://krutassanee01.wordpress.com 10. การวัดผลประเมินผลหน่วยการเรียนรู้ 1. วิธีการวัดผลประเมินผล 1.1. สังเกตการร่วมกิจกรรม
  • 4. 1.2 การสนทนา ซักถามในชั้นเรียน 1.3 ตรวจชิ้นงานของนักเรียน 2. เครื่องมือการวัดผลประเมินผล 2.1 แบบบันทึกการสังเกตการร่วมกิจกรรม 2.2 แบบบันทึกคะแนน 11. กิจกรรมเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ...................................................ผู้สอน ( นางทัศนีย์ ไชยเจริญ ) ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต ....................../....................................../.......................