SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
วัยผู้ใหญ่ คือ วัยตั้งแต่ช่วงอายุ 21 ถึง 60 ปี ซึ่งแบ่งช่วงระยะพัฒนาการวัยผู้ใหญ่ออกเป็น
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (Early adulthood) ตั้งแต่ 20 ถึง 40 ปี
วัยกลางคน (Middle age หรือ Middle adulthood) คือช่วงอายุ 40 – 60 ปี
พัฒนาการของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น(20-40 ปี)
พัฒนาการ การเปลี่ยนแปลง
ด้านร่างกาย มีการพัฒนาทางร่างกายอย่างเต็มที่ทั้งเพศหญิงและเพศ
ชาย ร่างกายสมบูรณ์ มีการพัฒนาความสูงมาจากวัยรุ่นและ
จะมีความสูงที่สุดในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นนี้ รวมทั้งกล้ามเนื้อ
และเนื้อเยื่อไขมัน มีการพัฒนาอย่างเต็มที่เช่นกัน เมื่อเพศ
ชายอายุประมาณ 20 ปี ไหล่จะกว้าง มีการเพิ่มขนาดของต้น
แขนและมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมากขึ้น ในเพศหญิง
เต้านมและสะโพกมีการเจริญเต็มที่ ในวัยนี้ร่างกายจะมีพลัง
คล่องแคล่วว่องไว การรับรู้ต่าง ๆ จะมีความสมบูรณ์เต็มที่
เช่น สายตา การได้ยิน ความสามารถในการดมกลิ่น การลิ้ม
รส
ด้านจิตใจและอารมณ์ มีการควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น มีความมั่นคงทางจิตใจ
ดีกว่าวัยรุ่น คํานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น รู้สึกยอมรับผู้อื่นได้
ดีขึ้น มีพัฒนาการด้านอารมณ์รักมีความรู้สึกปรารถนาที่จะ
ใช้ชีวิตคู่ด้วยกัน มีการใช้กลไกทางจิตชนิดฝันกลางวัน
(Fantacy) การเก็บกด (Impulsiveness) น้อยลง แต่จะใช้การ
ตอบสนองด้วยเหตุผลทั้งกับตนเองและผู้อื่นมากขึ้น
พัฒนาการ การเปลี่ยนแปลง
ด้านสังคม สังคมของบุคคลวัยนี้คือ เพื่อนรัก คู่ครอง บุคคลจะพัฒนาความ
รัก ความผูกพัน แสวงหามิตรภาพที่สนิทสนม หากสามารถสร้าง
มิตรภาพได้มั่นคง จะเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างไว้เนื้อเชื่อ
ใจและนับถือซึ่งกันและกัน ตรงข้ามกับผู้ใหญ่ที่ไม่สามารถสร้างความ
สนิทสนมจริงจังกับผู้หนึ่งผู้ใดได้จะมีความรู้สึกอ้างว้างเดียวดาย
(isolation) หรือเป็นคนที่หลงรักเฉพาะตนเอง (narcissism)
วัยนี้จะให้ความสําคัญกับกลุ่มเพื่อนร่วมวัยลดลง จํานวนสมาชิก
ในกลุ่มเพื่อนจะลดลง แต่สัมพันธภาพในเพื่อนที่ใกล้ชิดหรือเพื่อนรัก
ยังคงอยู่และจะมีความผูกพันกันมากกว่าความผูกพันในลักษณะของ
คู่รักและพบว่ามักเป็นในเพื่อนเพศเดียวกัน การสัมพันธ์กับบุคคลใน
ครอบครัวจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากเป็นวัยที่เริ่มใช้ชีวิตครอบครัวกับคู่ของ
ตนเอง และเกิดการปรับตัวกับบทบาทใหม่
ด้านสติปัญญา วัยผู้ใหญ่ตอนต้น มีความสามารถทางสติปัญญาสมบูรณ์ที่สุดคือ
คุณภาพของความคิดจะเป็นระบบ มีความสัมพันธ์กันและมีความคิด
รูปแบบนามธรรม ผู้ใหญ่จะมีความคิดเปิดกว้าง ยืดหยุ่นมากขึ้น และ
รู้จักจดจําประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้ ทําให้สามารถปรับตัวเข้ากับ
