SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  311
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
[object Object],[object Object]
รูปที่  1  แสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ
2.   ความสำคัญของข้อมูลและสารสนเทศ     ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึงมีการนำเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการดำเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ
การแบ่งประเภทของข้อมูล อาจแบ่งได้หลายวิธีแล้วแต่จุดประสงค์ของการแบ่งนั้น ถ้าแบ่งตามการเก็บรวบรวมข้อมูล อาจแบ่งประเภทของข้อมูลเป็น 2  ประเภท  ข้อมูลปฐมภูมิ    กับ   ข้อมูลทุติยภูมิ  3. ประเภทของข้อมูลและสารสนเทศ
  3.1   ข้อมูลปฐมภูมิ  คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง อาจได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การจดบันทึก ตลอดจนได้มาจากเครื่องมือวัดต่าง ๆ ข้อมูลปฐมภูมิจึงเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ได้มาจากจุดกำเนิดของข้อมูล   
3.2  ข้อมูลทุติยภูมิ  หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ แล้วบางครั้งอาจมีการประมวลผลเป็นสารสนเทศไปแล้ว ผู้ใช้ข้อมูลไม่ได้ไปสำรวจเอง ตัวอย่างเช่นข้อมูลสถิติ ต่าง ๆ ที่มีผู้ทำไว้อาจเป็นหน่วยราชการ
4.   ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร   เทคโนโลยีสารสนเทศ  ( Information Technology : IT)  หมายถึง การนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีด้านการสื่อสารโทรคมนาคมมาช่วยในการรวบรวม ประมวลผล สรุป จัดเก็บ และเผยแพร่ สารสนเทศที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร ภาพ และเสียง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
5.  ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประการแรก  การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย  Communications media,  การสื่อสารโทรคมนาคม  ( Telecoms),  และเทคโนโลยีสารสนเทศ  ( IT)
ประการที่สอง   เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์ ,  อินเทอร์เน็ต ,  อีเมล์ ทำให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
ประการที่สาม  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง   ประการที่สี่  เครือข่ายสื่อสาร  ( Communication networks)  ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำนวนการใช้เครือข่าย จำนวนผู้เชื่อมต่อ และจำนวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น
ประการที่ห้า  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้   ICT  มีราคาถูกลงมาก
6. ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. เทคโนโลยีด้านการรับข้อมูล  (Sensing Technology)  เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้เราสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่อยู่รอบตัวเราแล้วเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องแสกนภาพ (image scanners)  เครื่องอ่านรหัสแถบ (bar code scanners)  และ อุปกรณ์รับสัญญาณ (Sensors)  เป็นต้น   
2.  เทคโนโลยีการสื่อสาร (CommunicationTechnology)  เช่น โทรสาร โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่ายท้องถิ่น  (LAN)     3.  เทคโนโลยีวิเคราะห์  (Analyzing Technology)  ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ ต่าง ๆ ทั้งส่วนที่เป็น  Hardware  และ  Software  4.    เทคโนโลยีการแสดงผล  (Display Technology)
7. วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปัจจุบันนี้เราสามารถติดต่อสื่อสารกับคนทั่วโลกได้สะดวกมาก แต่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ การสื่อสารได้มีวิวัฒนาการมาหลายยุคหลายสมัย ผู้เขียนจะกล่าวถึงวิวัฒนาการของการสื่อสารตั้งแต่ยุคแรกของมนุษย์ดังนี้
เชื่อกันว่าการสื่อสารระยะไกลของ มนุษย์ในยุคแรกๆ น่าจะเป็นการการตีเกราะ เคาะไม้ การส่งเสียงต่อเป็นทอดๆ และการส่งสัญญาณควัน มนุษย์ในยุคแรกๆ
รูปที่  (1)  การสื่อสารด้วยการตีกลองให้สัญญาณ
รูปที่  (2)  การส่งเสียงต่อเป็นทอดๆ
รูปที่  (3)    การสื่อสารด้วยสัญญาณควัน  
รูปที่  (4)    การสื่อสารกันโดยการเขียนข้อความ    ในกระดาษแล้วผูกติดกับขานกพิราบ  ต่อมาเมื่อมนุษย์รู้จักวิธีการเขียนหนังสือ ก็มีการคิดวิธีการสื่อสารกัน แบบใหม่โดยการฝากข้อความไปกับนกพิลาบ ดังรูปที่  (4)  หรือการส่งข้อความไปกับม้าเร็ว
รูปที่  (5)  การสื่อสารโดยใช้ม้าเร็ว ถือข้อความไปส่งตามหัวเมืองต่างๆ  
รหัสมอร์ส แซมมวลมอร์ส นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน เป็นคนแรกที่คิดวิธีการสื่อสารสมัยใหม่ ( ในตอนนั้น ) โดยการส่งสัญญาณไปตามสาย  มอร์สได้กำหนดรหัสขึ้นมาใช้ในการสื่อสาร  ด้วยการส่งกระแสไฟฟ้าให้ไหลไปตามสายไฟฟ้า  และกำหนดให้มีจังหวะของการไหลยาวบ้างสั้นบ้างเป็นจังหวะ    แล้วนัดหมายกับฝ่ายรับปลายทางว่ารหัสแต่ละตัวหมายถึงตัวอักษรตัวใดรหัสที่ใช้ในการส่งโทรเลขเรียกว่า รหัสมอร์ส
รูปที่  (6)  รหัสมอร์สภาษาไทย
ส่งโทรเลข        ในการส่งโทรเลขจะต้องมีคนเคาะคันเคาะเพื่อส่งกระแสไฟฟ้าในรูปของสัญญาณสั้น - ยาวสลับกันไปสัญญาณนี้จะวิ่งไปตามสายโทรเลข คันเคาะสัญญาณโทรเลขแบบมอร์ส
เครื่องโทรพิมพ์เพื่อทำหน้าที่ในการส่งและรับโทรเลขแทนคนเครื่องโทรพิมพ์นี้ก็ใช้หลักการทำงานเช่นเดียวกับโทรเลขแต่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจำรหัสตัวอักษรต่างๆ ในการส่งโทรเลขด้วยเครื่องโทรพิมพ์ ผู้ส่งก็เพียงแต่พิมพ์ตัวอักษรที่ต้องการส่งลงไปในเครื่องโทรพิมพ์ เครื่องโทรพิมพ์ก็จะเจาะรูบนแถบกระดาษให้เป็นรหัสมอร์ส เครื่องโทรพิมพ์
เครื่องโทรพิมพ์สำหรับส่งโทรเลข
โทรศัพท์          ต่อมาเมื่อนักวิทยาศาสตร์สามารถแปลงเสียงพูดให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าได้  อเล็กซานเดอร์  เกรแฮม  เบลล์  ( Alexander  Graham Bel)   จึงได้ประดิษฐ์โทรศัพท์ขึ้นมา  และโทรศัพท์จะมีการเปลี่ยนสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปตามสายโทรศัพท์    แล้วโทรศัพท์ปลายทางจะทำหน้าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้านั้นกลับมาเป็นสัญญาณเสียงเหมือนเดิม   และเรียกการสื่อสารในลักษณะนี้ว่าโทรศัพท์แบบใช้สายหรือโทรศัพท์บ้าน 
รูปโทรศัพท์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
การประชุมทางไกล       การสื่อสารในปัจจุบันช่วยให้การดำเนินชีวิตคนเรามีความสะดวก สบายมากขึ้น ( ไม่ได้หมายความว่าคนในปัจจุบันมีความสุขมากขึ้น )  ปัจจุบันผู้บริหารหน่วยงานต่างๆที่มีเครือข่ายอยู่ทั่วประเทศสามารถประชุมกันได้ โดยไม่ต้องมาเข้าห้องประชุมเดียวกัน
การประชุมที่ใช้ข้อมูลร่วมกันบนเครือข่าย
การสื่อสารผ่านทางอินเตอร์เน็ต          เมื่อการสื่อสารด้วยโทรศัพท์มาถึงจุดที่ค่อนข้างจะอิ่มตัว ก็ได้มีเทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้นมาคือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตในปัจจุบันเราก็สามารถพูดคุยกับเพื่อนได้ทั่วโลกโดยใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและมีค่าใช้จ่ายถูกกว่าการใช้โทรศัพท์  นอกจากนี้ก็สามารถใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในการจัดการเรียนการสอนผ่านทางอินเตอร์เน็ตได้  ปัจจุบันมีหลายมหาวิทยาลัย จัดการเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต 
การจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ข้อมูล ข่าวสารเป็นหัวใจหลักของการดำเนินงานในทุกๆ องค์กร ไม่ว่าจะเป็นองค์กรที่ดำเนินธุรกิจ การศึกษา หรือบริหารประชาชน ซึ่งบุคลากรของแต่ละองค์กรก็มีความต้องการใช้สารสนเทศที่แตกต่างกัน ได้แก่
1. ผู้บริหารระดับสูง  ( Top Manager)   เช่น  ปลัดกระทรวง อธิบดี ประธานบริษัท มีหน้าที่กำหนดทิศทาง วิสัยทัศน์ นโยบายขององค์กร รวมทั้งการวางแผนในระยะยาว มักมีความต้องการสารสนเทศทั้งภายในและภายนอกองค์กรโดยสรุปของสภาพในอดีต ปัจจุบัน ตลอดจนแนวโน้มในอนาคต
2. ผู้บริหารระดับกลาง  ( Middle Manager )   เช่น ผู้อำนวยการ อธิการบดี มีหน้าที่รับนโยบายจากผู้บริหารระดับสูงมาวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ มักมีความต้องการสารสนเทศที่ค่อนข้างละเอียดของสภาพในอดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
3. ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ  ( Operation Manager )   เช่น  เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆ มีหน้าที่ดูแลควบคุมด้านการปฏิบัติงาน มักมีความต้องการสารสนเทศเฉพาะด้านที่ทำงานอยู่ในปัจจุบัน
- การใช้สารสนเทศของผู้บริหารในระดับต่างๆ ก็เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของการตัดสินใจออกได้  3  ประเภท คือ
-      การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง  ( Structure Decision ) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับงานที่ทำเป็นประจำ  ( Routine)  มักมีหลักเกณฑ์และขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาที่กำหนดขึ้นอย่างชัดเจน
[object Object],[object Object]
-    การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง  ( Semi-structured Decision)   เป็นการตัดสินใจที่อยู่ระหว่างการตัดสินใจแบบที่  1  และแบบที่  2
4. ระดับผู้บริหารในองค์กร   (  Manager Level )  แบ่งได้  3  ระดับ ดังนี้ 1.        ผู้บริหารระดับสูง  ( Top Manager)   ดูแลกำหนดทิศทางขององค์กร ด้านวิสัยทัศน์ นโยบาย เป็นการวางแผนในระยะยาว จะใช้การตัดสินใจในระดับกลยุทธ์  ( Strategic planning ) 
2.    ผู้บริหารระดับกลาง  (  Middle Manager ) รับนโยบายจากผู้บริหารระดับสูงมาวางแผน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ จะใช้การตัดสินใจในระดับยุทธวิธี  ( Practical planning ) 
3.   ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ  ( Operational Manager )   รับผิดชอบดูแลควบคุมด้านการปฏิบัติงานรายวัน โดยรับแผนปฏิบัติมาจากผู้บริหารระดับกลาง จะใช้การตัดสินใจระดับปฏิบัติการ  ( Operational planning )     
www.drkanchit.com/presentations/manange_tech.pdf  http://dusithost.dusit.ac.th/~librarian/it107/C1.html
1. ความหมายของข้อมูลคือข้อใด ค . ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือข้อมูลดิบ ก . อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวลผล เก็บรักษา ข . การประมวลผลที่เป็นสารสนเทศ
2 .  ความหมายของสารสนเทศคือข้อใด  ค . ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลหรือจัดระบบแล้ว ข . ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือข้อมูลดิบ ก . การประมวลผลที่เป็นสารสนเทศ
3. ข้อมูลปฐมภูมิคืออะไร ก .   ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง  ข .   ข้อมูลในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ค .   ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว
4.   เทคโนโลยีการสื่อสารมีอะไรบ้าง ก .   อุปกรณ์รับสัญญาณ ข .   โทรสาร โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่ายท้องถิ่น  ค .   เครื่องแสกนภาพ  เครื่องอ่านรหัสแถบ
ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไปข้อ 4
ลองใหม่ข้อ1 ลองใหม่ข้อ2 ลองใหม่ข้อ3 ลองใหม่ข้อ4
ลองใหม่ข้อ1 ลองใหม่ข้อ2 ลองใหม่ข้อ3 ลองใหม่ข้อ4
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้ดังนี้  เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล  เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น  6  รูปแบบ ดังนี้ต่อไปนี้ คือ
[object Object],[object Object]
3 .  เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ 4.  เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์ ,  จอภาพ ,  พลอตเตอร์ ฯลฯ
5 .  เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร ,  เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม 6.  เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ ,  วิทยุกระจายเสียง ,  โทรเลข ,  เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และไกล
   ความก้าวหน้าของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว เพื่อนสนองความต้องการด้านต่างๆ ของผู้ใช้ปัจจุบันซึ่งมีจำนวนผู้ใช้งานเทคโนโลยีสารสรเทศและการสื่อสารทั่วโลกประมาณพันล้านคน และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี ผู้ใช้สามารถใช้งานอุปกรณ์ดังกล่าวได้ทุกที่ ทุกเวลา จึงทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆทั้งที่้เกิดประโยชน์และโทษ เช่น
1.  ด้านสังคม  สภาพเสมือนจริง การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการทำงานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่รู้จักกีนว่า ไซเบอรฺ์สเปช  ( cyber space)  ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่นการพูด การชื้อสินค้า และบริการ การทำงานผ่านเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง  ( virtual)  เช่น เกมส์เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งทำให้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
2.  ด้านเศรษกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส่งผลให้เกิดสังคมโลกาภิวัตน์ ( globalization)  เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศนที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจ
3.  ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์ในด้านธรรมชาติและและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศ ร่วมกับการจัดเก็บรักษาข้อมูลระดับน้ำทะเล ความสูงของคลื่นจากระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และนำข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่ มีอุปกรณ์วิดีโอโปรเจคเตอร์  ( Video Projector) มีเครื่องคอมพิวเตอร์ มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รูปแบบของสื่อที่นำมาใช้ในด้านการเรียนการสอน ก็มีหลากหลาย
   คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนำเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอน ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่าบทเรียน  CAI ( Computer - Assisted Instruction )  การจัดโปรแกรมการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสื่อประสม ซึ่งหมายถึงนำเสนอได้ทั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบ กับบทเรียนได้และเข้าใจในเนื้อหาวิชาของบทเรียนนั้นๆ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน    
การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก เป็นการจัดการเรียน  อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกสถานที่และทุกเวลา การจัดการเรียนการสอนลักษณะนี้ มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ  ( Web-based Instruction)  การฝึกอบรมผ่านเว็บ  ( Web-based Trainning)  การเรียนการสอนผ่านเวิล์ดไวด์เว็บ  ( www-based Instruction)  การสอนผ่านสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์  ( e-learning)  เป็นต้น
การเรียนการสอนโดยใช้เว็บ
อิเล็กทรอนิกส์บุค  คือการเก็บข้อมูลจำนวนมากด้วยซีดีรอม หนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลตัวอักษรได้มากถึง  600  ล้านตัวอักษร ดังนั้นซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลหนังสือ หรือเอกสารได้มากกว่าหนังสือหนึ่งเล่ม และที่สำคัญคือการใช้กับคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถเรียกค้นหาข้อมูลภายในซีดีรอม ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ดัชนี สืบค้นหรือสารบัญเรื่อง ซีดีรอมจึงเป็นสื่อที่มีบทบาทต่อการศึกษาอย่างยิ่ง เพราะในอนาคตหนังสือต่าง ๆ จะจัดเก็บอยู่ในรูปซีดีรอม และเรียกอ่านด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่าอิเล็กทรอนิกส์บุค
อิเล็กทรอนิกส์บุค
ด้านการศึกษาวิดีโอเทคเลคอนเฟอเรนซ์  ทำให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ผ่านทางจอภาพ โทรทัศน์และเสียง นักเรียนในห้องเรียน ที่อยู่ห่างไกลสามารถเห็นภาพและเสียง ของผู้สอนสามารถเห็นอากับกิริยาของ ผู้สอน เห็นการเคลื่อนไหวและสีหน้าของผู้สอนในขณะเรียน คุณภาพของภาพและเสียง ขึ้นอยู่กับความเร็วของช่องทางการสื่อสาร ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างสองฝั่งที่มีการประชุมกัน
วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์
ระบบวิดีโอออนดีมานด์  ( Video on Demand)  เป็นระบบใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมนำมาใช้ ในหลายประเทศเช่น ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ระบบวิดีโอ ออนดีมานด์จึงเป็นระบบที่จะนำมาใช้ ในเรื่องการเรียนการสอนทางไกลได้ โดยไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน ในสิ่งที่ตนเองต้องการเรียนหรือสนใจได้
  ระบบวิดีโอออนดีมานด์
http://www.thaigoodview.com/node/80669?page=0%2C1 www.gits.kmutnb.ac.th/ethesis/data/4820581140_abstract.pdf
1. ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้กี่รูปแบบ 6 รูปแบบ  4   รูปแบบ  2  รูปแบบ
2.   เครื่องพิมพ์ ,  จอภาพ ,  พลอตเตอร์ เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการทำอะไร เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล  เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล  เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล
3. สื่อการเรียนการสอนแบบใดที่สามารถเห็นอากัปกิริยาของผู้สอน เห็นการเคลื่อนไหวและสีหน้าของผู้สอนในขณะเรียน  การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก สอนด้วยอุปกรณ์วิดีโอโปรเจคเตอร์  ด้วยวิดีโอเทคเลคอนเฟอเรนซ์
4.   ในด้านธรรมชาติและและสิ่งแวดล้อม  ได้นำการใช้เทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์อะไรบ้าง ทำระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศ  เกมส์เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง  คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนการสอน ผ่านเวิล์ดไวด์เว็บ
ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไป ข้อ 4 ไปบทที่3
 
 
 
การสื่อสารข้อมูล  ( Data Communications)  หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
วิธีการส่งข้อมูล  วิธีการส่งข้อมูล  จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้น กลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือ สิ่งรบกวน  ( Noise)  จากภายนอกทำให้ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิ่งมากก็อาจจะทำให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวน   เหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทำให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ               องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม     สามารถจำแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้
1.  ผู้ส่งข่าวสาร ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร  ( source)    อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ    ข้อมูล และเสียงเป็นต้น    ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ    ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ ก็นับว่าเป็นแหล่งกำเนิดข่าวสาร    จัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน
                            2.  ผู้รับข่าวสาร ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร  ( sink)  ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกำเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด   ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์    ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ    ถ้าผู้รับสารหรือ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสำเร็จ    กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง
3.  ช่องสัญญาณ    (channel)  ช่องสัญญาณในที่นี้อาจจะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่าน    อาจจะเป็นอากาศ    สายนำสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งของเหลว    เช่น    น้ำ    น้ำมัน เป็นต้น    เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง
4 .  การเข้ารหัส    (encoding)  การเข้ารหัสเป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย    จึงมีความจำเป็นต้องแปลง ความหมายนี้    การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง     ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้
          5.  การถอดรหัส   (decoding)  การถอดรหัส   หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร    โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน
6.  สัญญาณรบกวน   (noise)   สัญญาณรบกวน   เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ    มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร    ผู้รับข่าวสาร    และช่องสัญญาณ      แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด    ตำแหน่งที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ    เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร    ในทางปฎิบัติมักจะใช้ วงจรกรอง  ( filter)   กรองสัญญาณแต่ต้นทาง    เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ    เช่น    การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล    เป็นต้น
 
1. Data Communications  ตรงกับข้อใด การสื่อสารข้อมูล ผู้ส่งสาร  ช่องสัญญาณ
2.  ข้อใดเป็นวิธีการส่งข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ  ส่งข้อมูลก่อนแล้วจึงแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ การแปลงข้อมูลเป็นรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ
3 . การที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร   ข้อความนี้ตรงกับข้อใด ผู้รับข่าวสาร การเข้ารหัส การถอดรหัส
4.  ของเหลว    เช่น    น้ำ    น้ำมัน จัดว่าเป็นสายนำสัญญาณ หรือไม่ ไม่เป็น เป็น น่าจะเป็น
ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไปข้อ 4 ไปบทที่4
ลองใหม่ข้อ1 ลองใหม่ข้อ2 ลองใหม่ข้อ3 ลองใหม่ข้อ4
ลองใหม่ข้อ2 ลองใหม่ข้อ3 ลองใหม่ข้อ4 ลองใหม่ข้อ1
 
องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลสามารถแบ่งออกได้เป็น  5  ส่วนแสดงดังรูป
1.  ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล   (Sender)  เป็นแหล่งต้นทางของการสื่อสารโดยมีหน้าที่ในการให้กำเนิดข้อมูลหรือเตรียม ข้อมูล เช่น ผู้พูด คอมพิวเตอร์ต้นทาง เป็นต้น
2.  ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล   (Receiver)  เป็นแหล่งปลายทางของการสื่อสารหรือเป็นอุปกรณ์สำหรับข้อมูลที่จะนำ ข้อมูลนั้นไปใช้ดำเนินการต่อไป เช่น ผู้รับ คอมพิวเตอร์ปลายทาง เครื่องพิมพ์
                3.   ข่าวสาร   (Massage)  เป็นตัวเนื้อหาของข้อมูล ซึ่งมีได้หลายรูปแบบดังนี้ คือ
3.1  ข้อความ  ( Text)  ข้อมูลที่อยู่ในรูปอักขระ หรือเอกสาร เช่น ข้อความในหนังสือ เป็นต้น    3.2  เสียง  ( Voice)  ข้อมูลเสียงที่แหล่งต้นทางสร้างขึ้นมา ซึ่งอาจจะเป็นเสียงที่มนุษย์หรืออุปกรณ์บางอย่างเป็น ตัวสร้างก็ได้
3.3  รูปภาพ  ( Image)  เป็นข้อมูลที่ไม่เหมือนข้อความตัวอักษรที่เรียงติดต่อกัน แต่จะมีลักษณะเหมือนรูปภาพ เช่น การสแกนภาพเข้าคอมพิวเตอร์ เป็นต้น     3.4  สื่อผสม  ( Multimedia)  ข้อมูลที่ผสมลักษณะของทั้งรูปภาพ เสียงและข้อความเข้าด้วยกัน โดยสามารถ เคลื่อนไหวได้ เช่น การเรียนผ่านระบบ  VDO conference  เป็นต้น โดยข้อมูลจะมีขนาดใหญ่มาก
   4.  สื่อกลางหรือตัวกลางในการนำส่งข้อมูล   (Medium)  เป็นสื่อหรือช่องทางที่ใช้ในการนำข้อมูลจากต้นทางไปยัง ปลายทาง ซึ่งอาจเป็นตัวกลางที่มีสายสัญญาณ เช่น สายไฟ หรือตัวกลางที่ไม่ใช้สายสัญญาณ เช่น อากาศ เป็นต้น
   5.  โปรโตคอล   (Protocol)  เป็นข้อกำหนดหรือข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ มีความเข้าใจตรงกัน
ระบบเครือข่ายการสื่อสาร    ( Data CommunicationTopology) การจัดรูปโครงสร้างของอุปกรณ์สื่อสารเพื่อจัดตั้งเป็นระบบเครือข่ายสามารถกระทำได้หลายแบบดังนี้
1.  ระบบเครือข่ายที่แบ่งประเภทโดยพิจารณาจากการจัดโครงสร้างอุปกรณ์เป็น 2.  ระบบเครือข่ายตามขนาดทางกายภาพของระยะทางในการส่งข้อมูลเป็นหลัก   3.   ระบบเครือข่ายที่พิจารณาจากขอบเขตการใช้งานขององค์กร        
การจัดรูปทรงระบบเครือข่าย  ( Topology) วิธีการอธิบายระบบเครือข่ายแบบหนึ่งคือการพิจารณาจากรูปทรงของระบบเครือข่ายดังรูปที่    2.13 ,  2.14  และ  2.15  คือระบบเครือข่ายแบบดาว  แบบบัส และแบบวงแหวน ตามลำดับ
ระบบเครือข่ายแบบดาว  ( Star    Topology )          ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เรียกว่า โฮสต์  ( Host )  หรือ เซิฟเวอร์     ( Server )    ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นแลอุปกรณ์ที่เหลือ      ระบบนี้เหมาะกับการประมวลผลที่ศูนย์กลางและส่วนหนึ่งทำการประมวลผลที่เครื่องผู้ใช้  ( Client or Work Station )  ระบบนี้มีจุดอ่อนอยู่ที่เครื่อง  Host  คือ      การสื่อสารทั้งหมดจะต้องถูกส่งผ่านเครื่อง  Host    ระบบจะล้มเหลวทันทีถ้าเครื่อง  Host  หยุดทำงาน
  ภาพที่  2.11 :  เครือข่ายแบบดาว  (  star )
ระบบเครือข่ายแบบบัส  ( Bus Toplogy)         เป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทั้งหมดด้วยสายสื่อสารเพียงเส้นเดียว  อาจใช้สายคู่บิดเกลียว  สายโคแอกเซียล หรือสายใยแก้วนำแสงก็ได้ สัญญาณที่ถูกส่งออกมาจากอุปกรณ์ตัวใดก็ตามจะเป็นลักษณะการกระจายข่าว  ( Broadcasting)      โดยไม่มีอุปกรณ์ตัวใดเป็นตัวควบคุมระบบเลย    แต่อาศัยซอฟท์แวร์ที่ติดตั้งในอุปกรณ์แต่ละตัวทำหน้าที่ควบคุมการสื่อสาร
ภาพที่  2.12 :  เครือข่ายแบบบัส  (  Bus )
ระบบเครือข่ายแบบวงแหวน  ( Ring Topology )          ระบบเครือข่ายวงแหวนจะมีลักษณะคล้ายเครือข่ายบัสที่เอาปลายมาต่อกัน      โดยไม่มีอุปกรณ์ใดเป็นตัวควบคุมการสื่อสารของระบบเลย และข้อมูลในวงแหวนจะเดินไปในทิศทางเดียวกันเสมอ
ภาพที่  2.13 :  ภาพระบบเครือข่ยแบบวงแหวน  (  Ring )
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เครือข่ายเฉพาะบริเวณ  ( LAN)          มีขอบเขตการทำงานแคบ  มักอยู่ในอาคาร  ออฟฟิศ สำนักงาน หรือหลายอาคารที่อยู่ติดกัน ไม่เกิน  2,000  ฟุต ระบบ  LAN  ได้รับความนิยมมากในการเชื่อมต่ออุปกรณ์สำนักงานเข้าด้วยกัน     โดยมีสายนำสัญญาณการสื่อสารที่เป็นของตนเอง   โดยใช้  Topology  แบบบัส หรือวงแหวนและมีช่องสื่อสารที่กว้าง      เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สำนักงาน     อุปกรณ์ระบบแสดงผล   พิมพ์งาน  และการรับส่งข้อมูลข่าวสารในสำนักงานทำงานร่วมกันได้                                       
ภาพที่  2.14 :  ระบบเครือข่ายแบบแลน  (  LAN Networks )
ระบบเครือข่ายในเขตเมือง  ( MAN)          โดยพื้นฐานแล้วระบบเครือข่ายในเขตเมือง  ( Metropolitan Area Network)   มีลักษณะคล้ายกับระบบ  LAN  แต่มีอาณาเขตที่ไกลกว่าในระดับเขตเมืองเดียวกัน หรือหลายเมืองที่อยู่ติดกันก็ได้  ซึ่งอาจเป็นการให้บริการของเอกชนหรือรัฐก็ได้  เป็นการบริการเฉพาะหน่วยงาน   มีขีดความสามารถในการให้บริการทั้งรับและส่งข้อมูล  ทั้งภาพและเสียง  เช่นการให้บริการระบบโทรทัศน์ทางสาย  ( Cable TV)
ระบบเครือข่ายวงกว้าง  ( WAN)           เป็นระบบที่มีขอบเขตการใช้งานกว้างกว่า   ไกลกว่าระบบแลน     ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบที่ไร้ขอบเขตแล้ว  เช่นระบบการสื่อสารข้อมูลผ่านดาวเทียมของสถานีโทรทัศน์ต่างๆ   แต่การที่จะเชื่อมต่อเครือข่ายที่มีระยะห่างกันมากๆให้เป็นเครือข่ายเดียวกันทั้งหมดนั้นจำเป็นต้องอาศัยเครือข่ายสาธารณะ  ( Public Networks)  ที่ให้บริการการสื่อสาร  โดยเชื่อมต่อผ่านโมเด็ม  ผ่าน เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ   ( Public Switching Telephone Network ; PSTN)  ซึ่งมีทั้งลักษณะต่อโมเด็มแบบที่ต้องมีการติดต่อก่อน  ( Dial-up)  หรือต่อตายตัวแบบสายเช่า  ( Lease Line)
ระบบเครือข่ายที่พิจารณาจากขอบเขตการใช้งานขององค์กร           ระบบอินทราเนต  ( Intranet)    ในปัจจุบันบางองค์กรได้จำลองลักษณะของอินเตอร์เนตมาเป็นเครือข่ายภายในและใช้งานโดยบุคคลากรของบริษัท  ผู้คนในบริษัทจะทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อกันในองค์กรเฉพาะเครือข่ายของบริษัทตนเท่านั้น  ไม่เกี่ยวข้องใดๆกับองค์กรอื่นภายนอก  ทั้งที่อยู่ในสำนักงานเดียวกันหรือต่างสาขาก็ได้ หรือจะอยู่คนละภูมิประเทศก็ได้  
ระบบเอ็กทราเนต  ( Extranet)  เป็นอีกลักษณะของระบบเครือข่ายที่เป็นระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร  ( Inter-Organization ; I-OIS)  ใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างองค์กรที่มีความสัมพันธ์กัน ต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ติดต่อธุรกรรมกันเป็นประจำ  ระหว่างพนักงาน บริษัทคู่ค้า   บริษัทลูกค้า หรือบริษัทที่เป็นพันธมิตรกัน
ระบบอินเตอร์เนต   ( Internet)   เป็นระบบที่รู้จักกันดีและใช้งานกันอยู่เป็นประจำ  เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน  เชื่อมโยงศูนย์คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าไว้เป็นระบบเดียว จึงเป็นระบบสื่อสารที่ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว และมีผู้ใช้บริการเป็นจำนวนมาก   เพราะมีประโยชน์ในวงกต่างๆ มากมาย
ภาพที่  2.18 :  โครงสร้างการให้บริการอินเตอร์เนต
ประเภทของการสื่อสาร แบ่งได้เป็น  4  ประเภท ดังนี้
3.1  การสื่อสารในตนเอง   ( Intapersonal or Self-Communication)  เป็นการสื่อสารภายในตัวเอง หมายถึง บุคคลผู้นั้นเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน เช่น การเขียนและอ่านหนังสือ เป็นต้น
3.2  การสื่อสารระหว่างบุคคล   ( Interpersonal Communication) เป็นการสื่อสารระหว่างคน  2  คน เช่น การสนทนา หรือการโต้ตอบจดหมายระหว่างกัน เป็นต้น
3.3  การสื่อสารแบบกลุ่มชน   ( Group Communication)  เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลกับกลุ่มชนซึ่งประกอบด้วยคนจำนวนมาก เช่น การสอนในห้องเรียนระหว่างครูเพียงคนเดียวกับนักเรียนทั้งห้อง หรือระหว่างกลุ่มชนกับบุคคล เช่น กลุ่มชนมาร่วมกันฟังคำปราศรัยหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้ง เป็นต้น
  3.4  การสื่อสารมวลชน   ( Mass Communication)  เป็นการสื่อสารโดยการอาศัยสื่อมวลชนประเภทวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น นิตรสาร หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ แผ่นโปสเตอร์ ฯลฯ เพื่อการติดต่อไปยังผู้รับสารจำนวนมากซึ่งเป็นมวลชนให้ได้รับข้อมูลข่าวสารเดียวกันในเวลาพร้อม ๆ หรือไล่เรี่ยกัน                   
2.  จำแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก แบ่งเป็น 2.1  การสื่อสารเชิงวัจนะ  ( Verbal Communication)  หมายถึงการสื่อสารด้วยการใช้ภาษาพูด หรือเขียนเป็นคำพูด ในการสื่อสาร   2.2  การสื่อสารเชิงอวัจนะ  ( Non-Verbal Communication)  หมายถึงการสื่อสารโดยใช้รหัสสัญญาณอย่างอื่น เช่น ภาษาท่าทาง การแสดงออกทางใบหน้า สายตา ตลอดจนถึงน้ำเสียง ระดับเสียง ความเร็วในการพูด เป็นต้น
3.  จำแนกตามจำนวนผู้สื่อสาร   กิจกรรมต่างๆ ของบุคคลและสังคม ถือว่าเป็นผลมาจากการสื่อสารทั้งสิ้น ดังนั้นการสื่อสารจึงมีขอบข่ายครอบคลุมลักษณะการสื่อสารของมนุษย์  3  ลักษณะคือ   ( อรุณีประภา หอมเศรษฐี  2530 : 49-90) 3.1  การสื่อสารส่วนบุคคล  ( Intrapersonal Communication) 3.2  การสื่อสารระหว่างบุคคล  ( Interpersonal Communication) 3.3  การสื่อสารมวลชน  ( Mass Communication)
วิธีการการสื่อสาร แบ่งออกได้   3  วิธี คือ 1.1  การสื่อสารด้วยวาจา หรือ  " วจภาษา " (Oral Communication) 1.2  การสื่อสารที่มิใช่วาจา หรือ  " อวจนภาษา "   (Nonverbal Communication)  1.3  การสื่อสารด้วยการใช้จักษุสัมผัสหรือการเห็น   (Visual Communication)
             1.1  การสื่อสารด้วยวาจา หรือ  " วจภาษา "  (Oral Communication)  เช่น การพูด การร้องเพลง เป็นต้น             
1.2  การสื่อสารที่มิใช่วาจา หรือ  " อวจนภาษา "  (Nonverbal Communication)  และการสื่อสารด้วยภาษาเขียน  ( Written Communication)  เช่น การสื่อสารด้วยท่าทาง ภาษามือและตัวหนังสือ เป็นต้น             
1.3  การสื่อสารด้วยการใช้จักษุสัมผัสหรือการเห็น   (Visual Communication)  เช่น การสื่อสารด้วยภาพ โปสเตอร์ สไลด์ เป็นต้น  ( Eyre 1979:31)  หรือโดยการใช้สัญลักษณ์และเครื่องหมายต่าง ๆ เช่น ลูกศรชี้ทางเดิน เป็นต้น
รูปแบบของการสื่อสาร  แบ่งได้เป็น   2  รูปแบบ คือ   1.  การสื่อสารทางเดียว   (One - Way Communication)  2. การสื่อสารสองทาง   (Two-Way Communication)
1.  การสื่อสารทางเดียว   (One - Way Communication)  เป็นการส่งข่าวสารหรือการสื่อความหมายไปยังผู้รับแต่เพียงฝ่ายเดียว โดยที่ผู้รับไม่สามารถมีการตอบสนองในทันที  ( immediate response)  ให้ผู้ส่งทราบได้ แต่อาจจะมีปฏิกิริยาสนองกลับ  ( feedback)  ไปยังผู้ส่งภายหลังได้ การสื่อสารในรูปแบบนี้จึงเป็นการที่ผู้รับไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันได้ทันที จึงมักเป็นการสื่อสารโดยอาศัยสื่อมวลชน เช่น การฟังวิทยุ หรือการชมโทรทัศน์ เหล่านี้เป็นต้น
            2  การสื่อสารสองทาง   (Two-Way Communication)  เป็นการสื่อสารหรือการสื่อความหมายที่ผู้รับมีโอกาสตอบสนองมายังผู้ส่งได้ในทันที โดยที่ผู้ส่งและผู้รับอาจจะอยู่ต่อหน้ากันหรืออาจอยู่คนละสถานที่ก็ได้ แต่ทั้งสองฝ่ายจะสามารถมีการเจรจาหรือการโต้ตอบกันไปมา โดยที่ต่างฝ่ายต่างผลัดกันทำหน้าที่เป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับในเวลาเดียวกัน เช่น การพูดโทรศัพท์ การประชุม เป็นต้น   
http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/212300/communication9.html
1. องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลสามารถแบ่งออกได้กี่ส่วน 5  ส่วน 3 ส่วน 2  ส่วน
2. จากรูปลักษณะนี้เรียกว่าระบบอะไร เครือข่ายแบบบัส  (  Bus) เครือข่ายแบบดาว  (  star ) ระบบเครือข่ายแบบวงแหวน  ( Ring Topology )
3. การสื่อสารทางเดียว  ( One-Way Communication)  คืออะไร การ สื่อสารที่ข่าวสารจะถูกส่งจากผู้ส่งไปยังผู้รับในทิศทางเดียว การสื่อสารที่มีการส่งข่าวสารตอบกลับไปมาระหว่างผู้สื่อสาร เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลกับกลุ่มชนซึ่งประกอบด้วยคนจำนวนมาก
4. เครือข่ายเฉพาะบริเวณ  ( LAN) มีลักษณะการทำงานอย่างไร เป็นการบริการเฉพาะหน่วยงาน   มีขีดความสามารถในการให้บริการทั้งรับและส่งข้อมูล  ทั้งภาพและเสียง มีขอบเขตการทำงานแคบ  มักอยู่ในอาคาร  ออฟฟิศ สำนักงาน หรือหลายอาคารที่อยู่ติดกัน เป็นระบบที่มีขอบเขตการใช้งานกว้างกว่า
ไปข้อ2 ไปข้อ3 ไปข้อ4 ไปบทที่5
ลองใหม่ข้อ1 ลองใหม่ข้อ2 ลองใหม่ข้อ3 ลองใหม่ข้อ4
ลองใหม่ข้อ1 ลองใหม่ข้อ2 ลองใหม่ข้อ3 ลองใหม่ข้อ4
 
" ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือระบบเน็ตเวิร์ก คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกนำมาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้ "  เครือข่ายนั้นมีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองสามเครื่อง เพื่อใช้งานในบ้านหรือในบริษัทเล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก
องค์ประกอบพื้นฐานของเครือข่าย                     การที่คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้ ต้องมีองค์ประกอบพื้นฐานดังต่อไปนี้
                  -  เน็ตเวิร์ดการ์ด     หรือ     NIC ( Network    Interface    Card)  เป็นการ์ดที่เสียบเข้ากับช่องที่ เมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์    ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
- สื่อกลางและอุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล     เช่น     สายสัญญาณ    ส่วนสายสัญญาณที่นิยมที่ใช้กันในเครือข่ายก็เช่น     สายโคแอ็กเชียล     สายคู่เกลียวบิด    และสายใยแก้วนำแสง     เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์ เครือข่าย     เช่น     ฮับ สวิตช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็นต้น
สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน  สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน  ลักษณะของสายโคแอกเชียล  ลักษณะของเส้นใยนำแสง
3     อุปกรณ์เครือข่าย        อุปกรณ์ที่นำมาใช้ในเครือข่ายทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ -  ส่งข้อมูลในเครือข่าย      หรือใช้สำหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ - ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ้น     หรือใช้สำหรับขยายเครือข่ายให้มีขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์
     ฮับ   (HUB)  คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์     ฮับมีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง     เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย
สวิตซ์    ( Switch)   หรือ บริดจ์   ( Bridge)   เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ  LAN  สองเครือข่ายเข้าด้วยกัน  โดยจะต้องเป็น  LAN  ชนิดเดียวกัน และก็ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ในการเชื่อมต่อ  Ethernet LAN  ทั้งสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน                                              
เราท์เตอร์   ( Routing )     เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่คล้ายกับบริดจ์  
โปรโตคอล     หมายถึง     กฎเกณฑ์     ข้อตกลง     ภาษาสื่อสาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย  ( ระบบใดๆ ก็ตาม ) ให้สามารถติดต่อสื่อสารมีการใช้งานร่วมกันได้หลากหลาย
การจำแนกประเภทของเครือข่าย                       เครือข่ายสามารถจำแนกออกได้เป็นหลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ คล้ายกับการจำแนกของ รถยนต์ ถ้าใช้ขนาดเป็นเกณฑ์ จะสามารถแบ่งออกได้ โดยทั่วไปจำแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่   3   วิธีคือ
1.   ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามขนาดทางภูมิศาสตร์                         ถ้าใช้ขนาดทางกายภาพเป็นเกณฑ์    เครือข่ายก็ต้องสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภทคือ     LAN  หรือเครือข่ายท้องถิ่น     และ  MAN  หรือเครือข่ายในบริเวณกว้าง  LAN  เป็นเครือข่ายที่มีใช้ในขนาดเล็กที่ครอบคลุมพื้นที่ในบริเวณจำกัด เช่น     ภายในห้อง หรือภายในอาคาร    หรืออาจครอบคลุมไปถึงหลายอาคารที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง เช่น ในวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย ซึ่งบางทีเรียกว่า  “ เครือข่ายวิทยาเขต (Campus    Network )  ” 
                       1.1     เครือข่ายท้องถิ่น     (Local Area Network  หรือ  Lan)   เป็นเครือข่ายระยะใกล้ใช้กันอยู่ในบริเวณที่ไม่กว้างมากนัก    อาจอยู่ในองค์กรเดียวกัน     หรืออาคารที่ใกล้กัน   1    อีเธอร์เน็ต   Ethernet 2  โทเคนริง (Token Ring)  3  ATM  ย่อมาจากคำว่า “  Asynchronous Trasfer Mode”  ไม่ได้มีความหมายถึงตู้ ATM ( Automatic  Teller  Machine)  ที่เราใช้ถอนเงินสดจากธนาคาร แต่บางทีตู้  ATM
1.2 ระบบเครือข่ายแบบกว้าง  ( Wide Area Network: WAN) ในระบบเครือข่าย    WAN   แบบบริเวณกว้าง  โดยส่วนใหญ่แล้วก็จะเป็นเครือข่ายที่ระยะไกลเป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงเครือข่ายแบบท้องถิ่นตั้งแต่  2  เครือข่ายขึ้นไปเข้าไว้ด้วยกันโดยผ่านระยะทางที่ไกลมาก  โดยทั่วไปอาศัยสายโทรศัพท์ขององค์การโทรศัพท์   และคลื่นไมโครเวฟ  เป็นตัวกลางในการรับ - ส่งข้อมูล ระบบนี้เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าแบบแรก
ระบบเครือข่ายแบบกว้าง  ( Wide   Area Network: WAN)
2.    ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามหน้าที่ของคอมพิวเตอร์  ที่กล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงการจำแนกประเภทของเครือข่ายตามขนาดพื้นที่ที่ครอบคลุมถึงเท่านั้น  การจำแนกประเภทของเครือข่ายยังสามารถจำแนกได้  โดยใช้ลักษณะการแชร์ข้อมูลของคอมพิวเตอร์  หรือหน้าที่ของคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครือข่ายเป็นเกณฑ์  เพื่อเป็นการแบ่งประเภทของเครือข่าย ซึ่งเมื่อใช้หลักการนี้แล้วเราสามารถแบ่งเครือข่ายออกได้เป็น   2   ประเภทคือ
2.1    เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์   ( Peer – To - Peer)  โดยเป็นการเชื่อมต่อของเครื่องทุกเครื่องที่ใช้ในระบบเครือข่าย  และยังมีสถานะเท่าเทียมกันหมด โดยเป็นเครื่องทุกเครื่องสามารถเป็นได้ทั้งเครื่องผู้ใช้บริการและผู้ให้เครื่องบริการในขณะใดขณะหนึ่ง
2.2      เครือข่ายแบบไคลเอนท์เซิร์ฟเวอร์  (Client/Server    Network)  ถ้าระบบเครือข่ายมีคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก ควรสร้างเครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์    เนื่องจากง่ายและค่าใช้จ่ายจะถูกกว่า    แต่เมื่อเครือข่ายนั้นมีการขยายใหญ่ขึ้นจำนวนผู้ใช้ก็มากขึ้นเช่นกัน    การดูแลและการจัดการระบบก็จะซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
2 . 3    ประเภทของเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการแบบต่าง ๆ  ก .       ไฟล์เซิร์ฟเวอร์     (File Server)  ข .    พรินต์เซิร์ฟเวอร์   Print  Server  ค .    แอพพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์     (Application  Server) ง .     อินเตอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์  (Internet  Server)       
3.       ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล        อีกวิธีหนึ่งในการแบ่งประเภทของเครือข่ายคือ     การใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูล    ซึ่งจะแบ่งออกได้เป็น     3     ประเภทด้วยกันก็คือ อินเตอร์เน็ต  (Internet) , อินทราเน็ต  (Intranet) ,    เอ็กส์ตราเน็ต  ( Extranet )  
3.1   อินเตอร์เน็ต ( Internet)        อินเตอร์เน็ต   ( Internet)  นั้นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์     ที่นำก่อตั้งโดยกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา  อินเตอร์เน็ตในสมัยยุคแรก ๆ เมื่อประมาณปี  พ . ศ . 2512    เป็นเพียงการนำคอมพิวเตอร์จำนวนไม่กี่เครื่องนั้นมาเชื่อมต่อกันเท่านั้น โดยมีเพียงสายส่งสัญญาณ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 
2     อินทราเน็ต  (Intarnet)        ตรงกันข้ามกับอินเตอร์เน็ต    อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต    เช่น    เว็บ , อีเมล ,FTP  แต่อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล  TCP/IP  แต่ใช้สำหรับการรับ -  ส่งข้อมูลเช่นเดียวกับอินเตอร์เน็ตซึ่งโปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กับฮาร์ดแวร์หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภทฮาร์ดแวร์ที่ใช้สร้างเครือข่ายนี้ไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต
3.3   เอ็กส์ตราเน็ต  ( Extranet)        เอ็กส์ตราเน็ต ( Extranet)  เป็นเครือข่ายแบบกึ่งอินเตอร์เน็ตกึ่งอินทราเน็ต    เอ็กส์ตราเน็ต คือ  เครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของ  2  องค์กร  ดังนั้นจะมีบางส่วนของเครือข่ายที่เป็นเจ้าของร่วมกันระหว่าง  2  องค์กรหรือบริษัท
ไมโครคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาท มีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือที่เรียกว่า  " ซีเอไอ " ( CAI-Computer Aided Instruction)  มีการผลิต  CD  เพื่อเก็บรวบรวมความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเล่าเรียน มีการสร้างเอกสาร  " ไฮเปอร์เท็กซ์ " ( Hypertext)  ที่เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และเป็นแหล่งค้นหาความรู้ได้อย่างรวดเร็ว
SchoolNet  เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อโรงเรียนมัธยมในประเทศไทยเข้าด้วยกัน และเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตเพื่อเป็น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบทรัพยากรการเรียนรู้ต่าง ๆ มาช่วยยกระดับการศึกษาของนักเรียนไทย เครือข่ายโรงเรียนไทย ยังช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโลก
http://www.school.net.th/
โรงเรียนที่ร่วมโครงการในระยะแรก มีประมาณ  100  โรงเรียนทั่วประเทศ โดยมีศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติเป็นแกนกลาง จากการดำเนินโครงการมีโรงเรียนรัฐบาลและเอกชนสนใจเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ปัจจุบันมีโรงเรียนเข้าร่วม โครงการจำนวน  673  โรงเรียน ตัวอย่างโฮมเพจของโรงเรียนต่าง ๆ ใน  SchoolNet
http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/212300/communication9.html
1.  ฮับ   (HUB)  คืออะไร อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ  LAN  สองเครือข่ายเข้าด้วยกัน เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่คล้ายกับบริดจ์  
2. จำแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่ กี่วิธี 4  วิธี   3  วิธี 5  วิธี
3.  เอ็กส์ตราเน็ต ( Extranet)  คืออะไร เป็นเพียงการนำคอมพิวเตอร์จำนวนไม่กี่เครื่องนั้นมาเชื่อมต่อกันเท่านั้น โดยมีเพียงสายส่งสัญญาณ  อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต   เครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของ  2  องค์กร 
4.ATM  ย่อมาจากคำว่าอะไร Asynchronous Trasfer Mode  Automatic  Teller  Machine Asynchronous Teller Mode
ไปข้อ2 ไปข้อ3 ไปข้อ4 ไปบทที่6
ลองใหม่ข้อ1 ลองใหม่ข้อ2 ลองใหม่ข้อ3 ลองใหม่ข้อ4
ลองใหม่ข้อ1 ลองใหม่ข้อ2 ลองใหม่ข้อ3 ลองใหม่ข้อ4
 
ความหมาย การสั่งการให้คอมพิวเตอร์กระทำตามขั้นตอนและแผนงานต่าง ๆ ตามเงื่อนไขและข้อตกลงที่ได้ดำเนินการหรือจัดเตรียมไว้แล้ว ซอฟต์แวร์จึงเป็นผลที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามกรอบของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำงานให้กับเราได้มากมาย เพราะว่ามีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทำบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋ว คอมพิวเตอร์ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงาม เป็นต้น การที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ �
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..

Contenu connexe

Tendances

9789740329770
97897403297709789740329770
9789740329770CUPress
 
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศchatjen17
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Meaw Sukee
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 

Tendances (13)

9789740329770
97897403297709789740329770
9789740329770
 
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
(บทที่ 2)
(บทที่ 2)(บทที่ 2)
(บทที่ 2)
 
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
Mycomputer1
Mycomputer1Mycomputer1
Mycomputer1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 

Similaire à งานนำเสนอ..

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAriya Soparux
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศwannuka24
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_editNicemooon
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 

Similaire à งานนำเสนอ.. (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
1
11
1
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

Plus de amphaiboon

งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 

Plus de amphaiboon (20)

งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 

งานนำเสนอ..

  • 1.  
  • 2.  
  • 3.  
  • 4.  
  • 5.  
  • 6.  
  • 7.  
  • 8.  
  • 9.  
  • 10.  
  • 11.
  • 12. รูปที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ
  • 13. 2. ความสำคัญของข้อมูลและสารสนเทศ   ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึงมีการนำเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการดำเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ
  • 14. การแบ่งประเภทของข้อมูล อาจแบ่งได้หลายวิธีแล้วแต่จุดประสงค์ของการแบ่งนั้น ถ้าแบ่งตามการเก็บรวบรวมข้อมูล อาจแบ่งประเภทของข้อมูลเป็น 2 ประเภท ข้อมูลปฐมภูมิ   กับ  ข้อมูลทุติยภูมิ 3. ประเภทของข้อมูลและสารสนเทศ
  • 15.   3.1 ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง อาจได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การจดบันทึก ตลอดจนได้มาจากเครื่องมือวัดต่าง ๆ ข้อมูลปฐมภูมิจึงเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ได้มาจากจุดกำเนิดของข้อมูล  
  • 16. 3.2 ข้อมูลทุติยภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ แล้วบางครั้งอาจมีการประมวลผลเป็นสารสนเทศไปแล้ว ผู้ใช้ข้อมูลไม่ได้ไปสำรวจเอง ตัวอย่างเช่นข้อมูลสถิติ ต่าง ๆ ที่มีผู้ทำไว้อาจเป็นหน่วยราชการ
  • 17. 4. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology : IT) หมายถึง การนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีด้านการสื่อสารโทรคมนาคมมาช่วยในการรวบรวม ประมวลผล สรุป จัดเก็บ และเผยแพร่ สารสนเทศที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร ภาพ และเสียง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 18. 5. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม ( Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT)
  • 19. ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์ , อินเทอร์เน็ต , อีเมล์ ทำให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
  • 20. ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร ( Communication networks) ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำนวนการใช้เครือข่าย จำนวนผู้เชื่อมต่อ และจำนวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น
  • 22. 6. ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. เทคโนโลยีด้านการรับข้อมูล (Sensing Technology) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้เราสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่อยู่รอบตัวเราแล้วเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องแสกนภาพ (image scanners) เครื่องอ่านรหัสแถบ (bar code scanners) และ อุปกรณ์รับสัญญาณ (Sensors) เป็นต้น  
  • 23. 2. เทคโนโลยีการสื่อสาร (CommunicationTechnology) เช่น โทรสาร โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่ายท้องถิ่น (LAN)    3. เทคโนโลยีวิเคราะห์ (Analyzing Technology) ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ ต่าง ๆ ทั้งส่วนที่เป็น Hardware และ Software 4.   เทคโนโลยีการแสดงผล (Display Technology)
  • 24. 7. วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปัจจุบันนี้เราสามารถติดต่อสื่อสารกับคนทั่วโลกได้สะดวกมาก แต่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ การสื่อสารได้มีวิวัฒนาการมาหลายยุคหลายสมัย ผู้เขียนจะกล่าวถึงวิวัฒนาการของการสื่อสารตั้งแต่ยุคแรกของมนุษย์ดังนี้
  • 25. เชื่อกันว่าการสื่อสารระยะไกลของ มนุษย์ในยุคแรกๆ น่าจะเป็นการการตีเกราะ เคาะไม้ การส่งเสียงต่อเป็นทอดๆ และการส่งสัญญาณควัน มนุษย์ในยุคแรกๆ
  • 26. รูปที่ (1) การสื่อสารด้วยการตีกลองให้สัญญาณ
  • 27. รูปที่ (2) การส่งเสียงต่อเป็นทอดๆ
  • 28. รูปที่ (3)   การสื่อสารด้วยสัญญาณควัน  
  • 29. รูปที่ (4)   การสื่อสารกันโดยการเขียนข้อความ    ในกระดาษแล้วผูกติดกับขานกพิราบ ต่อมาเมื่อมนุษย์รู้จักวิธีการเขียนหนังสือ ก็มีการคิดวิธีการสื่อสารกัน แบบใหม่โดยการฝากข้อความไปกับนกพิลาบ ดังรูปที่ (4) หรือการส่งข้อความไปกับม้าเร็ว
  • 30. รูปที่ (5) การสื่อสารโดยใช้ม้าเร็ว ถือข้อความไปส่งตามหัวเมืองต่างๆ  
  • 31. รหัสมอร์ส แซมมวลมอร์ส นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน เป็นคนแรกที่คิดวิธีการสื่อสารสมัยใหม่ ( ในตอนนั้น ) โดยการส่งสัญญาณไปตามสาย  มอร์สได้กำหนดรหัสขึ้นมาใช้ในการสื่อสาร  ด้วยการส่งกระแสไฟฟ้าให้ไหลไปตามสายไฟฟ้า  และกำหนดให้มีจังหวะของการไหลยาวบ้างสั้นบ้างเป็นจังหวะ    แล้วนัดหมายกับฝ่ายรับปลายทางว่ารหัสแต่ละตัวหมายถึงตัวอักษรตัวใดรหัสที่ใช้ในการส่งโทรเลขเรียกว่า รหัสมอร์ส
  • 32. รูปที่ (6) รหัสมอร์สภาษาไทย
  • 33. ส่งโทรเลข        ในการส่งโทรเลขจะต้องมีคนเคาะคันเคาะเพื่อส่งกระแสไฟฟ้าในรูปของสัญญาณสั้น - ยาวสลับกันไปสัญญาณนี้จะวิ่งไปตามสายโทรเลข คันเคาะสัญญาณโทรเลขแบบมอร์ส
  • 34. เครื่องโทรพิมพ์เพื่อทำหน้าที่ในการส่งและรับโทรเลขแทนคนเครื่องโทรพิมพ์นี้ก็ใช้หลักการทำงานเช่นเดียวกับโทรเลขแต่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจำรหัสตัวอักษรต่างๆ ในการส่งโทรเลขด้วยเครื่องโทรพิมพ์ ผู้ส่งก็เพียงแต่พิมพ์ตัวอักษรที่ต้องการส่งลงไปในเครื่องโทรพิมพ์ เครื่องโทรพิมพ์ก็จะเจาะรูบนแถบกระดาษให้เป็นรหัสมอร์ส เครื่องโทรพิมพ์
  • 36. โทรศัพท์         ต่อมาเมื่อนักวิทยาศาสตร์สามารถแปลงเสียงพูดให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าได้  อเล็กซานเดอร์  เกรแฮม  เบลล์ ( Alexander  Graham Bel)  จึงได้ประดิษฐ์โทรศัพท์ขึ้นมา  และโทรศัพท์จะมีการเปลี่ยนสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปตามสายโทรศัพท์    แล้วโทรศัพท์ปลายทางจะทำหน้าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้านั้นกลับมาเป็นสัญญาณเสียงเหมือนเดิม   และเรียกการสื่อสารในลักษณะนี้ว่าโทรศัพท์แบบใช้สายหรือโทรศัพท์บ้าน 
  • 38. การประชุมทางไกล       การสื่อสารในปัจจุบันช่วยให้การดำเนินชีวิตคนเรามีความสะดวก สบายมากขึ้น ( ไม่ได้หมายความว่าคนในปัจจุบันมีความสุขมากขึ้น ) ปัจจุบันผู้บริหารหน่วยงานต่างๆที่มีเครือข่ายอยู่ทั่วประเทศสามารถประชุมกันได้ โดยไม่ต้องมาเข้าห้องประชุมเดียวกัน
  • 40. การสื่อสารผ่านทางอินเตอร์เน็ต         เมื่อการสื่อสารด้วยโทรศัพท์มาถึงจุดที่ค่อนข้างจะอิ่มตัว ก็ได้มีเทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้นมาคือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตในปัจจุบันเราก็สามารถพูดคุยกับเพื่อนได้ทั่วโลกโดยใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและมีค่าใช้จ่ายถูกกว่าการใช้โทรศัพท์  นอกจากนี้ก็สามารถใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในการจัดการเรียนการสอนผ่านทางอินเตอร์เน็ตได้  ปัจจุบันมีหลายมหาวิทยาลัย จัดการเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต 
  • 42. ข้อมูล ข่าวสารเป็นหัวใจหลักของการดำเนินงานในทุกๆ องค์กร ไม่ว่าจะเป็นองค์กรที่ดำเนินธุรกิจ การศึกษา หรือบริหารประชาชน ซึ่งบุคลากรของแต่ละองค์กรก็มีความต้องการใช้สารสนเทศที่แตกต่างกัน ได้แก่
  • 43. 1. ผู้บริหารระดับสูง ( Top Manager) เช่น ปลัดกระทรวง อธิบดี ประธานบริษัท มีหน้าที่กำหนดทิศทาง วิสัยทัศน์ นโยบายขององค์กร รวมทั้งการวางแผนในระยะยาว มักมีความต้องการสารสนเทศทั้งภายในและภายนอกองค์กรโดยสรุปของสภาพในอดีต ปัจจุบัน ตลอดจนแนวโน้มในอนาคต
  • 44. 2. ผู้บริหารระดับกลาง ( Middle Manager ) เช่น ผู้อำนวยการ อธิการบดี มีหน้าที่รับนโยบายจากผู้บริหารระดับสูงมาวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ มักมีความต้องการสารสนเทศที่ค่อนข้างละเอียดของสภาพในอดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
  • 45. 3. ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ ( Operation Manager ) เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆ มีหน้าที่ดูแลควบคุมด้านการปฏิบัติงาน มักมีความต้องการสารสนเทศเฉพาะด้านที่ทำงานอยู่ในปัจจุบัน
  • 46. - การใช้สารสนเทศของผู้บริหารในระดับต่างๆ ก็เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของการตัดสินใจออกได้ 3 ประเภท คือ
  • 47. -     การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง ( Structure Decision ) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับงานที่ทำเป็นประจำ ( Routine) มักมีหลักเกณฑ์และขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาที่กำหนดขึ้นอย่างชัดเจน
  • 48.
  • 49. -   การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง ( Semi-structured Decision) เป็นการตัดสินใจที่อยู่ระหว่างการตัดสินใจแบบที่ 1 และแบบที่ 2
  • 50. 4. ระดับผู้บริหารในองค์กร ( Manager Level ) แบ่งได้ 3 ระดับ ดังนี้ 1.       ผู้บริหารระดับสูง ( Top Manager) ดูแลกำหนดทิศทางขององค์กร ด้านวิสัยทัศน์ นโยบาย เป็นการวางแผนในระยะยาว จะใช้การตัดสินใจในระดับกลยุทธ์ ( Strategic planning ) 
  • 51. 2.   ผู้บริหารระดับกลาง ( Middle Manager ) รับนโยบายจากผู้บริหารระดับสูงมาวางแผน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ จะใช้การตัดสินใจในระดับยุทธวิธี ( Practical planning ) 
  • 52. 3.  ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ ( Operational Manager ) รับผิดชอบดูแลควบคุมด้านการปฏิบัติงานรายวัน โดยรับแผนปฏิบัติมาจากผู้บริหารระดับกลาง จะใช้การตัดสินใจระดับปฏิบัติการ ( Operational planning )    
  • 54. 1. ความหมายของข้อมูลคือข้อใด ค . ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือข้อมูลดิบ ก . อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวลผล เก็บรักษา ข . การประมวลผลที่เป็นสารสนเทศ
  • 55. 2 . ความหมายของสารสนเทศคือข้อใด ค . ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลหรือจัดระบบแล้ว ข . ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือข้อมูลดิบ ก . การประมวลผลที่เป็นสารสนเทศ
  • 56. 3. ข้อมูลปฐมภูมิคืออะไร ก . ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ข . ข้อมูลในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ค . ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว
  • 57. 4. เทคโนโลยีการสื่อสารมีอะไรบ้าง ก . อุปกรณ์รับสัญญาณ ข . โทรสาร โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่ายท้องถิ่น ค . เครื่องแสกนภาพ เครื่องอ่านรหัสแถบ
  • 58. ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไปข้อ 4
  • 61.  
  • 62. เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้ดังนี้ เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังนี้ต่อไปนี้ คือ
  • 63.
  • 64. 3 . เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ 4. เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์ , จอภาพ , พลอตเตอร์ ฯลฯ
  • 65. 5 . เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร , เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม 6. เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ , วิทยุกระจายเสียง , โทรเลข , เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และไกล
  • 66.   ความก้าวหน้าของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว เพื่อนสนองความต้องการด้านต่างๆ ของผู้ใช้ปัจจุบันซึ่งมีจำนวนผู้ใช้งานเทคโนโลยีสารสรเทศและการสื่อสารทั่วโลกประมาณพันล้านคน และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี ผู้ใช้สามารถใช้งานอุปกรณ์ดังกล่าวได้ทุกที่ ทุกเวลา จึงทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆทั้งที่้เกิดประโยชน์และโทษ เช่น
  • 67. 1. ด้านสังคม สภาพเสมือนจริง การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการทำงานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่รู้จักกีนว่า ไซเบอรฺ์สเปช ( cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่นการพูด การชื้อสินค้า และบริการ การทำงานผ่านเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง ( virtual) เช่น เกมส์เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งทำให้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
  • 68. 2.  ด้านเศรษกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส่งผลให้เกิดสังคมโลกาภิวัตน์ ( globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศนที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจ
  • 69. 3.  ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์ในด้านธรรมชาติและและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศ ร่วมกับการจัดเก็บรักษาข้อมูลระดับน้ำทะเล ความสูงของคลื่นจากระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และนำข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม
  • 70. เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่ มีอุปกรณ์วิดีโอโปรเจคเตอร์ ( Video Projector) มีเครื่องคอมพิวเตอร์ มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รูปแบบของสื่อที่นำมาใช้ในด้านการเรียนการสอน ก็มีหลากหลาย
  • 71.   คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนำเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอน ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่าบทเรียน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) การจัดโปรแกรมการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสื่อประสม ซึ่งหมายถึงนำเสนอได้ทั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบ กับบทเรียนได้และเข้าใจในเนื้อหาวิชาของบทเรียนนั้นๆ
  • 73. การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก เป็นการจัดการเรียน อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกสถานที่และทุกเวลา การจัดการเรียนการสอนลักษณะนี้ มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ ( Web-based Instruction) การฝึกอบรมผ่านเว็บ ( Web-based Trainning) การเรียนการสอนผ่านเวิล์ดไวด์เว็บ ( www-based Instruction) การสอนผ่านสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ ( e-learning) เป็นต้น
  • 75. อิเล็กทรอนิกส์บุค คือการเก็บข้อมูลจำนวนมากด้วยซีดีรอม หนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลตัวอักษรได้มากถึง 600 ล้านตัวอักษร ดังนั้นซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลหนังสือ หรือเอกสารได้มากกว่าหนังสือหนึ่งเล่ม และที่สำคัญคือการใช้กับคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถเรียกค้นหาข้อมูลภายในซีดีรอม ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ดัชนี สืบค้นหรือสารบัญเรื่อง ซีดีรอมจึงเป็นสื่อที่มีบทบาทต่อการศึกษาอย่างยิ่ง เพราะในอนาคตหนังสือต่าง ๆ จะจัดเก็บอยู่ในรูปซีดีรอม และเรียกอ่านด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่าอิเล็กทรอนิกส์บุค
  • 77. ด้านการศึกษาวิดีโอเทคเลคอนเฟอเรนซ์ ทำให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ผ่านทางจอภาพ โทรทัศน์และเสียง นักเรียนในห้องเรียน ที่อยู่ห่างไกลสามารถเห็นภาพและเสียง ของผู้สอนสามารถเห็นอากับกิริยาของ ผู้สอน เห็นการเคลื่อนไหวและสีหน้าของผู้สอนในขณะเรียน คุณภาพของภาพและเสียง ขึ้นอยู่กับความเร็วของช่องทางการสื่อสาร ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างสองฝั่งที่มีการประชุมกัน
  • 79. ระบบวิดีโอออนดีมานด์ ( Video on Demand) เป็นระบบใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมนำมาใช้ ในหลายประเทศเช่น ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ระบบวิดีโอ ออนดีมานด์จึงเป็นระบบที่จะนำมาใช้ ในเรื่องการเรียนการสอนทางไกลได้ โดยไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน ในสิ่งที่ตนเองต้องการเรียนหรือสนใจได้
  • 83. 2. เครื่องพิมพ์ , จอภาพ , พลอตเตอร์ เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการทำอะไร เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล
  • 84. 3. สื่อการเรียนการสอนแบบใดที่สามารถเห็นอากัปกิริยาของผู้สอน เห็นการเคลื่อนไหวและสีหน้าของผู้สอนในขณะเรียน การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก สอนด้วยอุปกรณ์วิดีโอโปรเจคเตอร์ ด้วยวิดีโอเทคเลคอนเฟอเรนซ์
  • 85. 4. ในด้านธรรมชาติและและสิ่งแวดล้อม ได้นำการใช้เทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์อะไรบ้าง ทำระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศ เกมส์เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนการสอน ผ่านเวิล์ดไวด์เว็บ
  • 86. ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไป ข้อ 4 ไปบทที่3
  • 87.  
  • 88.  
  • 89.  
  • 90. การสื่อสารข้อมูล ( Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
  • 91. วิธีการส่งข้อมูล วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้น กลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือ สิ่งรบกวน ( Noise) จากภายนอกทำให้ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิ่งมากก็อาจจะทำให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวน เหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทำให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
  • 92. องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ            องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม    สามารถจำแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้
  • 93. 1. ผู้ส่งข่าวสาร ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร ( source)   อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ   ข้อมูล และเสียงเป็นต้น   ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ   ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ ก็นับว่าเป็นแหล่งกำเนิดข่าวสาร   จัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน
  • 94.                           2. ผู้รับข่าวสาร ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร ( sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกำเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์   ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ   ถ้าผู้รับสารหรือ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสำเร็จ   กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง
  • 95. 3. ช่องสัญญาณ   (channel)  ช่องสัญญาณในที่นี้อาจจะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่าน   อาจจะเป็นอากาศ   สายนำสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งของเหลว   เช่น   น้ำ   น้ำมัน เป็นต้น   เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง
  • 96. 4 . การเข้ารหัส   (encoding)  การเข้ารหัสเป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย   จึงมีความจำเป็นต้องแปลง ความหมายนี้   การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง    ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้
  • 97.          5. การถอดรหัส (decoding)  การถอดรหัส หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร   โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน
  • 98. 6. สัญญาณรบกวน (noise)   สัญญาณรบกวน เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ   มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร   ผู้รับข่าวสาร   และช่องสัญญาณ     แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด   ตำแหน่งที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ   เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร   ในทางปฎิบัติมักจะใช้ วงจรกรอง ( filter)  กรองสัญญาณแต่ต้นทาง   เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ   เช่น   การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล   เป็นต้น
  • 99.  
  • 100. 1. Data Communications ตรงกับข้อใด การสื่อสารข้อมูล ผู้ส่งสาร ช่องสัญญาณ
  • 101. 2. ข้อใดเป็นวิธีการส่งข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ ส่งข้อมูลก่อนแล้วจึงแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ การแปลงข้อมูลเป็นรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ
  • 103. 4. ของเหลว   เช่น   น้ำ   น้ำมัน จัดว่าเป็นสายนำสัญญาณ หรือไม่ ไม่เป็น เป็น น่าจะเป็น
  • 104. ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไปข้อ 4 ไปบทที่4
  • 107.  
  • 109. 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็นแหล่งต้นทางของการสื่อสารโดยมีหน้าที่ในการให้กำเนิดข้อมูลหรือเตรียม ข้อมูล เช่น ผู้พูด คอมพิวเตอร์ต้นทาง เป็นต้น
  • 110. 2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็นแหล่งปลายทางของการสื่อสารหรือเป็นอุปกรณ์สำหรับข้อมูลที่จะนำ ข้อมูลนั้นไปใช้ดำเนินการต่อไป เช่น ผู้รับ คอมพิวเตอร์ปลายทาง เครื่องพิมพ์
  • 111.                3.  ข่าวสาร (Massage) เป็นตัวเนื้อหาของข้อมูล ซึ่งมีได้หลายรูปแบบดังนี้ คือ
  • 112. 3.1 ข้อความ ( Text) ข้อมูลที่อยู่ในรูปอักขระ หรือเอกสาร เช่น ข้อความในหนังสือ เป็นต้น   3.2 เสียง ( Voice) ข้อมูลเสียงที่แหล่งต้นทางสร้างขึ้นมา ซึ่งอาจจะเป็นเสียงที่มนุษย์หรืออุปกรณ์บางอย่างเป็น ตัวสร้างก็ได้
  • 113. 3.3 รูปภาพ ( Image) เป็นข้อมูลที่ไม่เหมือนข้อความตัวอักษรที่เรียงติดต่อกัน แต่จะมีลักษณะเหมือนรูปภาพ เช่น การสแกนภาพเข้าคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 3.4 สื่อผสม ( Multimedia) ข้อมูลที่ผสมลักษณะของทั้งรูปภาพ เสียงและข้อความเข้าด้วยกัน โดยสามารถ เคลื่อนไหวได้ เช่น การเรียนผ่านระบบ VDO conference เป็นต้น โดยข้อมูลจะมีขนาดใหญ่มาก
  • 114.    4. สื่อกลางหรือตัวกลางในการนำส่งข้อมูล (Medium) เป็นสื่อหรือช่องทางที่ใช้ในการนำข้อมูลจากต้นทางไปยัง ปลายทาง ซึ่งอาจเป็นตัวกลางที่มีสายสัญญาณ เช่น สายไฟ หรือตัวกลางที่ไม่ใช้สายสัญญาณ เช่น อากาศ เป็นต้น
  • 115.   5. โปรโตคอล (Protocol) เป็นข้อกำหนดหรือข้อตกลงถึงกฎระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ มีความเข้าใจตรงกัน
  • 116. ระบบเครือข่ายการสื่อสาร   ( Data CommunicationTopology) การจัดรูปโครงสร้างของอุปกรณ์สื่อสารเพื่อจัดตั้งเป็นระบบเครือข่ายสามารถกระทำได้หลายแบบดังนี้
  • 117. 1. ระบบเครือข่ายที่แบ่งประเภทโดยพิจารณาจากการจัดโครงสร้างอุปกรณ์เป็น 2. ระบบเครือข่ายตามขนาดทางกายภาพของระยะทางในการส่งข้อมูลเป็นหลัก   3. ระบบเครือข่ายที่พิจารณาจากขอบเขตการใช้งานขององค์กร        
  • 118. การจัดรูปทรงระบบเครือข่าย ( Topology) วิธีการอธิบายระบบเครือข่ายแบบหนึ่งคือการพิจารณาจากรูปทรงของระบบเครือข่ายดังรูปที่   2.13 ,  2.14 และ 2.15 คือระบบเครือข่ายแบบดาว  แบบบัส และแบบวงแหวน ตามลำดับ
  • 119. ระบบเครือข่ายแบบดาว ( Star   Topology )          ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เรียกว่า โฮสต์ ( Host ) หรือ เซิฟเวอร์    ( Server )   ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นแลอุปกรณ์ที่เหลือ     ระบบนี้เหมาะกับการประมวลผลที่ศูนย์กลางและส่วนหนึ่งทำการประมวลผลที่เครื่องผู้ใช้ ( Client or Work Station ) ระบบนี้มีจุดอ่อนอยู่ที่เครื่อง Host คือ     การสื่อสารทั้งหมดจะต้องถูกส่งผ่านเครื่อง Host   ระบบจะล้มเหลวทันทีถ้าเครื่อง Host หยุดทำงาน
  • 120.   ภาพที่ 2.11 : เครือข่ายแบบดาว ( star )
  • 121. ระบบเครือข่ายแบบบัส ( Bus Toplogy)         เป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทั้งหมดด้วยสายสื่อสารเพียงเส้นเดียว  อาจใช้สายคู่บิดเกลียว  สายโคแอกเซียล หรือสายใยแก้วนำแสงก็ได้ สัญญาณที่ถูกส่งออกมาจากอุปกรณ์ตัวใดก็ตามจะเป็นลักษณะการกระจายข่าว ( Broadcasting)      โดยไม่มีอุปกรณ์ตัวใดเป็นตัวควบคุมระบบเลย    แต่อาศัยซอฟท์แวร์ที่ติดตั้งในอุปกรณ์แต่ละตัวทำหน้าที่ควบคุมการสื่อสาร
  • 122. ภาพที่ 2.12 : เครือข่ายแบบบัส ( Bus )
  • 123. ระบบเครือข่ายแบบวงแหวน ( Ring Topology )          ระบบเครือข่ายวงแหวนจะมีลักษณะคล้ายเครือข่ายบัสที่เอาปลายมาต่อกัน     โดยไม่มีอุปกรณ์ใดเป็นตัวควบคุมการสื่อสารของระบบเลย และข้อมูลในวงแหวนจะเดินไปในทิศทางเดียวกันเสมอ
  • 124. ภาพที่ 2.13 : ภาพระบบเครือข่ยแบบวงแหวน ( Ring )
  • 125.
  • 126. เครือข่ายเฉพาะบริเวณ ( LAN)          มีขอบเขตการทำงานแคบ  มักอยู่ในอาคาร  ออฟฟิศ สำนักงาน หรือหลายอาคารที่อยู่ติดกัน ไม่เกิน 2,000 ฟุต ระบบ LAN ได้รับความนิยมมากในการเชื่อมต่ออุปกรณ์สำนักงานเข้าด้วยกัน     โดยมีสายนำสัญญาณการสื่อสารที่เป็นของตนเอง   โดยใช้ Topology แบบบัส หรือวงแหวนและมีช่องสื่อสารที่กว้าง      เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สำนักงาน     อุปกรณ์ระบบแสดงผล   พิมพ์งาน  และการรับส่งข้อมูลข่าวสารในสำนักงานทำงานร่วมกันได้                                      
  • 127. ภาพที่ 2.14 : ระบบเครือข่ายแบบแลน ( LAN Networks )
  • 128. ระบบเครือข่ายในเขตเมือง ( MAN)          โดยพื้นฐานแล้วระบบเครือข่ายในเขตเมือง ( Metropolitan Area Network)   มีลักษณะคล้ายกับระบบ LAN แต่มีอาณาเขตที่ไกลกว่าในระดับเขตเมืองเดียวกัน หรือหลายเมืองที่อยู่ติดกันก็ได้  ซึ่งอาจเป็นการให้บริการของเอกชนหรือรัฐก็ได้  เป็นการบริการเฉพาะหน่วยงาน   มีขีดความสามารถในการให้บริการทั้งรับและส่งข้อมูล  ทั้งภาพและเสียง  เช่นการให้บริการระบบโทรทัศน์ทางสาย ( Cable TV)
  • 129. ระบบเครือข่ายวงกว้าง ( WAN)          เป็นระบบที่มีขอบเขตการใช้งานกว้างกว่า   ไกลกว่าระบบแลน     ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบที่ไร้ขอบเขตแล้ว  เช่นระบบการสื่อสารข้อมูลผ่านดาวเทียมของสถานีโทรทัศน์ต่างๆ   แต่การที่จะเชื่อมต่อเครือข่ายที่มีระยะห่างกันมากๆให้เป็นเครือข่ายเดียวกันทั้งหมดนั้นจำเป็นต้องอาศัยเครือข่ายสาธารณะ ( Public Networks) ที่ให้บริการการสื่อสาร  โดยเชื่อมต่อผ่านโมเด็ม  ผ่าน เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ   ( Public Switching Telephone Network ; PSTN) ซึ่งมีทั้งลักษณะต่อโมเด็มแบบที่ต้องมีการติดต่อก่อน ( Dial-up) หรือต่อตายตัวแบบสายเช่า ( Lease Line)
  • 130. ระบบเครือข่ายที่พิจารณาจากขอบเขตการใช้งานขององค์กร           ระบบอินทราเนต ( Intranet)    ในปัจจุบันบางองค์กรได้จำลองลักษณะของอินเตอร์เนตมาเป็นเครือข่ายภายในและใช้งานโดยบุคคลากรของบริษัท  ผู้คนในบริษัทจะทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อกันในองค์กรเฉพาะเครือข่ายของบริษัทตนเท่านั้น  ไม่เกี่ยวข้องใดๆกับองค์กรอื่นภายนอก  ทั้งที่อยู่ในสำนักงานเดียวกันหรือต่างสาขาก็ได้ หรือจะอยู่คนละภูมิประเทศก็ได้  
  • 131. ระบบเอ็กทราเนต ( Extranet) เป็นอีกลักษณะของระบบเครือข่ายที่เป็นระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร ( Inter-Organization ; I-OIS) ใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างองค์กรที่มีความสัมพันธ์กัน ต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ติดต่อธุรกรรมกันเป็นประจำ  ระหว่างพนักงาน บริษัทคู่ค้า   บริษัทลูกค้า หรือบริษัทที่เป็นพันธมิตรกัน
  • 132. ระบบอินเตอร์เนต   ( Internet) เป็นระบบที่รู้จักกันดีและใช้งานกันอยู่เป็นประจำ  เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน  เชื่อมโยงศูนย์คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าไว้เป็นระบบเดียว จึงเป็นระบบสื่อสารที่ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว และมีผู้ใช้บริการเป็นจำนวนมาก   เพราะมีประโยชน์ในวงกต่างๆ มากมาย
  • 133. ภาพที่ 2.18 : โครงสร้างการให้บริการอินเตอร์เนต
  • 135. 3.1 การสื่อสารในตนเอง ( Intapersonal or Self-Communication) เป็นการสื่อสารภายในตัวเอง หมายถึง บุคคลผู้นั้นเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน เช่น การเขียนและอ่านหนังสือ เป็นต้น
  • 136. 3.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล ( Interpersonal Communication) เป็นการสื่อสารระหว่างคน 2 คน เช่น การสนทนา หรือการโต้ตอบจดหมายระหว่างกัน เป็นต้น
  • 137. 3.3 การสื่อสารแบบกลุ่มชน ( Group Communication) เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลกับกลุ่มชนซึ่งประกอบด้วยคนจำนวนมาก เช่น การสอนในห้องเรียนระหว่างครูเพียงคนเดียวกับนักเรียนทั้งห้อง หรือระหว่างกลุ่มชนกับบุคคล เช่น กลุ่มชนมาร่วมกันฟังคำปราศรัยหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้ง เป็นต้น
  • 138.   3.4 การสื่อสารมวลชน ( Mass Communication) เป็นการสื่อสารโดยการอาศัยสื่อมวลชนประเภทวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น นิตรสาร หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ แผ่นโปสเตอร์ ฯลฯ เพื่อการติดต่อไปยังผู้รับสารจำนวนมากซึ่งเป็นมวลชนให้ได้รับข้อมูลข่าวสารเดียวกันในเวลาพร้อม ๆ หรือไล่เรี่ยกัน                   
  • 139. 2. จำแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก แบ่งเป็น 2.1 การสื่อสารเชิงวัจนะ ( Verbal Communication) หมายถึงการสื่อสารด้วยการใช้ภาษาพูด หรือเขียนเป็นคำพูด ในการสื่อสาร 2.2 การสื่อสารเชิงอวัจนะ ( Non-Verbal Communication) หมายถึงการสื่อสารโดยใช้รหัสสัญญาณอย่างอื่น เช่น ภาษาท่าทาง การแสดงออกทางใบหน้า สายตา ตลอดจนถึงน้ำเสียง ระดับเสียง ความเร็วในการพูด เป็นต้น
  • 140. 3. จำแนกตามจำนวนผู้สื่อสาร กิจกรรมต่างๆ ของบุคคลและสังคม ถือว่าเป็นผลมาจากการสื่อสารทั้งสิ้น ดังนั้นการสื่อสารจึงมีขอบข่ายครอบคลุมลักษณะการสื่อสารของมนุษย์ 3 ลักษณะคือ ( อรุณีประภา หอมเศรษฐี 2530 : 49-90) 3.1 การสื่อสารส่วนบุคคล ( Intrapersonal Communication) 3.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล ( Interpersonal Communication) 3.3 การสื่อสารมวลชน ( Mass Communication)
  • 141. วิธีการการสื่อสาร แบ่งออกได้ 3 วิธี คือ 1.1 การสื่อสารด้วยวาจา หรือ " วจภาษา " (Oral Communication) 1.2 การสื่อสารที่มิใช่วาจา หรือ " อวจนภาษา " (Nonverbal Communication) 1.3 การสื่อสารด้วยการใช้จักษุสัมผัสหรือการเห็น (Visual Communication)
  • 142.              1.1 การสื่อสารด้วยวาจา หรือ " วจภาษา " (Oral Communication) เช่น การพูด การร้องเพลง เป็นต้น             
  • 143. 1.2 การสื่อสารที่มิใช่วาจา หรือ " อวจนภาษา " (Nonverbal Communication) และการสื่อสารด้วยภาษาเขียน ( Written Communication) เช่น การสื่อสารด้วยท่าทาง ภาษามือและตัวหนังสือ เป็นต้น             
  • 144. 1.3 การสื่อสารด้วยการใช้จักษุสัมผัสหรือการเห็น (Visual Communication) เช่น การสื่อสารด้วยภาพ โปสเตอร์ สไลด์ เป็นต้น ( Eyre 1979:31) หรือโดยการใช้สัญลักษณ์และเครื่องหมายต่าง ๆ เช่น ลูกศรชี้ทางเดิน เป็นต้น
  • 145. รูปแบบของการสื่อสาร แบ่งได้เป็น 2 รูปแบบ คือ   1. การสื่อสารทางเดียว (One - Way Communication) 2. การสื่อสารสองทาง (Two-Way Communication)
  • 146. 1. การสื่อสารทางเดียว (One - Way Communication) เป็นการส่งข่าวสารหรือการสื่อความหมายไปยังผู้รับแต่เพียงฝ่ายเดียว โดยที่ผู้รับไม่สามารถมีการตอบสนองในทันที ( immediate response) ให้ผู้ส่งทราบได้ แต่อาจจะมีปฏิกิริยาสนองกลับ ( feedback) ไปยังผู้ส่งภายหลังได้ การสื่อสารในรูปแบบนี้จึงเป็นการที่ผู้รับไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันได้ทันที จึงมักเป็นการสื่อสารโดยอาศัยสื่อมวลชน เช่น การฟังวิทยุ หรือการชมโทรทัศน์ เหล่านี้เป็นต้น
  • 147.             2 การสื่อสารสองทาง (Two-Way Communication) เป็นการสื่อสารหรือการสื่อความหมายที่ผู้รับมีโอกาสตอบสนองมายังผู้ส่งได้ในทันที โดยที่ผู้ส่งและผู้รับอาจจะอยู่ต่อหน้ากันหรืออาจอยู่คนละสถานที่ก็ได้ แต่ทั้งสองฝ่ายจะสามารถมีการเจรจาหรือการโต้ตอบกันไปมา โดยที่ต่างฝ่ายต่างผลัดกันทำหน้าที่เป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับในเวลาเดียวกัน เช่น การพูดโทรศัพท์ การประชุม เป็นต้น  
  • 150. 2. จากรูปลักษณะนี้เรียกว่าระบบอะไร เครือข่ายแบบบัส ( Bus) เครือข่ายแบบดาว ( star ) ระบบเครือข่ายแบบวงแหวน ( Ring Topology )
  • 151. 3. การสื่อสารทางเดียว ( One-Way Communication) คืออะไร การ สื่อสารที่ข่าวสารจะถูกส่งจากผู้ส่งไปยังผู้รับในทิศทางเดียว การสื่อสารที่มีการส่งข่าวสารตอบกลับไปมาระหว่างผู้สื่อสาร เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลกับกลุ่มชนซึ่งประกอบด้วยคนจำนวนมาก
  • 152. 4. เครือข่ายเฉพาะบริเวณ ( LAN) มีลักษณะการทำงานอย่างไร เป็นการบริการเฉพาะหน่วยงาน   มีขีดความสามารถในการให้บริการทั้งรับและส่งข้อมูล  ทั้งภาพและเสียง มีขอบเขตการทำงานแคบ  มักอยู่ในอาคาร  ออฟฟิศ สำนักงาน หรือหลายอาคารที่อยู่ติดกัน เป็นระบบที่มีขอบเขตการใช้งานกว้างกว่า
  • 156.  
  • 157. " ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือระบบเน็ตเวิร์ก คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกนำมาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้ " เครือข่ายนั้นมีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองสามเครื่อง เพื่อใช้งานในบ้านหรือในบริษัทเล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก
  • 158. องค์ประกอบพื้นฐานของเครือข่าย                  การที่คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้ ต้องมีองค์ประกอบพื้นฐานดังต่อไปนี้
  • 159.                 - เน็ตเวิร์ดการ์ด   หรือ   NIC ( Network   Interface   Card) เป็นการ์ดที่เสียบเข้ากับช่องที่ เมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์   ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
  • 160. - สื่อกลางและอุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล   เช่น   สายสัญญาณ   ส่วนสายสัญญาณที่นิยมที่ใช้กันในเครือข่ายก็เช่น   สายโคแอ็กเชียล   สายคู่เกลียวบิด   และสายใยแก้วนำแสง   เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์ เครือข่าย   เช่น   ฮับ สวิตช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็นต้น
  • 161. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน ลักษณะของสายโคแอกเชียล ลักษณะของเส้นใยนำแสง
  • 162. 3   อุปกรณ์เครือข่าย    อุปกรณ์ที่นำมาใช้ในเครือข่ายทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ - ส่งข้อมูลในเครือข่าย    หรือใช้สำหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ - ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ้น     หรือใช้สำหรับขยายเครือข่ายให้มีขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์
  • 163.    ฮับ (HUB) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์    ฮับมีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง    เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย
  • 164. สวิตซ์  ( Switch)  หรือ บริดจ์  ( Bridge)  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้าด้วยกัน  โดยจะต้องเป็น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ในการเชื่อมต่อ Ethernet LAN ทั้งสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน                                             
  • 165. เราท์เตอร์   ( Routing )   เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่คล้ายกับบริดจ์  
  • 166. โปรโตคอล   หมายถึง   กฎเกณฑ์   ข้อตกลง   ภาษาสื่อสาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย ( ระบบใดๆ ก็ตาม ) ให้สามารถติดต่อสื่อสารมีการใช้งานร่วมกันได้หลากหลาย
  • 167. การจำแนกประเภทของเครือข่าย                     เครือข่ายสามารถจำแนกออกได้เป็นหลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ คล้ายกับการจำแนกของ รถยนต์ ถ้าใช้ขนาดเป็นเกณฑ์ จะสามารถแบ่งออกได้ โดยทั่วไปจำแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่  3  วิธีคือ
  • 168. 1.   ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามขนาดทางภูมิศาสตร์                       ถ้าใช้ขนาดทางกายภาพเป็นเกณฑ์   เครือข่ายก็ต้องสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภทคือ   LAN หรือเครือข่ายท้องถิ่น   และ MAN หรือเครือข่ายในบริเวณกว้าง LAN เป็นเครือข่ายที่มีใช้ในขนาดเล็กที่ครอบคลุมพื้นที่ในบริเวณจำกัด เช่น   ภายในห้อง หรือภายในอาคาร   หรืออาจครอบคลุมไปถึงหลายอาคารที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง เช่น ในวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย ซึ่งบางทีเรียกว่า “ เครือข่ายวิทยาเขต (Campus   Network ) ” 
  • 169.                      1.1   เครือข่ายท้องถิ่น   (Local Area Network หรือ Lan)   เป็นเครือข่ายระยะใกล้ใช้กันอยู่ในบริเวณที่ไม่กว้างมากนัก   อาจอยู่ในองค์กรเดียวกัน   หรืออาคารที่ใกล้กัน   1   อีเธอร์เน็ต  Ethernet 2 โทเคนริง (Token Ring) 3  ATM ย่อมาจากคำว่า “ Asynchronous Trasfer Mode” ไม่ได้มีความหมายถึงตู้ ATM ( Automatic  Teller  Machine) ที่เราใช้ถอนเงินสดจากธนาคาร แต่บางทีตู้ ATM
  • 170. 1.2 ระบบเครือข่ายแบบกว้าง ( Wide Area Network: WAN) ในระบบเครือข่าย    WAN   แบบบริเวณกว้าง  โดยส่วนใหญ่แล้วก็จะเป็นเครือข่ายที่ระยะไกลเป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงเครือข่ายแบบท้องถิ่นตั้งแต่ 2 เครือข่ายขึ้นไปเข้าไว้ด้วยกันโดยผ่านระยะทางที่ไกลมาก  โดยทั่วไปอาศัยสายโทรศัพท์ขององค์การโทรศัพท์   และคลื่นไมโครเวฟ  เป็นตัวกลางในการรับ - ส่งข้อมูล ระบบนี้เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าแบบแรก
  • 172. 2.   ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามหน้าที่ของคอมพิวเตอร์ ที่กล่าวมาข้างต้น เป็นเพียงการจำแนกประเภทของเครือข่ายตามขนาดพื้นที่ที่ครอบคลุมถึงเท่านั้น  การจำแนกประเภทของเครือข่ายยังสามารถจำแนกได้  โดยใช้ลักษณะการแชร์ข้อมูลของคอมพิวเตอร์  หรือหน้าที่ของคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครือข่ายเป็นเกณฑ์  เพื่อเป็นการแบ่งประเภทของเครือข่าย ซึ่งเมื่อใช้หลักการนี้แล้วเราสามารถแบ่งเครือข่ายออกได้เป็น  2  ประเภทคือ
  • 173. 2.1   เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์  ( Peer – To - Peer) โดยเป็นการเชื่อมต่อของเครื่องทุกเครื่องที่ใช้ในระบบเครือข่าย  และยังมีสถานะเท่าเทียมกันหมด โดยเป็นเครื่องทุกเครื่องสามารถเป็นได้ทั้งเครื่องผู้ใช้บริการและผู้ให้เครื่องบริการในขณะใดขณะหนึ่ง
  • 174. 2.2    เครือข่ายแบบไคลเอนท์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server   Network) ถ้าระบบเครือข่ายมีคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก ควรสร้างเครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์   เนื่องจากง่ายและค่าใช้จ่ายจะถูกกว่า   แต่เมื่อเครือข่ายนั้นมีการขยายใหญ่ขึ้นจำนวนผู้ใช้ก็มากขึ้นเช่นกัน   การดูแลและการจัดการระบบก็จะซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
  • 175. 2 . 3   ประเภทของเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการแบบต่าง ๆ ก .     ไฟล์เซิร์ฟเวอร์   (File Server) ข .   พรินต์เซิร์ฟเวอร์  Print  Server ค .   แอพพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์   (Application  Server) ง .    อินเตอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet  Server)      
  • 176. 3.     ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล     อีกวิธีหนึ่งในการแบ่งประเภทของเครือข่ายคือ   การใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูล   ซึ่งจะแบ่งออกได้เป็น   3   ประเภทด้วยกันก็คือ อินเตอร์เน็ต (Internet) , อินทราเน็ต (Intranet) ,   เอ็กส์ตราเน็ต ( Extranet )  
  • 177. 3.1  อินเตอร์เน็ต ( Internet)        อินเตอร์เน็ต   ( Internet) นั้นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์     ที่นำก่อตั้งโดยกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา  อินเตอร์เน็ตในสมัยยุคแรก ๆ เมื่อประมาณปี  พ . ศ . 2512   เป็นเพียงการนำคอมพิวเตอร์จำนวนไม่กี่เครื่องนั้นมาเชื่อมต่อกันเท่านั้น โดยมีเพียงสายส่งสัญญาณ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 
  • 178. 2   อินทราเน็ต (Intarnet)      ตรงกันข้ามกับอินเตอร์เน็ต   อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต   เช่น   เว็บ , อีเมล ,FTP แต่อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP แต่ใช้สำหรับการรับ - ส่งข้อมูลเช่นเดียวกับอินเตอร์เน็ตซึ่งโปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กับฮาร์ดแวร์หลายประเภท และสายสัญญาณหลายประเภทฮาร์ดแวร์ที่ใช้สร้างเครือข่ายนี้ไม่ใช่ปัจจัยหลักของอินทราเน็ต
  • 179. 3.3  เอ็กส์ตราเน็ต ( Extranet)      เอ็กส์ตราเน็ต ( Extranet) เป็นเครือข่ายแบบกึ่งอินเตอร์เน็ตกึ่งอินทราเน็ต    เอ็กส์ตราเน็ต คือ  เครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของ 2 องค์กร  ดังนั้นจะมีบางส่วนของเครือข่ายที่เป็นเจ้าของร่วมกันระหว่าง 2 องค์กรหรือบริษัท
  • 180. ไมโครคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาท มีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือที่เรียกว่า " ซีเอไอ " ( CAI-Computer Aided Instruction) มีการผลิต CD เพื่อเก็บรวบรวมความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเล่าเรียน มีการสร้างเอกสาร " ไฮเปอร์เท็กซ์ " ( Hypertext) ที่เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และเป็นแหล่งค้นหาความรู้ได้อย่างรวดเร็ว
  • 181. SchoolNet เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อโรงเรียนมัธยมในประเทศไทยเข้าด้วยกัน และเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตเพื่อเป็น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบทรัพยากรการเรียนรู้ต่าง ๆ มาช่วยยกระดับการศึกษาของนักเรียนไทย เครือข่ายโรงเรียนไทย ยังช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโลก
  • 183. โรงเรียนที่ร่วมโครงการในระยะแรก มีประมาณ 100 โรงเรียนทั่วประเทศ โดยมีศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติเป็นแกนกลาง จากการดำเนินโครงการมีโรงเรียนรัฐบาลและเอกชนสนใจเข้าร่วมโครงการมากขึ้น ปัจจุบันมีโรงเรียนเข้าร่วม โครงการจำนวน 673 โรงเรียน ตัวอย่างโฮมเพจของโรงเรียนต่าง ๆ ใน SchoolNet
  • 185. 1. ฮับ (HUB) คืออะไร อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้าด้วยกัน เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่คล้ายกับบริดจ์  
  • 187. 3. เอ็กส์ตราเน็ต ( Extranet) คืออะไร เป็นเพียงการนำคอมพิวเตอร์จำนวนไม่กี่เครื่องนั้นมาเชื่อมต่อกันเท่านั้น โดยมีเพียงสายส่งสัญญาณ อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต   เครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของ 2 องค์กร 
  • 188. 4.ATM ย่อมาจากคำว่าอะไร Asynchronous Trasfer Mode Automatic  Teller  Machine Asynchronous Teller Mode
  • 192.  
  • 193. ความหมาย การสั่งการให้คอมพิวเตอร์กระทำตามขั้นตอนและแผนงานต่าง ๆ ตามเงื่อนไขและข้อตกลงที่ได้ดำเนินการหรือจัดเตรียมไว้แล้ว ซอฟต์แวร์จึงเป็นผลที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามกรอบของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
  • 194. การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำงานให้กับเราได้มากมาย เพราะว่ามีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทำบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋ว คอมพิวเตอร์ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงาม เป็นต้น การที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ �