Publicité

ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด

รับราชการครู à สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต 1
8 May 2010
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
Publicité
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
Publicité
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
Publicité
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
Prochain SlideShare
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
Chargement dans ... 3
1 sur 17
Publicité

Contenu connexe

Présentations pour vous(20)

Similaire à ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด(20)

Publicité

Plus de tassanee chaicharoen(20)

Publicité

ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด

  1. ชุดสงเสริมความรูดวยตนเอง วิชาสุขศึกษา ( พ 33101 ) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เรื่อง อารมณกบความเครียด ั จัดทําโดย นางทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
  2. คํานํา การศึกษาเรื่องอารมณใหเขาใจกอใหเกิดความสามารถในการยอมรับและแกไข ขอบกพรองทั้งของตนเองและผูที่อยูรอบขางใหเปนไปในทางที่ดี ในวิชาสุขศึกษานั้นเปน พื้นฐานในการปฏิบัติตนเพื่อใหเปนผูที่มีอารมณที่แจมใส หลีกเลี่ยงความเครียดและ สามารถนําไปใชใหเกิกประโยชนตอชีวิตประจําวันได รวมทังสามารถแนะนําใหผูอื่นหรือ ้ บุคคลในครอบครัวไดรูจักวิธีการผอนคลายอารมณที่เกิดจากความเครียด อันเนื่องมาจากการ ทํางาน การเรียนหนังสือ หรือความวิตกกังวลมากเกินไป ผูจัดทําจึงไดทําชุดฝกซอมเสริม ดวยตนเองเรื่อง อารมณกับความเครียดในระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 2 ขึ้น เพื่อใหผูเรียนไดมี ้ ทักษะในการนําความรูที่ไดรับและการฝกปฏิบัติไปใชใหเกิดความชํานาญไดดียิ่งขึ้น ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารเลมนี้คงจะอํานวยประโยชนกับผูอานไดเปน อยางดี และหากมีขอบกพรองประการใดผูจัดทําขอรับคําเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงตอไป ผูจัดทําขอขอบพระคุณผูมีสวนเกี่ยวของกับการจัดทําเอกสารนี้มา ณ โอกาสนี้ นางทัศนีย ไชยเจริญ ผูจัดทํา
  3. สารบัญ เรื่อง หนา วัตถุประสงค ก คําแนะนําการใชชุดสงเสริมความรูดวยตนเอง ข แบบฝกที่ 1 มารูจักอารมณกันเถอะ 1 แบบฝกที่ 2 ภัยแหงความเครียด 3 แบบฝกที่ 3 ผักผอนหยอนใจ 5 เฉลยแบบฝก 1 – 3 7 สรุปผลการปฏิบัติแบบฝก 8 แบบทดสอบกอนและหลังเรียน 9 เฉลยแบบทดสอบ 11 บรรณานุกรม
  4. วัตถุประสงค 1. รูความหมายของอารมณไดอยางถูกตอง 2. ตระหนักถึงโทษที่เกิดจากความเครียดไดเปนอยางดี 3. ปฏิบัติตนในการผอนคลายความเครียดไดอยางเหมาะสม