สถานการณ์ต่างๆ ได้ดี นอกจากจะเป็นความคิดในการแก้ไขปัญหา
ดังกล่าวแล้ว ยังมีลักษณะของความคิดสร้างสรรค์และค้นหาปัญหา
ด้วย ปัญหาที่พบในวัยนี้คือปัญหาสุขภาพ เนื่องมาจากลักษณะการ
ดํารงชีวิต เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเหล้า การรับประทานอาหาร
ไขมันสูง
พัฒนาการของวัยกลางคน (40-60 ปี)
พัฒนาการ การเปลี่ยนแปลง
ด้านร่างกาย ในวัยกลางคนนี้ ทั้งเพศชายและเพศหญิงร่างกายจะเริ่มมี
ความเสื่อมถอยในเกือบทุกระบบของร่างกาย ผิวหนังจะเริ่ม
เหี่ยวย่น หยาบ ไม่เต่งตึง ผมเริ่มร่วงและมีสีขาว นํ้าหนักตัว
เพิ่มขึ้นจากการสะสมไขมันใต้ผิวหนังมากขึ้น ระบบสัมผัส
ได้แก่ ความสามารถในการมองเห็นเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่
สายตาจะยาวขึ้น บางคนจะมีอาการหูตึงเนื่องจากความเสื่อม
ของเซลล์ การลิ้มรสและการได้กลิ่นเปลี่ยนแปลงไป อวัยวะ
ภายในร่างกาย เช่น ผนังเส้นเลือด หัวใจ ปอด ไต และสมอง มี
ความเสื่อมลงเช่นกัน
ด้านจิตใจและอารมณ์ ในบุคคลที่ประสบกับความสําเร็จในชีวิตการทํางานจะมี
อารมณ์มั่นคง รู้จักการให้อภัย ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน มี
ความพึงพอใจในชีวิตที่ผ่านมา ลักษณะบุคลิกภาพค่อนข้างคงที่
บางคนจะมีอารมณ์เศร้าจากการที่บุตรเริ่มมีครอบครัวใหม่
การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก เช่น บิดา มารดา หรือคู่สมรส
หรือผิดหวังจากบุตรเป็นต้น
พัฒนาการ การเปลี่ยนแปลง
ด้านสังคม บุคคลที่มีพัฒนาการอย่างสมบูรณ์ในวัยนี้ จะแบ่งปัน เผื่อแผ่เอื้อ
อาทรต่อบุคคลอื่นๆ โดยเฉพาะกับบุคคลที่เยาว์วัยกว่า สร้างสรรค์
ผลงานใหม่ ก่อให้เกิดความปลาบปลื้มใจ เห็นคุณค่าของตนเอง ตรงข้าม
กับวัยกลางคน ที่พะวงแต่ตน จะเห็นแก่ตัว ไม่แบ่งปัน เผื่อแผ่ต่อบุคคล
อื่น ชอบแสดงอํานาจ หรือเป็นคนเฉื่อยชา ขาดความกระตือรือร้น งาน
สังคมของบุคคลในวัยกลางคนส่วนใหญ่คือที่ทํางานและบ้าน กลุ่ม
เพื่อนที่สําคัญ ได้แก่ เพื่อนร่วมงาน หรือเพื่อนบ้านใกล้เคียง
ความสัมพันธ์ในครอบครัวเป็นในลักษณะเฝ้าดูความสําเร็จในการศึกษา
และความก้าวหน้าในหน้าที่การทํางานของบุตร ในบุคคลที่เป็นโสด
กลุ่มเพื่อนที่สําคัญคือเพื่อนสนิทที่ผูกพันตั้งแต่ในวัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่
ตอนต้น ระยะปลายของวัยนี้ ส่วนใหญ่เข้าสู่วัยใกล้เกษียณอายุการ
ทํางาน บางคนสามารถปรับตัวได้ดี บางคนไม่สามารถปรับตัวได้รู้สึก
ท้อแท้รู้สึกตัวเองด้อยคุณค่า อาจมีอาการซึมเศร้า
ด้านสติปัญญา ในระยะวัยกลางคนนี้จะมีพัฒนาการทางสติปัญญาใกล้เคียงกับใน
วัยผู้ใหญ่ตอนต้นมีความคิดเป็นเหตุผล รู้จักคิดแบบประสานข้อขัดแย้ง
และความแตกต่าง จะสามารถรับรู้สิ่งที่เป็นข้อขัดแย้งต่าง ๆ ได้อย่าง
รวดเร็ว มีความอดทนและมีความสามารถในการจัดการกับข้อขัดแย้ง
นั้น ๆ ดังนั้นจึงมีความเข้าใจเรื่องการเมือง เล่นการเมือง รู้จักจัดการกับ
ระบบระเบียบของสังคมและรู้จักจัดการกับเรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลอย่างมีวุฒิภาวะ

Contenu connexe

Tendances

21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
kkkkon
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
teerachon
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
พัน พัน
 

Tendances (20)

เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 

En vedette

ลักษณะทั่วไปและพัฒนาการของวัยผู้ใหญ่
ลักษณะทั่วไปและพัฒนาการของวัยผู้ใหญ่ลักษณะทั่วไปและพัฒนาการของวัยผู้ใหญ่
ลักษณะทั่วไปและพัฒนาการของวัยผู้ใหญ่
พัน พัน
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
Rukvicha Jitsumrawy
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
khuwawa2513
 
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
Patanan0227
 
ธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษย์
ธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษย์ธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษย์
ธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษย์
Krudachayphum Schoolnd
 
วัยรุ่นรายงาน
วัยรุ่นรายงานวัยรุ่นรายงาน
วัยรุ่นรายงาน
Preeyanush Rodthongyoo
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
Decode Ac
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
tassanee chaicharoen
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
Aobinta In
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
sivakorn35
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
pangboom
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
ya035
 

En vedette (20)

ลักษณะทั่วไปและพัฒนาการของวัยผู้ใหญ่
ลักษณะทั่วไปและพัฒนาการของวัยผู้ใหญ่ลักษณะทั่วไปและพัฒนาการของวัยผู้ใหญ่
ลักษณะทั่วไปและพัฒนาการของวัยผู้ใหญ่
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
พัฒนาการวัยมัธยมต้ม
พัฒนาการวัยมัธยมต้มพัฒนาการวัยมัธยมต้ม
พัฒนาการวัยมัธยมต้ม
 
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
การปรับตัวในวัยรุ่น 19 มค 54
 
ธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษย์
ธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษย์ธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษย์
ธรรมชาติและพัฒนาการของมนุษย์
 
วัยทารก
วัยทารกวัยทารก
วัยทารก
 
วัยก่อนเรียน
วัยก่อนเรียนวัยก่อนเรียน
วัยก่อนเรียน
 
วัยรุ่น
วัยรุ่นวัยรุ่น
วัยรุ่น
 
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
ใบความรู้+การเจริญเติบโตของมนุษย์จากแรกเกิดถึงวัยผู้ใหญ่+ป.6+291+dltvscip6+54...
 
วัยรุ่นรายงาน
วัยรุ่นรายงานวัยรุ่นรายงาน
วัยรุ่นรายงาน
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
ใบงานที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของช่วงวัย
ใบงานที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของช่วงวัยใบงานที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของช่วงวัย
ใบงานที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของช่วงวัย
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 

Plus de tassanee chaicharoen

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 

Plus de tassanee chaicharoen (20)

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
 

วัยผู้ใหญ่

  • 1. วัยผู้ใหญ่ คือ วัยตั้งแต่ช่วงอายุ 21 ถึง 60 ปี ซึ่งแบ่งช่วงระยะพัฒนาการวัยผู้ใหญ่ออกเป็น วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (Early adulthood) ตั้งแต่ 20 ถึง 40 ปี วัยกลางคน (Middle age หรือ Middle adulthood) คือช่วงอายุ 40 – 60 ปี พัฒนาการของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น(20-40 ปี) พัฒนาการ การเปลี่ยนแปลง ด้านร่างกาย มีการพัฒนาทางร่างกายอย่างเต็มที่ทั้งเพศหญิงและเพศ ชาย ร่างกายสมบูรณ์ มีการพัฒนาความสูงมาจากวัยรุ่นและ จะมีความสูงที่สุดในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นนี้ รวมทั้งกล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อไขมัน มีการพัฒนาอย่างเต็มที่เช่นกัน เมื่อเพศ ชายอายุประมาณ 20 ปี ไหล่จะกว้าง มีการเพิ่มขนาดของต้น แขนและมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมากขึ้น ในเพศหญิง เต้านมและสะโพกมีการเจริญเต็มที่ ในวัยนี้ร่างกายจะมีพลัง คล่องแคล่วว่องไว การรับรู้ต่าง ๆ จะมีความสมบูรณ์เต็มที่ เช่น สายตา การได้ยิน ความสามารถในการดมกลิ่น การลิ้ม รส ด้านจิตใจและอารมณ์ มีการควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น มีความมั่นคงทางจิตใจ ดีกว่าวัยรุ่น คํานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น รู้สึกยอมรับผู้อื่นได้ ดีขึ้น มีพัฒนาการด้านอารมณ์รักมีความรู้สึกปรารถนาที่จะ ใช้ชีวิตคู่ด้วยกัน มีการใช้กลไกทางจิตชนิดฝันกลางวัน (Fantacy) การเก็บกด (Impulsiveness) น้อยลง แต่จะใช้การ ตอบสนองด้วยเหตุผลทั้งกับตนเองและผู้อื่นมากขึ้น
  • 2. พัฒนาการ การเปลี่ยนแปลง ด้านสังคม สังคมของบุคคลวัยนี้คือ เพื่อนรัก คู่ครอง บุคคลจะพัฒนาความ รัก ความผูกพัน แสวงหามิตรภาพที่สนิทสนม หากสามารถสร้าง มิตรภาพได้มั่นคง จะเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างไว้เนื้อเชื่อ ใจและนับถือซึ่งกันและกัน ตรงข้ามกับผู้ใหญ่ที่ไม่สามารถสร้างความ สนิทสนมจริงจังกับผู้หนึ่งผู้ใดได้จะมีความรู้สึกอ้างว้างเดียวดาย (isolation) หรือเป็นคนที่หลงรักเฉพาะตนเอง (narcissism) วัยนี้จะให้ความสําคัญกับกลุ่มเพื่อนร่วมวัยลดลง จํานวนสมาชิก ในกลุ่มเพื่อนจะลดลง แต่สัมพันธภาพในเพื่อนที่ใกล้ชิดหรือเพื่อนรัก ยังคงอยู่และจะมีความผูกพันกันมากกว่าความผูกพันในลักษณะของ คู่รักและพบว่ามักเป็นในเพื่อนเพศเดียวกัน การสัมพันธ์กับบุคคลใน ครอบครัวจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากเป็นวัยที่เริ่มใช้ชีวิตครอบครัวกับคู่ของ ตนเอง และเกิดการปรับตัวกับบทบาทใหม่ ด้านสติปัญญา วัยผู้ใหญ่ตอนต้น มีความสามารถทางสติปัญญาสมบูรณ์ที่สุดคือ คุณภาพของความคิดจะเป็นระบบ มีความสัมพันธ์กันและมีความคิด รูปแบบนามธรรม ผู้ใหญ่จะมีความคิดเปิดกว้าง ยืดหยุ่นมากขึ้น และ รู้จักจดจําประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้ ทําให้สามารถปรับตัวเข้ากับ สถานการณ์ต่างๆ ได้ดี นอกจากจะเป็นความคิดในการแก้ไขปัญหา ดังกล่าวแล้ว ยังมีลักษณะของความคิดสร้างสรรค์และค้นหาปัญหา ด้วย ปัญหาที่พบในวัยนี้คือปัญหาสุขภาพ เนื่องมาจากลักษณะการ ดํารงชีวิต เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเหล้า การรับประทานอาหาร ไขมันสูง
  • 3. พัฒนาการของวัยกลางคน (40-60 ปี) พัฒนาการ การเปลี่ยนแปลง ด้านร่างกาย ในวัยกลางคนนี้ ทั้งเพศชายและเพศหญิงร่างกายจะเริ่มมี ความเสื่อมถอยในเกือบทุกระบบของร่างกาย ผิวหนังจะเริ่ม เหี่ยวย่น หยาบ ไม่เต่งตึง ผมเริ่มร่วงและมีสีขาว นํ้าหนักตัว เพิ่มขึ้นจากการสะสมไขมันใต้ผิวหนังมากขึ้น ระบบสัมผัส ได้แก่ ความสามารถในการมองเห็นเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ สายตาจะยาวขึ้น บางคนจะมีอาการหูตึงเนื่องจากความเสื่อม ของเซลล์ การลิ้มรสและการได้กลิ่นเปลี่ยนแปลงไป อวัยวะ ภายในร่างกาย เช่น ผนังเส้นเลือด หัวใจ ปอด ไต และสมอง มี ความเสื่อมลงเช่นกัน ด้านจิตใจและอารมณ์ ในบุคคลที่ประสบกับความสําเร็จในชีวิตการทํางานจะมี อารมณ์มั่นคง รู้จักการให้อภัย ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน มี ความพึงพอใจในชีวิตที่ผ่านมา ลักษณะบุคลิกภาพค่อนข้างคงที่ บางคนจะมีอารมณ์เศร้าจากการที่บุตรเริ่มมีครอบครัวใหม่ การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก เช่น บิดา มารดา หรือคู่สมรส หรือผิดหวังจากบุตรเป็นต้น
  • 4. พัฒนาการ การเปลี่ยนแปลง ด้านสังคม บุคคลที่มีพัฒนาการอย่างสมบูรณ์ในวัยนี้ จะแบ่งปัน เผื่อแผ่เอื้อ อาทรต่อบุคคลอื่นๆ โดยเฉพาะกับบุคคลที่เยาว์วัยกว่า สร้างสรรค์ ผลงานใหม่ ก่อให้เกิดความปลาบปลื้มใจ เห็นคุณค่าของตนเอง ตรงข้าม กับวัยกลางคน ที่พะวงแต่ตน จะเห็นแก่ตัว ไม่แบ่งปัน เผื่อแผ่ต่อบุคคล อื่น ชอบแสดงอํานาจ หรือเป็นคนเฉื่อยชา ขาดความกระตือรือร้น งาน สังคมของบุคคลในวัยกลางคนส่วนใหญ่คือที่ทํางานและบ้าน กลุ่ม เพื่อนที่สําคัญ ได้แก่ เพื่อนร่วมงาน หรือเพื่อนบ้านใกล้เคียง ความสัมพันธ์ในครอบครัวเป็นในลักษณะเฝ้าดูความสําเร็จในการศึกษา และความก้าวหน้าในหน้าที่การทํางานของบุตร ในบุคคลที่เป็นโสด กลุ่มเพื่อนที่สําคัญคือเพื่อนสนิทที่ผูกพันตั้งแต่ในวัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่ ตอนต้น ระยะปลายของวัยนี้ ส่วนใหญ่เข้าสู่วัยใกล้เกษียณอายุการ ทํางาน บางคนสามารถปรับตัวได้ดี บางคนไม่สามารถปรับตัวได้รู้สึก ท้อแท้รู้สึกตัวเองด้อยคุณค่า อาจมีอาการซึมเศร้า ด้านสติปัญญา ในระยะวัยกลางคนนี้จะมีพัฒนาการทางสติปัญญาใกล้เคียงกับใน วัยผู้ใหญ่ตอนต้นมีความคิดเป็นเหตุผล รู้จักคิดแบบประสานข้อขัดแย้ง และความแตกต่าง จะสามารถรับรู้สิ่งที่เป็นข้อขัดแย้งต่าง ๆ ได้อย่าง รวดเร็ว มีความอดทนและมีความสามารถในการจัดการกับข้อขัดแย้ง นั้น ๆ ดังนั้นจึงมีความเข้าใจเรื่องการเมือง เล่นการเมือง รู้จักจัดการกับ ระบบระเบียบของสังคมและรู้จักจัดการกับเรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลอย่างมีวุฒิภาวะ