SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
เรื่อง ความหมายของลาดับเลขคณิต

คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์

                                                                           พจน์ที่ 2              พจน์ที่ 3 ลบ              พจน์ที่ 4 ลบ ลาดับเลขคณิต
 ข้อที่                              ลาดับ                                ลบพจน์ที่ 1              พจน์ที่ 2                 พจน์ที่ 3
                                                                                                                                         เป็น ไม่เป็น
    1            2, 4, 6, 8, 10, . . .                4–2 = 2 6–4 = 2 8–6 = 2                                                                    /
    2            1, 9, 25, 49, . . .                  9 – 1 = 8 25 – 9 = 16 49 – 25 = 24                                                             /
    3            1, 4, 9, 16, 25, . . .
    4            1, 4, 7, 10, 13, . . .
    5            3, 6, 12, 24, . . .
    6            2, 6, 10, 14, . . .
    7            3, 4, 5, 6, . . ., n + 1, n + 2, . .
             .
    8            4, 9, 14, 19, 5n – 6, 5n – 1, . .
             .


สรุป ลาดับเลขคณิต คือ ………………………………………………………………………
.............................................................................................................................................
                                                                                     .
.............................................................................................................................
                                                                                                                            .................
..............................................................................................................................................
เฉลยเอกสารแนะแนวทางที่ 4
                         เรื่อง ความหมายของลาดับเลขคณิต



                                                                           ลาดับเลขคณิต
ข้อที่ พจน์ที่ 2ลบพจน์ที่ 1     พจน์ที่3 ลบพจน์ที่ 2   พจน์ที่4ลบพจน์ที่ 3 เป็น ไม่เป็น
  3     4–1 = 3                  9 – 4 = 5              16 – 9 = 7                  /
  4     4–1 = 3                  7 – 4 = 3             10 – 7 = 3           /
  5     6–3 = 3                  12 – 6 = 6             24 – 12 = 12                /
  6     6–2 = 4                  10 – 6 = 4             14 – 10 = 4         /
  7     4–3 = 1                   5–4 = 1                  6–5 = 1          /
  8     9–4 = 5                  14 – 9 = 5             19 – 14 = 5         /


 สรุป    ลาดับเลขคณิต คือ ลาดับที่มีผลต่างซึ่งได้จากพจน์ที่ n + 1 ลบด้วยพจน์ที่ n
         มีค่าคงที่ ค่าคงที่นี้เรียกว่า ผลต่างร่วม (Common Difference)
ใบกิจกรรมที่ 3
                             เรื่อง ความหมายของลาดับเลขคณิต

คาชี้แจง      ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์

                                                                               ลาดับเลขคณิต
ข้อที่ ลาดับ                                                  ผลต่างร่วม
                                                                              เป็น ไม่เป็น
  1        4, 8, 16, 32, . . .
  2        3, 5, 7, . . . , 2n + 1, . . .
  3        6, 16, 26, . . . , 10n – 4, . . .
  4        5, 10, 20, 40, . . . , 5(2)n – 1, . . .
  5        x + 3, x + 6, x + 9, . . . , x + 3n, . . .
  6        2, 4, 8, . . . , 2n , . . .
  7        3, 9, 1 , . . . , 9(3- n), . . .
                 3
  8        7, 10, 13, . . . , 3n + 4, . . .
  9        1, 4, 9, 16, 25
 10        10, 5, 5 , . . . , 20(2- n), . . .
                   2
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3
         เรื่อง ความหมายของลาดับเลขคณิต


ข้อที่        ผลต่างร่วม            ลาดับเลขคณิต
                                 เป็น        ไม่เป็น
   1             ไม่มี                          /
   2               2              /
   3              10              /
   4             ไม่มี                          /
   5               3              /
   6             ไม่มี                          /
   7             ไม่มี                          /
   8               3              /
   9             ไม่มี                          /
  10             ไม่มี                          /
ใบความรู้ที่ 2