  5. คําแนะนําสําหรับการใชชดฝกสงเสิมความรูดวยตนเอง ุ 1. นักเรียนอานคําชี้แจงใหเขาใจ 2. ศึกษาเนื้อหาความรู 3. ทํากิจกรรมในแบบฝกใหครบ 4. ทบทวนและสรุปกิจกรรม 5. ทําแบบทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนเสริมดวยตนเอง
  6. 1 แบบฝกที่ 1 มารูจักอารมณกันเถอะ คําชี้แจง นักเรียนอาน/ศึกษาเนื้อหาเรื่องอารมณพรอมทั้งตอบคําถาม ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,, ความหมายของอารมณ อารมณ หมายถึง สภาพจิตใจที่เปลี่ยนแปลง ไปเมื่อมีสิ่งตางๆมากระทบจิตใจ จะกอใหเกิด ความรูสึกตางๆ อารมณ มี 2 ประเภท 1. อารมณที่มีความสุข เชน รัก ดีใจ เปนตน 2. อารมณที่มีความทุกข เชน กลัว เศรา เปนตน อารมณสามารถทําใหเกิดความรูสึกตาง ๆ ไดดังนี้ 1. ความกลัว เกิดจากความตื่นเตนภายในและตองการที่จะหลบใหพน  2. ความกังวลใจ เกิดจากความนึกคิดไวลวงหนาในทางที่ไมคอยดีนัก 3. ความโกรธ เกิดจากไมไดดั่งใจ ไมสมปารถนา 4. ความรัก เปนอารมณที่มีคุณคาเกิดจากความอบอุนใจ 5. ความอิจฉาริษยา เปนอารมณวูบหนึ่งที่ผสมกันระหวาง ความโกรธ และ ความกลัว 6. ความอยากรูอยากเห็น มีในตัวทุกคน ทั้งในทางที่ดและไมดี ี
  7. 2 สิ่งที่มีอิทธิพลตอจิตใจ ตัวคน สิ่งแวดลอม บุคลิกภาพดี จะเปนผูมีจิตใจดี และอารมณ ครอบครัว ทําใหเกิดความอบอุนและ มั่นคง ความสุขในชีวต ถึงแมจะไมรวยลนฟาก็ตาม ิ การเลี้ยงดูดี มีครอบครัวอบอุนจะเปนเด็กที่ เพื่อน กอใหเกิดความรูสึกเปนกลุมเดียวกัน เจริญเติบโตอยางมีความสุข มีการยอมรับกัน สังคม กอใหเกิดความคิด ความกลา แสดงออก ลองชวยบอกหนอยวา อารมณ หมายถึง……………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… นักเรียน ระบายสีขาว หนาขอความที่กอใหเกิดความสุข และระบายสีดํา หรือ สีน้ําเงิน หนาขอความของอารมณทกอใหเกิดความทุกข ี่ เศราหมอง ไมหยุดนิ่ง ความสงบ ไมสงบ ฟุงซาน รัก เบิกบาน กลัว กังวล โกรธ ยินดี อิจฉาริษยา ดีใจ เสียใจ (เฉลยหนา…7….)
  8. 3 แบบฝกที่ 2 ภัยแหงความเครียด คําชี้แจง นักเรียนศึกษาขอมูลแลวนําขอความรูจากขอมูลแสดงความคิดเห็นจากคําถามใหถูกตอง ความเครียด คือความรูสึกกดดัน ไมสบายใจ เปน ความวุนวายทางจิตใจ ความอึดอัด ความกังวล โกรธ แคน ไมพอใจ ผิดหวัง ซึ่งมนุษยมกพบเสมออยูใน ั ชีวิตประจําวัน เราจึงควรหาทางแกเพื่อใหสามารถ ปรับตนเองใหเขากับสิ่งแวดลอม และสังคมรอบตัวได อยางมีความสุข สาเหตุความเครียด 1. ความเครียดจากรางกาย เชน ทํางานหนักเกินไป สุขภาพออนแอ ความ พิการ หรือ บุคลิกภาพของแตละบุคคล เชน ชอบแขงขัน เปนคน กาวราว ขาดความอดทน 2. ความเครียดจากจิตใจ เชน ความวิตกกังวล ความหวาดระแวง การ ตัดสินใจ การตองการการยอมรับ สูญเสียของมีคา อยากมีชื่อเสียง 3. ความเครียดจากสิ่งแวดลอม เชน เสียงดัง น้ําทวม ไฟไหม เพื่อนฝูง 4. งานในหนาทีที่ตองรับผิดชอบ สภาพแวดลอมในการทํางาน ปริมาณ ่ งานที่ตองรับผิดชอบ การเรียน
  9. 4 ผลกระทบความเครียด ทางดานรางกาย จะแสดงออกคือ ปวดศรีษะขางเดียว บอยๆ หายใจไมออก หายใจถี่ เหนื่อยงาย ทองเสีย ทองผูก นอนไมหลับ เปนสม คลื่นไส เบื่ออาหาร ทางดานจิตใจ จะแสดงออก คือ หงุดหงิด รําคาญ เบื่อหนาย ทอถอย เครงเครียด เก็บกด อดทนตอ ปญหานอยลง รูสึกวาตนเองไรคุณคา ขาดสมาธิ แยกตัวจากสังคม ลังเลในการตัดสินใจ ไรอารมณขัน นักเรียนชวยแสดงความคิดเห็น สภาพแวดลอม และงานในหนาที่ที่ตองรับผิดชอบ เปนสาเหตุใหเกิดความเครียดในวันรุนได อยางไร ยกตัวอยางมาพอเขาใจ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ความเครียดมีผลตอการดําเนินชีวิตของนักเรียนและครอบครัวอยางไร ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ความเครียดหากเกิดขึนบอยๆจะเกิดผลเสียตอสุขภาพอยางไร ้ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… เมื่อตนเองเกิดความเครียดจะมีอาการเชนใด คิดวามีผลเสียกับบุคคลรอบขางหรือไม อยางไร ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………
  10. 5 แบบฝกที่ 3 พักผอนหยอนใจ คําชี้แจง นักเรียนศึกษาหลักการปองกันและจัดการอารมณความเครียดเพื่อเปนแนวทางใน การปฏิบัติตนไดอยางถูกตอง การปองกันความเครียด 1. รักษาสุขภาพใหสมบูรณแข็งแรงอยูเสมอ 2. นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ เพื่อใหรางกายสดชื่น 3. ควรหลีกเลี่ยงการเขาไปอยูในสภาวะแวดลอมที่ตื่นเตน เชน ความกดดันจากการ แขงขัน 4. รูจักมองโลกในแงดี อยาคิดในดานราย ทั้งตนเองและผูอน ื่ 5. ฝกตนเองใหเปนคนเขมแข็ง อดทน ทํางานอยางมีแบบแผน เปาหมาย ทํางานดวย ความสนุก รูจกแบงเวลา ไมเครงเครียดกับเรื่องใดนานเกินไป ั เมื่อมีความเครียดควร จัดการกับความเครียด เราสามารถทําไดหลายวิธี เชน การฝกสมาธิ การฝกหายใจ การเลน กีฬา ออกกําลังกาย การรวมกิจกรรมนันทนาการ การฟงเพลง การรองเพลง การอาน หนังสือ การฝกโยคะ การรดน้ําตนไม การเลี้ยงสัตว การไปเที่ยวพักผอน การนอนหลับ การจัดเวลาในการทํางาน พูดคุยปรึกษาคนที่ไวใจ หลีกเลี่ยงเหตุการณที่ทําใหระงับอารมณ ไมอยู เปนตน ซึ่งกอใหเกิดผลดีกับตนเองและบุคคลรอบขาง
  11. 6 คําถาม หากนักเรียนมีความเครียดเกิดขึ้น นักเรียนจะมี วิธีการจัดการกับความเครียดอยางไร จึงจะเหมาะสม คําตอบ ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………
  12. 7 เฉลยแบบฝก คําชี้แจง นักเรียนเฉลยแบบฝกที่ 1 ถึง แบบฝกที่ 3 ใหถูกตอง เฉลยแบบฝกที่ 1 ลองชวยบอกหนอยวา อารมณ หมายถึง สภาพจิตใจที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีสิ่งตางๆมา กระทบจิตใจ จะกอใหเกิดความรูสึกตางๆ นักเรียน ระบายสีขาว หนาขอความที่กอใหเกิดความสุข และระบายสีดํา หรือ สีน้ําเงิน หนาขอความของอารมณทกอใหเกิดความทุกข ี่ เศราหมอง ไมหยุดนิ่ง ความสงบ ไมสงบ ฟุงซาน รัก เบิกบาน กลัว กังวล โกรธ ยินดี อิจฉาริษยา ดีใจ เสียใจ เฉลยแบบฝกที่ 2 – 3 *หมายเหตุ* คําตอบอยูในดุลพินิจครูผูสอน
  13. 8 สรุปผลการปฏิบัติ คําชี้แจง สรุปคะแนนจากการปฏิบัติแบบฝก แบบฝก คะแนน แบบฝกที…1….. ่ เรื่อง…มารูจักอารมณกนเถอะ.. ั แบบฝกที…2….. ่ เรื่อง…ภัยแหงความเครียด…… แบบฝกที…3….. ่ เรื่อง…พักผอนหยอนใจ… รวมคะแนน รอยละ สรุปผลการประเมิน ผาน ไมผาน ผูสอน…………………..
  14. 9 สอบประเมินผล เรื่อง อารมณกับความเครียด สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต คําชี้แจง ใหนกเรียนเลือกตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว ั 1. ขอใด ไมได หมายถึง อารมณ 5. วัยรุนมักมีปญหาดานอารมณกับใครมากที่สุด ก. ขาวดุ ก. ครู ข. ดํายิ้ม ข. พอแม ค. แดงเดิน ค. เพื่อน ง. เขียวทอแท ง. ตัววัยรุนเอง 6. ใครสามารถหลีกเลี่ยงความรุนแรงไดดที่สุดเมื่อ ี 2.เมื่อมีอารมณโกรธ วันรุนจะขาดอะไรมากที่สุด  มีอารมณโกรธ ก. การควบคุมตนเอง ก. แดงทําความสะอาดบาน ข. ความมีเหตุผล ข. ดําไปดื่มสุรากับเพื่อน ค. ความระมัดระวัง ค. เขียวไปซื้อของ ง. ความละเอียดรอบคอบ ง. ขาวไปแขงกีฬากับเพื่อน 3. ใครไดรับผลกระทบทางอารมณมากที่สด ุ 7. ทําไมจึงไมควร แสดงอารมณตอเรื่องที่ไมรุนแรง ก. ขาวถูกแมตําหนิบอย ก. ใหสะสมเอาไวกอน ข. ดีชอบทะเลาะกับเพื่อน ข. สามารถตกลงกันได ค. แดงถูเพื่อนแกลงเสมอ ค. อาจเปนเรื่องใหญได ง. ดํามีความเห็นไมตรงกับครู ง. อาจมีคนไมเห็นดวย 4. ขอใดไมใช ลักษณะอารมณของวัยรุน 8. บุคคลในขอใดกําลังมีความวิตกกังวล ก. รุนแรง ก. แดงกลัววาจะไดรางวัลที่ 1 ข. สับสน ข. ดํากลัววาจะมีคนมารัก ค. ออนไหว ค. เขียวกลัววาจะถูกไลออกจากงาน ง. มั่นคง ง. ขาวคาดวาจะสอบไดคะแนนสูง
  15. 10 9. ขอใดกลาวถึงความโกรธไดถูกตอง 10. เมื่อเกิดความเครียด ขอใดตอไปนี้ ควรกระทํา ก. คนนิ่งเงียบมักไมโกรธ มากที่สุด ข. คนโกรธไมมีใครอยากคบ ก. ฟงเพลง รองเพลง ค. โกรธเมื่อไดสิ่งที่ตองการมากไป ข. ระบายใหเพื่อนทุกๆคนฟง ง. คนโกรธเปนอันตรายตอผูอื่นอยูเสมอ ค. ตะโกนใสผูอื่น ง. ดื่มสุราแกกลุม รวมคะแนน = ……….... รอยละ…………. ผาน ไมผาน เกณฑตัดสินการสอบผานรอยละ 80
  16. 11 เฉลยสอบประเมินผล เรื่อง อารมณกับความเครียด สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวัดพวงนิมิต ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,, 1. ค 2. ข 3. ก 4. ง 5. ข 6. ก 7. ข 8. ค 9. ง 10. ก ,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
  17. บรรณานุกรม นพ.ธงชัย ทวิชาชาติ , หนังสือเรียนสมบูรณแบบ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1(พ011) บริษัทสํานักพิมพ วัฒนาพานิช 2537 ดร.สมหมาย แตงสกุล , หนังสือเรียนสาระการเรียนรูสุขศึกษาพลศึกษาชวงชั้นที่ 3 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 บริษัทสํานักพิมพ วัฒนาพานิช 2546 ดร.พรสุข หุนนิรันดร , หนังสือเรียนสาระการเรียนรูสุขศึกษาพลศึกษาชวงชั้นที่ 3 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 อักษรเจริญทัศน 2546 สุปราถนา ยุกตะนันท , หนังสือคูมือครู และแผนการจัดการเรียนรูสขศึกษาม.1 ุ อักษรเจริญทัศน 2546
Publicité