         ลาดับเลขคณิต (Arithmetic Sequence)
         ลาดับเลขคณิต คือ ลาดับที่มีผลต่างซึ่งได้จากพจน์ที่ n + 1 ลบด้วยพจน์ที่ n มีค่าคงที่
    เสมอ ซึ่งค่าคงที่นี้เรียกว่า ผลต่างร่วม (Common difference) เขียนแทนด้วย d
         ถ้ากาหนดให้ d เป็นผลต่างร่วม แล้ว
                    d = an + 1 – an
              หรือ an + 1 = an + d เมื่อ n  I+
              ถ้ากาหนดให้ d เป็นผลต่างร่วม และ a1 เป็นพจน์แรก แล้วสามารถเขียนพจน์
    อื่น ๆ ของลาดับเลขคณิตในรูปของ a1 และ d ได้ดังนี้
                    a1 , a1 + d , a1 + 2d , a1 + 3d , . . .

                   a1    =    a1 + 0d
                   a2    =    a1 + d
                   a3    =    a2 + d =         (a1 + d) + d        = a1 + 2d
                   a4    =    a3 + d =         (a1 + 2d) + d = a1 + 3d
                   ..                               ..
                    .                                .
                    an   =    an - 1 + d =     (a1 + (n – 2)d) + d = a1 + (n – 1)d

        พจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิต คือ
                   an = a1 + (n – 1)d
        เมื่อ an เป็นพจน์ที่ n หรือพจน์ที่ต้องการหาของลาดับเลขคณิต
              a1 เป็นพจน์ที่ 1 ของลาดับเลขคณิต
              d เป็นผลต่างร่วม (Common difference)



ตัวอย่างที่ 1      กาหนดลาดับเลขคณิต คือ 5, 8, 11, . . . จงหาอีก 3 พจน์

    วิธีทา จากลาดับเลขคณิต 5, 8, 11, . . .
           จะได้ a1 = 5 และ d = 8 – 5 = 3
            a4            = a1 + 3d
                     = 5 + 3(3)
                     = 14
                 a5        = a1 + 4d
= 5 + 4(3)
                     = 17
                 a6          = a1 + 5d
                     = 5 + 5(3)
                     = 20
 ลาดับเลขคณิตนี้ คือ 5, 8, 11, 14, 17, 20

ตัวอย่างที่ 2 ลาดับเลขคณิตชุดหนึ่งมีพจน์ที่ 4 เท่ากับ 18 และพจน์ที่ 7 เท่ากับ 16
                    จงหาผลต่างร่วมและพจน์ที่ 1 ของลาดับชุดนี้
    วิธีทา             a4 = a1 + 3d
                             18          = a1 + 3d            …………………… 
                    และ       a7         = a1 + 6d
                             16 = a1 + 6d …………………… 
               - ;        -2 = 3d
                            d = 2     3
            แทนค่า d ใน  จะได้
                        18 = a1 + 3(  2 )
                                       3
                        18 = a1 – 2
                        20 = a1
             ผลต่างร่วม คือ  2 และพจน์ที่ 1 คือ 20
                               3
ใบความรู้ที่ 3
การหาพจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิต
              an = a1 + (n – 1)d
   เมื่อ an เป็นพจน์ที่ n หรือพจน์ที่ต้องการหาของลาดับเลขคณิต
         a1 เป็นพจน์ที่ 1 ของลาดับเลขคณิต
         d เป็นผลต่างร่วม (Common difference)

ตัวอย่างที่ 1 จงหาพจน์ที่   n (พจน์ทั่วไป) ของลาดับเลขคณิต 3, 7, 11, 15, . . .
วิธีทา จากโจทย์ จะได้        a1 = 3 และ d = 7 – 3 = 4
         จากสูตร   an       =     a1 + (n – 1)d
                   an       =     3 + (n – 1)(4)
                            =     3 + 4n – 4
                             =      4n – 1

ตัวอย่างที่ 2 จงหาพจน์ที่   n (พจน์ทั่วไป) ของลาดับเลขคณิต 6, 13, 20, 27, . . .
วิธีทา จากโจทย์ จะได้        a1 = 6 และ d = 13 – 6 = 7
         จากสูตร   an       =     a1 + (n – 1)d
                   an       =     6 + (n – 1)(7)
                            =     6 + 7n – 7
                            =     7n – 1

ตัวอย่างที่ 3 กาหนดลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 4 เป็น 21 และพจน์ที่ 51 เป็น -355
              จงหาลาดับนี้
วิธีทา จากสูตร       an =      a1 + (n – 1)d
               a4 =           a1 + (4 – 1)d
                           =   a1 + 3d
                      a51 =    a1 + (51 – 1)d
                           =   a1 + 50d
     จาก
          a1 + 3d = 21                         ………………… 
              a1 + 50d = -355                   ………………… 
     -;          47d = -376
                     d = -8
แทนค่า d ใน 
         a1 + 3(-8) =         21
               a1 =           45
                an =        45 + (n – 1)(-8)
                    =        45 + (-8n + 8)
                    =        53 – 8n
   จะได้       a2 =          53 – (8  2)          =   53 – 16   =   37
               a3 =          53 – (8  3)          =   53 – 24   =   29

 ลาดับนี้คือ 45, 37, 29, . . . , 53 – 8n, . . .
แบบฝึกหัดที่ 3

คาชี้แจง    ให้นักเรียนแสดงวิธีทา

1. ถ้าลาดับเลขคณิต 2, 4, 6, 8, 10, 12, . . . จงหา
   1.1 ผลต่างร่วม
   1.2 พจน์ที่ 12
   1.3 พจน์ที่ n

2. ถ้าลาดับเลขคณิตคือ 2, -3, -8, -13, . . . จงหา
   2.1 ผลต่างร่วม
   2.2 พจน์ที่ 20
   2.3 พจน์ที่ n

3. ถ้าลาดับเลขคณิตคือ a, a + 7, a + 14, a + 21, . . . จงหา
   3.1 ผลต่างร่วม
   3.2 พจน์ที่ 26
   3.3 พจน์ที่ 15
   3.4 พจน์ที่ n
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3


1)   1.1 2
     1.2 24
     1.3 2n

2)   2.1 -5
     2.2 -93
     2.3 7 – 3n

3)   3.1   7
     3.2   a + 175
     3.3   a + 98
     3.4   7n + a – 7
ใบความรู้ 4

การหาจานวนพจน์ของลาดับเลขคณิต
     ในการหาจานวนพจน์ของลาดับเลขคณิตจะต้องใช้สูตรการหาพจน์ที่ n เข้าช่วย ดังนี้
         จากสูตร an     =       a1 + (n – 1)d
                        =       a1 + dn – d
                 dn =           an – a1 + d
                                a n - a1    d
                  n =               d
                                         
                                            d
                                     a n - a1
                   n        =           d
                                               1


          หรือ        n      =       พจน์ทาย - พจน์แรก
                                          ้                 1
                                              d


  ตัวอย่างที่ 1 ลาดับเลขคณิตชุดหนึ่ง คือ 7, 12, 17, 22, . . . , 282 จงหาว่าลาดับนี้
                 มีกี่พจน์
  วิธีทา วิธีที่ 1 จากโจทย์จะได้ a1 = 7, d = 12 – 7 = 5 และ an = 282
           จากสูตร         an = a1 + (n – 1)d
           แทนค่า 282 = 7 + (n – 1)(5)
                       282 = 7 + 5n – 5
                       280 = 5n
                  n = 56

                                            a n - a1
          วิธีที่ 2   จาก        n =            d
                                                      1

                                     282 - 7
                             =          5
                                              1

                                      275
                             =         5
                                            1

                           =     55 + 1
                           =     56
           ลาดับชุดนี้มีจานวน 56 พจน์
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดตัวเลข 10 ถึง 1,000 จงหาจานวนที่หารด้วย 13 ลงตัว
    วิธีทา จานวน 10 ถึง 1,000 ที่หารด้วย 13 ลงตัว ได้แก่ 13, 26, 39, . . . , 988
              จะได้ a1 = 13 , d = 26 – 13 = 13 และ an = 988
                    จากสูตร an       =     a1 + (n – 1)d
              แทนค่า         988 =         13 + (n –1)(13)
                             988 =         13 + 13n – 13
                             988 =         13n
                            n       =     988
                                              13
                                     =        76

                                     a n - a1
           หรือ       n      =                1
                                        d
                                     988 - 13
                             =         13
                                                1

                                     975
                             =       13
                                            1

                             =       75 + 1
                             =       76

        ตัวเลข 10 ถึง 1,000 ที่หารด้วย 13 ลงตัว มี 76 จานวน
แบบฝึกหัดที่ 4
คาชี้แจง     ให้นักเรียนแสดงวิธีทา

1.   กาหนดลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 1 เป็น 3 และผลต่างร่วมเป็น -3 ถ้า an = - 15 จงหา n
2.   ลาดับเลขคณิตชุดหนึ่ง คือ 5, 12, 19, 26, . . . , 670 จงหาว่าลาดับนี้มีกี่พจน์
3.   ลาดับเลขคณิต 24, 19, 14, 9, . . . , - 46 จงหาว่าลาดับนี้มีกี่พจน์
4.   จงหาว่าจานวนระหว่าง 1 และ 500 มีกี่จานวนที่หารด้วย 6 ลงตัว
5.   กาหนดตัวเลข 10 ถึง 1,000 จงหาว่ามีกี่จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 4



1.   7
2.   96
3.   15
4.   330
5.   63

Contenu connexe

Tendances

ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันสรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมaossy
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวsontayath
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 

Tendances (20)

ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชันสรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สรุปเนื้อหาความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
 

En vedette (6)

ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
M5 1 1.9_1
M5 1  1.9_1M5 1  1.9_1
M5 1 1.9_1
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 

Similaire à ลำดับเลขคณิต 2

เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับPumPui Oranuch
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการkanjana2536
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังFern Baa
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับaoynattaya
 
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลาSutthi Kunwatananon
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannkru_ann
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
Arithmetic บวกลบคูณหาร
Arithmetic บวกลบคูณหารArithmetic บวกลบคูณหาร
Arithmetic บวกลบคูณหารb39suki
 

Similaire à ลำดับเลขคณิต 2 (20)

ลำดับ11
ลำดับ11ลำดับ11
ลำดับ11
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
2252670.pdf
2252670.pdf2252670.pdf
2252670.pdf
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
59 ภาคตัดกรวย-พาราโบลา-วงรี-ไฮเพอร์โบลา
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
Arithmetic บวกลบคูณหาร
Arithmetic บวกลบคูณหารArithmetic บวกลบคูณหาร
Arithmetic บวกลบคูณหาร
 

Plus de aoynattaya

อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
อนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิตอนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิตaoynattaya
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตaoynattaya
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับaoynattaya
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนaoynattaya
 
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]aoynattaya
 
51ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s30251ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s302aoynattaya
 

Plus de aoynattaya (12)

อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
อนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิตอนุกรสเรขาคณิต
อนุกรสเรขาคณิต
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
51ma m1 sosu8s302 [โหมดความเข้ากันได้]
 
51ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s30251ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s302
 

ลำดับเลขคณิต 2

  • 1. เรื่อง ความหมายของลาดับเลขคณิต คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3 ลบ พจน์ที่ 4 ลบ ลาดับเลขคณิต ข้อที่ ลาดับ ลบพจน์ที่ 1 พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3 เป็น ไม่เป็น 1 2, 4, 6, 8, 10, . . . 4–2 = 2 6–4 = 2 8–6 = 2 / 2 1, 9, 25, 49, . . . 9 – 1 = 8 25 – 9 = 16 49 – 25 = 24 / 3 1, 4, 9, 16, 25, . . . 4 1, 4, 7, 10, 13, . . . 5 3, 6, 12, 24, . . . 6 2, 6, 10, 14, . . . 7 3, 4, 5, 6, . . ., n + 1, n + 2, . . . 8 4, 9, 14, 19, 5n – 6, 5n – 1, . . . สรุป ลาดับเลขคณิต คือ ……………………………………………………………………… ............................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ................. ..............................................................................................................................................
  • 2. เฉลยเอกสารแนะแนวทางที่ 4 เรื่อง ความหมายของลาดับเลขคณิต ลาดับเลขคณิต ข้อที่ พจน์ที่ 2ลบพจน์ที่ 1 พจน์ที่3 ลบพจน์ที่ 2 พจน์ที่4ลบพจน์ที่ 3 เป็น ไม่เป็น 3 4–1 = 3 9 – 4 = 5 16 – 9 = 7 / 4 4–1 = 3 7 – 4 = 3 10 – 7 = 3 / 5 6–3 = 3 12 – 6 = 6 24 – 12 = 12 / 6 6–2 = 4 10 – 6 = 4 14 – 10 = 4 / 7 4–3 = 1 5–4 = 1 6–5 = 1 / 8 9–4 = 5 14 – 9 = 5 19 – 14 = 5 / สรุป ลาดับเลขคณิต คือ ลาดับที่มีผลต่างซึ่งได้จากพจน์ที่ n + 1 ลบด้วยพจน์ที่ n มีค่าคงที่ ค่าคงที่นี้เรียกว่า ผลต่างร่วม (Common Difference)
  • 3. ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ความหมายของลาดับเลขคณิต คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ลาดับเลขคณิต ข้อที่ ลาดับ ผลต่างร่วม เป็น ไม่เป็น 1 4, 8, 16, 32, . . . 2 3, 5, 7, . . . , 2n + 1, . . . 3 6, 16, 26, . . . , 10n – 4, . . . 4 5, 10, 20, 40, . . . , 5(2)n – 1, . . . 5 x + 3, x + 6, x + 9, . . . , x + 3n, . . . 6 2, 4, 8, . . . , 2n , . . . 7 3, 9, 1 , . . . , 9(3- n), . . . 3 8 7, 10, 13, . . . , 3n + 4, . . . 9 1, 4, 9, 16, 25 10 10, 5, 5 , . . . , 20(2- n), . . . 2
  • 4. เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ความหมายของลาดับเลขคณิต ข้อที่ ผลต่างร่วม ลาดับเลขคณิต เป็น ไม่เป็น 1 ไม่มี / 2 2 / 3 10 / 4 ไม่มี / 5 3 / 6 ไม่มี / 7 ไม่มี / 8 3 / 9 ไม่มี / 10 ไม่มี /
  • 5. ใบความรู้ที่ 2 ลาดับเลขคณิต (Arithmetic Sequence) ลาดับเลขคณิต คือ ลาดับที่มีผลต่างซึ่งได้จากพจน์ที่ n + 1 ลบด้วยพจน์ที่ n มีค่าคงที่ เสมอ ซึ่งค่าคงที่นี้เรียกว่า ผลต่างร่วม (Common difference) เขียนแทนด้วย d ถ้ากาหนดให้ d เป็นผลต่างร่วม แล้ว d = an + 1 – an หรือ an + 1 = an + d เมื่อ n  I+ ถ้ากาหนดให้ d เป็นผลต่างร่วม และ a1 เป็นพจน์แรก แล้วสามารถเขียนพจน์ อื่น ๆ ของลาดับเลขคณิตในรูปของ a1 และ d ได้ดังนี้ a1 , a1 + d , a1 + 2d , a1 + 3d , . . . a1 = a1 + 0d a2 = a1 + d a3 = a2 + d = (a1 + d) + d = a1 + 2d a4 = a3 + d = (a1 + 2d) + d = a1 + 3d .. .. . . an = an - 1 + d = (a1 + (n – 2)d) + d = a1 + (n – 1)d พจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิต คือ an = a1 + (n – 1)d เมื่อ an เป็นพจน์ที่ n หรือพจน์ที่ต้องการหาของลาดับเลขคณิต a1 เป็นพจน์ที่ 1 ของลาดับเลขคณิต d เป็นผลต่างร่วม (Common difference) ตัวอย่างที่ 1 กาหนดลาดับเลขคณิต คือ 5, 8, 11, . . . จงหาอีก 3 พจน์ วิธีทา จากลาดับเลขคณิต 5, 8, 11, . . . จะได้ a1 = 5 และ d = 8 – 5 = 3  a4 = a1 + 3d = 5 + 3(3) = 14 a5 = a1 + 4d
  • 6. = 5 + 4(3) = 17 a6 = a1 + 5d = 5 + 5(3) = 20  ลาดับเลขคณิตนี้ คือ 5, 8, 11, 14, 17, 20 ตัวอย่างที่ 2 ลาดับเลขคณิตชุดหนึ่งมีพจน์ที่ 4 เท่ากับ 18 และพจน์ที่ 7 เท่ากับ 16 จงหาผลต่างร่วมและพจน์ที่ 1 ของลาดับชุดนี้ วิธีทา  a4 = a1 + 3d 18 = a1 + 3d ……………………  และ a7 = a1 + 6d 16 = a1 + 6d ……………………   - ; -2 = 3d  d = 2 3 แทนค่า d ใน  จะได้ 18 = a1 + 3(  2 ) 3 18 = a1 – 2 20 = a1  ผลต่างร่วม คือ  2 และพจน์ที่ 1 คือ 20 3
  • 7. ใบความรู้ที่ 3 การหาพจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิต an = a1 + (n – 1)d เมื่อ an เป็นพจน์ที่ n หรือพจน์ที่ต้องการหาของลาดับเลขคณิต a1 เป็นพจน์ที่ 1 ของลาดับเลขคณิต d เป็นผลต่างร่วม (Common difference) ตัวอย่างที่ 1 จงหาพจน์ที่ n (พจน์ทั่วไป) ของลาดับเลขคณิต 3, 7, 11, 15, . . . วิธีทา จากโจทย์ จะได้ a1 = 3 และ d = 7 – 3 = 4 จากสูตร an = a1 + (n – 1)d an = 3 + (n – 1)(4) = 3 + 4n – 4 = 4n – 1 ตัวอย่างที่ 2 จงหาพจน์ที่ n (พจน์ทั่วไป) ของลาดับเลขคณิต 6, 13, 20, 27, . . . วิธีทา จากโจทย์ จะได้ a1 = 6 และ d = 13 – 6 = 7 จากสูตร an = a1 + (n – 1)d an = 6 + (n – 1)(7) = 6 + 7n – 7 = 7n – 1 ตัวอย่างที่ 3 กาหนดลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 4 เป็น 21 และพจน์ที่ 51 เป็น -355 จงหาลาดับนี้ วิธีทา จากสูตร an = a1 + (n – 1)d  a4 = a1 + (4 – 1)d = a1 + 3d a51 = a1 + (51 – 1)d = a1 + 50d จาก  a1 + 3d = 21 …………………  a1 + 50d = -355 …………………  -; 47d = -376 d = -8
  • 8. แทนค่า d ใน  a1 + 3(-8) = 21 a1 = 45  an = 45 + (n – 1)(-8) = 45 + (-8n + 8) = 53 – 8n จะได้ a2 = 53 – (8  2) = 53 – 16 = 37 a3 = 53 – (8  3) = 53 – 24 = 29  ลาดับนี้คือ 45, 37, 29, . . . , 53 – 8n, . . .
  • 9. แบบฝึกหัดที่ 3 คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา 1. ถ้าลาดับเลขคณิต 2, 4, 6, 8, 10, 12, . . . จงหา 1.1 ผลต่างร่วม 1.2 พจน์ที่ 12 1.3 พจน์ที่ n 2. ถ้าลาดับเลขคณิตคือ 2, -3, -8, -13, . . . จงหา 2.1 ผลต่างร่วม 2.2 พจน์ที่ 20 2.3 พจน์ที่ n 3. ถ้าลาดับเลขคณิตคือ a, a + 7, a + 14, a + 21, . . . จงหา 3.1 ผลต่างร่วม 3.2 พจน์ที่ 26 3.3 พจน์ที่ 15 3.4 พจน์ที่ n
  • 10. เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3 1) 1.1 2 1.2 24 1.3 2n 2) 2.1 -5 2.2 -93 2.3 7 – 3n 3) 3.1 7 3.2 a + 175 3.3 a + 98 3.4 7n + a – 7
  • 11. ใบความรู้ 4 การหาจานวนพจน์ของลาดับเลขคณิต ในการหาจานวนพจน์ของลาดับเลขคณิตจะต้องใช้สูตรการหาพจน์ที่ n เข้าช่วย ดังนี้ จากสูตร an = a1 + (n – 1)d = a1 + dn – d dn = an – a1 + d a n - a1 d n = d  d a n - a1  n = d  1 หรือ n = พจน์ทาย - พจน์แรก ้  1 d ตัวอย่างที่ 1 ลาดับเลขคณิตชุดหนึ่ง คือ 7, 12, 17, 22, . . . , 282 จงหาว่าลาดับนี้ มีกี่พจน์ วิธีทา วิธีที่ 1 จากโจทย์จะได้ a1 = 7, d = 12 – 7 = 5 และ an = 282 จากสูตร an = a1 + (n – 1)d แทนค่า 282 = 7 + (n – 1)(5) 282 = 7 + 5n – 5 280 = 5n  n = 56 a n - a1 วิธีที่ 2 จาก n = d  1 282 - 7 = 5  1 275 = 5  1 = 55 + 1 = 56  ลาดับชุดนี้มีจานวน 56 พจน์
  • 12. ตัวอย่างที่ 2 กาหนดตัวเลข 10 ถึง 1,000 จงหาจานวนที่หารด้วย 13 ลงตัว วิธีทา จานวน 10 ถึง 1,000 ที่หารด้วย 13 ลงตัว ได้แก่ 13, 26, 39, . . . , 988 จะได้ a1 = 13 , d = 26 – 13 = 13 และ an = 988 จากสูตร an = a1 + (n – 1)d แทนค่า 988 = 13 + (n –1)(13) 988 = 13 + 13n – 13 988 = 13n  n = 988 13 = 76 a n - a1 หรือ n = 1 d 988 - 13 = 13  1 975 = 13  1 = 75 + 1 = 76  ตัวเลข 10 ถึง 1,000 ที่หารด้วย 13 ลงตัว มี 76 จานวน
  • 13. แบบฝึกหัดที่ 4 คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทา 1. กาหนดลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 1 เป็น 3 และผลต่างร่วมเป็น -3 ถ้า an = - 15 จงหา n 2. ลาดับเลขคณิตชุดหนึ่ง คือ 5, 12, 19, 26, . . . , 670 จงหาว่าลาดับนี้มีกี่พจน์ 3. ลาดับเลขคณิต 24, 19, 14, 9, . . . , - 46 จงหาว่าลาดับนี้มีกี่พจน์ 4. จงหาว่าจานวนระหว่าง 1 และ 500 มีกี่จานวนที่หารด้วย 6 ลงตัว 5. กาหนดตัวเลข 10 ถึง 1,000 จงหาว่ามีกี่จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว