SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  64
1 
บทที่ 8 
ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส 
NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE
การรับรู้การเปลี่ยนแปลงต่อสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต
3 
nervous system and hormone 
ระบบประสาท 
(nervous system) 
ฮอร์โมน (hormone) 
ระบบประสานงาน 
(coordinating 
system)
ระบบประสาท 
ระบบประสาท หมายถึงระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อม 
โยง การประสานงาน การรับคา สั่ง และปรับระบบต่างๆ ของร่างกาย 
ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท้งัภายนอกและภายใน โดยใช้เวลารวดเร็ว 
และสิน้สุดอย่างรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้ท่อนั้นจะตอบสนองเป็นไป 
อย่างช้าๆ และกระทา ต่อเนื่องเป็นเวลานาน 
การตอบสนองของสัตว์ จึงเป็นการทางานร่วมกันของระบบประสาท 
และระบบต่อมไร้ท่อ 
คุณสมบัติของเซลล์ประสาท 
- ไวต่อสิ่งเร้า (stimulus) 
- นากระแสประสาทได้
หน้าที่ของระบบประสาท 
หน้าที่ของระบบประสาท แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 
1. นาสัญญาณประสาท จากหน่วยรับความรู้สึก (receptor)ไปยัง 
ศูนย์ที่อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง : Sensory input 
2. รวบรวมข้อมูลและแปรผล : integration 
3. นาคาสั่งจากศูนย์สั่งการไปยังหน่วยตอบสนอง effectors : motor 
สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำ บรรยำย 5 
output
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia) แบ่งออกเป็น 9 ไฟลัม 
1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า 
สปอง (Spong) เป็นสัตว์ที่ลา ตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้า 
2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา(PHYLUM COELENTERATA) เรียกสัตว์ 
กลุ่มนี้ว่า ซีเลนเทอเรต ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง 
และไฮดรา 
3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) 
เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า หนอนตัวแบน ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด 
และพลานาเรีย 
4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATOD) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า 
หนอนตัวกลม ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือน 
ฝอย และหนอนในน้าส้มสายชู
5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า 
แอนนีลิด ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือด และปลิงน้าจืด 
6. ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA) เรียกสัตว์กลุ่ม 
นี้ว่า อาร์โทรปอด ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เห็บ ตะขาบ กิง้กือ แมงมุม 
7. ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า 
มอลลักส์เป็นสัตว์ที่มีลา ตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ 
8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) เรียก 
สัตว์กลุ่มนี้ว่าเอคไคโนเดิร์ม เป็นสัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ 
ดาวทะเล เม่นทะเล ปลิงทะเล 
9. ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า 
คอร์เดต ได้แก่ สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
8 
ระบบประสาทของพารามีเซียม 
ไม่มีระบบประสาทที่แท้จริง 
แต่มีเส้นใยประสานงาน 
(co-ordinating fiber) 
ซึ่งอยู่ใต้ผิวเซลล์เชื่อมโยง 
ระหว่างโคนซิเลียแต่ละเส้น 
สามารถรับรู้และตอบสนองได้ 
-เส้นใยประสานงาน ทา หน้าที่ 
ควบคุมการโบกพัดของซีเรีย
โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนอง 
ของพารามีเซียม
การตอบสนอง 
ของ 
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
11 
ระบบประสาทของซีเลนเทอเรต 
ไฮดราและซีเลนเทอเรต ยังไม่มีระบบ 
ประสาท แต่มีเส้นใยประสาท เรียกว่า 
ร่างแหประสาท (nerve net) ที่แตก 
แขนงเชื่อมกันเป็นตาข่าย แผ่กระจายไป 
ทั่วร่างกาย ทา หน้าที่เป็นเซลล์ประสาท 
เมื่อมีการกระต้นุ จะเกิดกระแสประสาท 
แผ่กระจายออกไปทุกทิศทางของร่างกาย 
ปาก และเทนตาเคิล(tentacle) มีเส้น 
ใยประสาทมาก
12 
ระบบประสาทของหนอนตัวแบน 
พลานาเรีย มีปมประสาท 2 ปมอยู่ที่ 
ส่วนหัว เรียกว่า ปมประสาทสมอง 
(cerebral ganglion)ทา หน้าที่เป็นสมอง 
ทางด้านล่างสมอง มีเส้นประสาทแยก 
ออกข้างลาตัวข้างละเส้น เรียกว่า 
เส้นประสาท (nerve cord) ระหว่างเส้น 
เส้นประสาทจะเช่อืมโยงติดต่อกันด้วย 
เส้นประสาทที่วนรอบลา ตัว เรียกว่า วง 
แหวนประสาท(nerve ring)
13 
ระบบประสาทของแอนเนลิด 
ไส้เดือน มีระบบประสาท ประกอบด้วย 
1. สมอง (brain) ปมประสาท 2 ปมเป็นพู เรียกว่าปมประสาท 
ซีรีบรัล (cerebral ganglion) 
2. ปมประสาทใต้คอหอย (subpharyngeal ganglion) เกิด 
จากแขนงประสาทที่แยกออกจากสมองแล้วอ้อมรอบคอหอย 
(circumpharyngeal commissure) มาบรรจบกัน 
3. เส้นประสาททางด้านท้อง(ventral nerve cord) มี 
เส้นประสาท 2 เส้นแต่มักรวมกันเป็นเส้นเดียว และมีปม 
ประสาทแต่ละปล้องและแขนงประสาท 3 - 5 คู่ แยกออกไป 
เลีย้งอวัยวะต่างๆ
ระบบประสาทของไส้เดือนดิน
15 
ระบบประสาทของพวกอาร์โทพอด 
แมลง มีระบบประสาทที่พัฒนามาก 
ประกอบด้วย 
1. สมอง (brain) เกิดจากปมประสาท 2 
ปมมารวมกัน ไปเลีย้ง optic nerve 1 คู่ 
(ตา) และ antennary nerve 1 คู่(หนวด) 
2. ปมประสาทใต้หลอดอาหาร (sub-esophageal 
ganglion) 
3.เส้นประสาททางด้านท้อง (ventral 
nerve cord)
การตอบสนอง 
ของ 
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
การตอบสนองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 
สัตว์มีกระดูกสันหลังโดยเฉพาะคน มีระบบประสาทที่พัฒนามาก 
เซลล์ประสาทเกือบทั้งหมดรวมกันอยู่ที่ส่วนหัว ซึ่งมีขนาดใหญ่ และ 
เจริญมาก มีการพัฒนาไปเป็นสมอง 
ส่วนที่ทอดยาวตามลา ตัวทางด้านหลังเรียกว่า ไขสันหลัง(spinal 
cord) และมีเส้นประสาทแยกออกมาจากสมองและไขสันหลัง 
สมองและไขสันหลัง ทา หน้าที่เป็นศูนย์กลางของระบบประสาท
ตาแหน่งสมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาท
เซลล์ประสาท(nerve cell) 
ร่างกายคนมีเซลล์ประสาท(nerve cell)หรือนิวรอน(neuron) 
ประมาณ 10,000 ล้านถึง 100,000 ล้านเซลล์ที่พัฒนามาจากเนื้อเย่อื 
ชั้นนอก(ectoderm)ทางด้านหลังของตัวอ่อน และพัฒนาเปลี่ยนสภาพ 
เป็นหลอดประสาท(neural tube) และเป็นสมองและไขสันหลัง 
หน้าที่ของเซลล์ประสาท 
1. หน้าที่รับความรู้สึก โดยต้องมีสิ่งเร้ามากระตุ้น 
2. เหนี่ยวนาให้เกิดกระแสความรู้สึกผ่านไปมาได้ 
3. รวบรวมข้อมูลและจดจาข้อมูล 
(สรุป เซลล์ประสาททา หน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้ และการตอบสนอง)
โครงสร้างของเซลล์ประสาท 
เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์ จะประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ 
1. ตัวเซลล์ (Cell Body หรือ Soma) 
2. ใยประสาท (Nerve Fiber) มี 2 ชนิด คือ 
1) เดนไดรต์ (Dendrite) 2) แอกซอน (Axon)
โครงสร้างของเซลล์ประสาท 
1. ตัวเซลล์ประสาท (Cell Body ) มีรูปร่างหลายแบบอาจมีรูป 
กลมรี หรือเป็นเหลี่ยม ประกอบด้วย 
1.1 นิวเคลียส (nucleus) 
1.2 นิวโรพลาซึม(neuroplasm) เป็นไซโทพลาซึมของเซลล์ 
ประสาท ภายในมีออร์กาแนลล์ ได้แก่ ไมโทคอนเดรีย, เอนโด- 
พลาสมิกเรติคิวลัม และกอลจิคอมเพล็กซ์ จานวนมาก
2. ใยประสาท (Nerve Fiber) เป็นส่วนที่ย่นืออกไปจากตัวเซลล์ 
มี 2 ชนิด คือ 
2.1 เดนไดรต์(Dendrite) เป็นใยประสาทที่นากระแสประสาท 
เข้าตัวเซลล์ มีลักษณะเป็นแขนงเล็กๆ มีจา นวนตั้งแต่ 1 ใยต่อเซลล์ 
2.2 แอกซอน (Axon) เป็นใยประสาทที่นากระแสประสาทออกจาก 
ตัวเซลล์ มีจา นวน 1 ใยต่อเซลล์เท่านั้น ภายในส่วนปลายสุดของแอก 
ซอน จะมีถุงบรรจุสารสื่อประสาท(synaptic vesicle) ซ่งึจะหลั่ง 
สารสื่อประสาท เพ่อืใช้ในการถ่ายทอดกระแสประสาทข้ามเซลล์ 
(synapse ) โดยปลายแอกซอนจะถ่ายทอดกระแสประสาทให้กับ 
ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ถัดไป
ส่วนประกอบของเซลล์ประสาท
สา หรับเซลล์ประสาทที่มีใยประสาทยาว (แอกซอน) จะมีเย่อืไมอลีิน 
(myelin sheath)ห้มุเป็นระยะๆ เย่อืไมอีลินเป็นสารจา พวกลิพิด 
จึงเป็นฉนวนกั้นประจุส่วนบริเวณรอยคอดท่เีป็นรอยต่อของเซลล์ 
ชวันน์แต่ละเซลล์เรียกว่า โนดออฟเรนเวียร์ (Node of Ranvier) 
ซ่งึเป็นบริเวณที่ไม่มีเย่อืไมอีลิน ดังนั้นการแลกเปลี่ยนอิออนจึงเกิด 
เฉพาะที่โนดออฟเรนเวียร์
การเกิดเย่อืไมอีลิน 
ในระยะเอ็มบริโอ เซลล์ประสาทยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ 
ใยประสาทที่ยาวๆ ยังไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุมีแต่เซลล์ชวันน์การนา 
กระแสประสาทจึงยังไม่ดีและไม่รวดเร็ว (ในเด็กทารก- การรับรู้และ 
การตอบสนองยังไม่ดี) แต่จะพัฒนาขนึ้ตามลา ดับอายุ โดยส่วนของ 
เย่อืห้มุเซลล์ชวันน์จะม้วนหุ้มแอกซอนเอาไว้ ดังนั้นเย่อืไมอลีิน คือ 
เย่อืห้มุเซลล์ของเซลล์ชวันน์นั่นเอง 
- เส้นใยประสาทที่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม จะเป็นเส้นใยประสาทที่ยาว 
เช่น แอกซอนของเซลล์ประสาทสั่งการ 
- เส้นใยประสาทที่ไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุจะเป็นเส้นใยประสาทที่สั้น 
เช่น เดนไดรต์และแอกซอน ของเซลล์ประสาทประสานงาน
การเกิดเยื่อไมอีลิน
เย่อืไมอีลนิติดต่อกับเซลล์ชวันน์
ประเภทของเซลล์ประสาท 
เซลล์ประสาทจา แนกตามหน้าที่หรือโครงสร้าง ได้ดังนี้ 
1. จา แนกตามหน้าที่ ได้แก่ 
1.1 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron) 
1.2 เซลล์ประสาทสั่งการ(moter neuron) 
1.3 เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron) 
2. จาแนกตามโครงสร้าง ได้แก่ 
2.1 เซลล์ประสาทขั้วเดียว(unipolar neuron) 
2.2 เซลล์ประสาทสองขั้ว(bipolar neuron) 
2.3 เซลล์ประสาทหลายขั้ว(multipolar neuron)
เซลล์ประสาทจา แนกตามหน้าที่ 
สามารถจาแนกออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่ 
1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron) เป็นเซลล์ประสาท 
ที่รับความรู้สึกจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย แล้วถ่ายทอดกระแสประสาท 
ไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ เซลล์ประสาทรับความรู้สึกอาจเป็นเซลล์ 
ประสาทขั้วเดียว หรือหลายขั้วก็ได้
2. เซลล์ประสาทสั่งการ(moter neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่ 
เก่ยีวข้องกับการสั่งงานให้ส่วนของร่างกายทา งานได้ โดยนากระแส 
ประสาทออกจากระบบประสาทส่วนกลาง ไปยังหน่วยปฏิบัติงานซึ่ง 
อาจเป็นกล้ามเนื้อหรือต่อมก็ได้ เซลล์ประสาทชนิดนี้ เป็นเซลล์ 
ประสาทหลายขั้ว และมีใยประสาทยาวที่สุด (ใยแอกซอน)
3. เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron) เป็นเซลล์ 
ประสาทที่รับกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง 
พบเฉพาะในสมองและไขสันหลัง เซลล์ประสาทประสานงานมักเป็น 
เซลล์ประสาทหลายขั้ว
เซลล์ประสาทจาแนกตามโครงสร้าง 
สามารถจาแนกออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่ 
2.1 เซลล์ประสาทขั้วเดียว(unipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่มี 
ใยประสาทแยกออกจากตัวเซลล์เพียง 1 เส้นใย ได้แก่ เซลล์รับ 
ความรู้สึกที่มีตัวเซลล์อยู่ในประสาทรากบนของไขสันหลัง 
2.2 เซลล์ประสาทสองขั้ว(bipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่มีใย 
ประสาทยื่นออกจากตัวเซลล์ 2 ก่งิตรงกันข้ามกัน คือแอกซอน 1 ก่งิ 
และเดนไดรต์1 ก่งิเช่น เซลล์ประสาทที่เรตินาของตา, เซลล์รับกลิ่น และ 
เซลล์รับเสียง 
2.3 เซลล์ประสาทหลายขั้ว(multipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาท 
ที่มีใยประสาทยื่นออกจากตัวเซลล์จานวนมาก โดยมีแอกซอน 1 เส้นใยเท่านัน้ 
เช่น เซลล์ประสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทสงั่การ
เซลล์ประสาทจาแนกตามโครงสร้าง
34
35 
โครงสร้างเซลล์ประสาทและซิแนปส์ (Synapse) 
-เซลล์ประสาทประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก คือ dendrite, cell body, axon 
และ synaptic terminal
ไซแนปส์ระหว่างเซลล์ประสาทรับความรู้สึก 
เซลล์ประสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทสั่งการ
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite 
37 
Axon Dendrite 
1.นาข้อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้อมูล/สัญญาณเข้าสู่เซลล์ 
2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine) 
3.มี 1 axon/cell 3.ส่วนใหญ่มีมากกว่า 1 dendrite/cell 
4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome 
5.มี myelin 5.ไม่มี myelin 
6.มีการแตกแขนงในตา แหน่งที่ห่างจาก 
6.แตกแขนงในตา แหน่งที่ใกล้กับ 
cell body 
cell body
การทางานของเซลล์ประสาท 
การเกดิกระแสประสาท กระแสประสาทเกิดขนึ้จากการที่ 
มีสิ่งเร้าชนิดต่างๆ เช่น เสียง,ความร้อน และสารเคมี 
มากระตุ้นเซลล์ประสาท จนถึงระดับหนึ่งที่เซลล์ประสาทจะ 
ตอบสนอง การเกิดกระแสประสาทเป็นปฏิกิริยาไฟฟ้ าเคมี 
(electrochemical reaction) ซึ่งเป็นผลที่เกิดจากการ 
เคลื่อนที่ของประจุผ่านเข้า - ออกจากเซลล์ประสาท
การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างภายนอกและ 
ภายในเซลล์ประสาทของหมึก
การทางานของเซลล์ประสาท 
ฮอดกิน(A.L.Hodgkin) และฮักซ์ลีย์(A.F.Huxley) ได้ทาการ 
ทดลองวัดศักย์เย่อืเซลล์ในสภาวะพักของเซลล์ประสาทของหมึก โดย 
ใช้เครื่องมือท่เีรียกว่า ไมโครอิเล็กโทรด(microelectrode) 
จากการทดลองสามารถวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างภายใน และ 
ภายนอกเซลล์ประสาทของหมึก พบว่ามีค่าประมาณ - 70 มิลลิโวลต์ 
ซ่งึเป็นศักย์เย่อืเซลล์ระยะพัก(resting membrane potential) 
หรือโพลาไรเซชัน (polarization) 
ระยะพัก(resting stage) หรือระยะโพลาไรเซชัน เป็นระยะที่ไม่มี 
กระแสประสาท
ในระยะพัก เซลล์ประสาทจะมีกลไกรักษาสภาวะสมดุลทางเคมีและ 
ทางไฟฟ้ าของเซลล์ ดังนี้ 
- ความเข้มข้นของ Na+ ภายนอกเซลล์ มากกว่าภายในเซลล์ แต่ 
- ความเข้มข้นของ K+ ภายในเซลล์มากกว่าภายนอกเซลล์ ทาให้ 
Na+ จึงแพร่เข้าไปในเซลล์ผ่านช่องโซเดียม 
K+ แพร่ออกนอกเซลล์ผ่านช่องโพแทสเซียม 
แต่เซลล์ก็ยังสามารถดารงความแตกต่างของความเข้มข้นในแต่ละ 
บริเวณไว้ได้ เนื่องจากอาศัยพลังงานจาก ATP ในการที่จะผลัก Na+ 
ไปข้างนอกและดึง K+ เข้ามาในเซลล์ ในอัตราส่วน 3 Na+ ต่อ 2 K+ 
เรียกกระบวนการนี้ว่า Sodium – Potassium Pump ดังภาพ
โซเดียมโพแทสเซียมปั้มในระยะพัก
โซเดียมโพแทสเซียมปั้มในระยะพัก
ภายในเซลล์ประสาท มีโปรตีนประจุลบ ซ่งึมีขนาดใหญ่ไม่ 
สามารถออกนอกเซลล์ได้ ทาให้ภายในเซลล์เป็นประจุลบ ประกอบ 
กับการที่เซลล์ยอมให้ K+ จากภายในเซลล์ออกมาได้ดี ทา ให้ 
ภายนอกเซลล์เป็นประจุบวก 
สรุปได้ว่าในระยะพัก พบว่า ด้านนอกของเซลล์ประสาทจะมี 
Na+ มากกว่าภายในเซลล์ ส่วนด้านในของเซลล์จะมี K+ มากกว่า 
ภายนอกเซลล์ ทาให้ผิวด้านนอกเซลล์มีประจุบวก โดยความเป็น 
บวกขึน้อยู่กับ Na+ ส่วนผิวด้านในเซลล์มีประจุเป็นลบ โดยความ 
เป็นลบขึน้อยู่กับโปรตีนเป็นสา คัญ
ระยะดีโพลาไรเซชัน (depolarization) 
ระยะดีโพลาไรเซชัน เกิดเมื่อมีการกระต้นุโดยส่งิเร้า เยื่อห้มุเซลล์ 
บริเวณที่ถูกกระตุ้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติไปชั่วคราว โดย 
เย่อืห้มุเซลล์จะยอมให้ Na+ จากนอกเซลล์แพร่เข้าไปในเซลล์ได้และ 
หยุดการส่ง Na+ กลับออกนอกเซลล์ ทาให้ผิวภายในเซลล์ประสาท 
ตรงที่Na+ ผ่านเข้าไป เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้าเป็นประจุบวก 
และผิวภายนอกเซลล์ที่สูญเสีย Na+ จะเปลี่ยนเป็นประจุลบ เรียกว่า 
เกิดดีโพลาไรเซชัน ระยะนี้ความต่างศักย์ไฟฟ้าของเย่อืเซลล์จะ 
เปลี่ยนแปลง จาก -70 มิลลิโวลต์ เป็น +50 มิลลิโวลต์ 
ระยะดีโพลาไรเซชัน เป็นระยะที่มีกระแสประสาทเกิดขึน้
ระยะรีโพลาไรเซชัน (repolarization) 
ระยะรีโพลาไรเซชัน เป็นระยะที่เย่อืห้มุเซลล์ไม่ยอมให้ Na+ ผ่าน 
เข้าไปอีก แต่กลับยอมให้ K+ ภายในเซลล์แพร่ออกอย่างรวดเร็ว ทาให้ 
เซลล์สูญเสียประจุบวก และที่เย่อืเซลล์ด้านในจะกลับเป็นประจุลบอีก 
ครั้งหนึ่ง (การเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้าที่ผิวเซลล์จะกินเวลาเพียง 
1/100 วินาที) ค่าความต่างศักย์จะเปลี่ยนจาก + 50 มิลลิโวลต์ เป็น 
-70 มิลลิโวลต์ ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์จึงกลับสู่สภาพเดิม เรียกว่า 
รีโพลาไรเซชัน (repolarization) และจะลดต่า กว่าสภาพปกติ 
เรียกว่า ไฮเพอร์โพลาไรเซชัน(hyperpolarization) จากนั้นช่อง 
โพแทสเซียมจะปิด ค่าความต่างศักย์ที่เย่อืเซลล์จะกลับเข้าสู่ระยะพัก
การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าขณะที่เซลล์ประสาทถูกกระตุ้น
การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้าดังกล่าวนี้ เรียกว่า 
แอกชันโพเทนเชียล(action potential) หรือกระแสประสาท 
(nerve impulse) 
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ตรงบริเวณที่ถูกกระตุ้น จะชักนาให้เกิด 
การเปลี่ยนแปลงที่บริเวณถัดไป ขณะบริเวณที่เกิดแอกชันโพเทนเชียล 
แล้ว จะกลับสู่สภาพศักย์เยื่อเซลล์ประสาทระยะพักอีกครั้งหนึ่ง เป็น 
เช่นนี้ไปเรื่อยๆ มีผลให้กระแสประสาทเคลื่อนท่ไีปตามความยาวของ 
ใยประสาทแบบจุดต่อจุดต่อเนื่องกันของแอกซอนที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทของเส้นใยประสาท 
ที่ไม่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม
ประเภทของการนากระแสประสาท 
การนากระแสประสาทในใยประสาทมี 2 ลักษณะ คือ 
1. การนากระแสประสาทในใยประสาทที่ไม่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม การ 
นากระแสประสาทวิธีนี้ กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้ช้ามาก 
ประมาณ 12 เมตร/วินาที 
2. การนากระแสประสาทในใยประสาทที่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม พบใน 
สัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีเซลล์ประสาทเป็นเส้นใยยาวๆ เป็นการ 
นากระแสประสาทแบบกระโดด กระแสประสาทจึงเคลื่อนท่ไีด้เร็ว
การนากระแสประสาทในเซลล์ประสาท 
ที่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม 
เย่อืไมอีลินจะทา หน้าที่เป็นฉนวนกั้นประจุไฟฟ้าที่ผ่านเยื่อห้มุเซลล์ 
ดังนั้นแอกชันโพเทนเชียลจะไม่สามารถผ่านเยื่อห้มุไมอีลินไปได้แต่ 
จะนาข้ามไปตรงบริเวณโนดออฟแรนเวียร์ (Node of Ranvier) 
ซ่งึเป็นบริเวณที่ไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุและจะกระโดดจากโนดออฟแรน 
เวียร์หนึ่ง ไปยังอีกโนดออฟแรนเวียร์ที่อยู่ถัดไป ได้ง่าย 
ใยประสาทที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดใหญ่ และมีโนดออฟแรน 
เวียร์ห่างกันมาก ยิ่งจะนากระแสประสาทได้เร็วยิ่งขึน้
การเคลื่อนท่ขีองกระแสประสาทไปตามแอกซอน 
ที่มีเย่อืไมอิลินหุ้ม
ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาท 
กระแสประสาทจะเคลื่อนท่ไีปตามใยประสาทได้เร็วหรือช้า ขึ้นอยู่ 
กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 
1. เย่อืไมอีลิน (myelin sheath) ถ้าใยประสาทมีเยื่อไมอีลินห้มุ 
กระแสประสาทจะเคลื่อนท่ไีด้เร็วขึน้เป็น 10 เท่า 
2. ระยะห่างของโนดออฟแรนเวียร์ ถ้าโนดออฟแรนเวียร์ห่างกันมาก 
กระแสประสาทจะเคลื่อนท่ไีด้เร็วขึน้ 
3. ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาท ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 
ของใยประสาทเพิ่มมากขนึ้ กระแสประสาทจะเคลื่อนท่ไีด้เร็วขึ้น 
เพราะจะมีความต้านทานต่า ลง
การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท 
นักวิทยาศาสตร์ชื่อ ออทโต ลอวิ(Otto Loewi) ได้ทาการทดลองนา 
หัวใจกบที่ยังมีชีวิตและยังมีเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 ติดอยู่ มาใส่ในแก้วที่มี 
นา้เกลือ แล้วกระต้นุเซลล์ประสาทด้วยกระแสไฟฟ้า พบว่าหัวใจของกบ 
เต้นช้าลง เมื่อดูดสารละลายจากแก้วที่ 1 มาใส่ลงในแก้วที่ 2 ซ่งึมีหัวใจ 
กบที่ตัดเอาเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 ออกไป พบว่าหัวใจของกบใน 
แก้วที่ 2 มีอัตราการเต้นของหัวใจช้าลง เช่นเดียวกัน 
การทดลองนี้ แสดงให้เห็นว่าการกระตุ้นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 
หรือกระต้นุใยประสาทที่ไปเลีย้งกล้ามเนื้อนั้น จะทา ให้เกิดการปล่อย 
สารบางชนิดออกมายับยั้งการทา งานของกล้ามเนื้อหัวใจ สารที่หลั่ง 
ออกจากจากใยประสาทเรียกว่า สารสื่อประสาท(neurotransmitter)
การทดลองของ ออทโต ลอวิ
สารสื่อประสาท (neurotransmitter) 
สารสื่อประสาท ทา หน้าที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดกระแสประสาทจาก 
เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง และพบว่าที่บริเวณปลายแอกซอนมีสาร 
สื่อประสาทปริมาณสูงมาก สารสื่อประสาทมีหลายชนิด ได้แก่ 
1. แอซิติลโคลีน (acetylcholine) 
2. นอร์เอพิเนฟริน (nor epinephrine) 
3. เอนดอร์ฟิน (endorphin) 
สารสื่อประสาทที่เหลืออยู่ในช่องไซแนปส์จะถูกสลายด้วยเอนไซม์ 
สารที่ได้จากการย่อยสลายนี้ บางส่วนจะถูกนากลับไปสร้างเป็นสารสื่อ 
ประสาทใหม่บางส่วนจะเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือด เพื่อนาไปสู่เซลล์ 
อ่นืที่ต้องการใช้
ไซแนปส์ (Synapse) 
ไซแนปส์ หมายถึง การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท 
ด้วยกัน หรือเซลล์ประสาทกับหน่วยปฏิบัติงาน 
เซลล์ประสาททา งานร่วมกันผ่านไซแนปส์ซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่ชิดกันที่สุด 
ระหว่างเย่อืหุ้มของเซลล์ประสาทด้วยกัน (มีขนาด 0.02 ไมโครเมตร ) 
โดยส่งกระแสประสาทจากแอกซอนของเซลล์หนึ่งข้ามไปยังเดนไดรต์ 
ของอีกเซลล์หนึ่ง 
ที่ปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์จะมีถุงขนาดเล็ก ภายในถุง 
เหล่านี้จะบรรจุสารสื่อประสาท เมื่อกระแสประสาทผ่านมาจนถึงปลายแอก 
ซอน ถุงเล็กๆจะเคลื่อนไปรวมตัวกับเยื่อห้มุเซลล์ แล้วปล่อยสารสื่อประสาท 
ออกมา ทา หน้าที่เป็นสิ่งเร้ากระต้นุปลายเดนไดรต์ของอีกเซลล์ ให้มี 
กระแสประสาทเกิดขึน้ และถูกถ่ายทอดต่อไปจนถึงปลายทาง
การถ่ายทอดกระแสประสาท(Synapse)
การถ่ายทอดกระแสประสาท(Synapse)
สารสื่อประสาทที่ปล่อยออกมาจากถุงบรรจุสารสื่อประสาท 
เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยออกมาจากถุงบรรจุสารสื่อประสาทที่ 
เยื่อหุ้มปลายแอกซอนเข้าสู่ช่องไซแนปส์สารสื่อประสาทจะไปจับกับ 
โปรตีนตัวรับที่เย่อืห้มุเซลล์ของเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ทา ให้เกิด 
การเคลื่อนท่ขีองไอออนผ่านเยื่อห้มุเซลล์ เกิดการเปลี่ยนแปลงความ 
ต่างศักย์ที่เดนไดรต์ของเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ทา ให้เกิด 
ดีโพลาไรเซชันหรือไฮเพอร์โพลาไรเซชัน และทาให้เกิดการส่งกระแส 
ประสาทต่อไป 
ต่อมาปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์จะปล่อย 
เอนไซม์ออกมาย่อยสลายสารสื่อประสาทที่เหลืออยู่ในช่องไซแนปส์
สารสื่อประสาทผ่านช่องไซแนปส์
สารสื่อประสาทผ่านช่องไซแนปส์
การถ่ายทอดกระแสประสาทผ่านไซแนปส์ 
1. ไซแนปส์ไฟฟ้ า ( Electrical synapse ) มีโครงสร้างและการ 
ทางานที่ไม่ซับซ้อน โดยเกิดจากการเคลื่อนย้ายกระแสไฟฟ้าที่ปลายสุดของ 
Axon และปลายสุดของ Dendrite จะมีช่อง gap junction ทาให้ 
มีการไหลของโซเดยีมไอออนเข้าไปในอีกเซลล์หนึ่งได้ 
2. ไซแนปส์เคมี (Chemical Synapse )เป็นการถ่ายทอดกระแส 
ประสาทในรูปของสารเคมี เกิดขึน้กับเซลล์ประสาทที่มีช่วงไซแนปส์กว้าง 
สารเคมีทา หน้าที่นากระแสประสาทเรียกว่า สารสื่อประสาท 
(Neurotransmitter) ซึ่งถูกสร้างขึน้ที่ถุงเล็ก ๆ ในไซโทพลาซมึตรง 
บริเวณปลายแอกซอน และลอยไปจับกับช่องของโซเดียม ทาให้ช่องของ 
โซเดียมเปิดและโซเดียมไอออนจะไหลผ่านเข้าไปในเซลล์
ยาที่มีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาท 
1. ยาระงับประสาทบางชนิด ระงับการปล่อยสารสื่อประสาท กระแส 
ประสาทจึงส่งไปยังสมองน้อยลง ทาให้มีอาการสงบ ไม่วิตกกังวน 
2. สารจา พวกนิโคติน คาเฟอีน หรือแอมเฟตามีน จะไปกระต้นุ Axon 
ให้ปล่อยสารสื่อประสาท ทา ให้เกิดการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว 
3. สารพิษจากแบคทีเรีย สารจะไปยับยั้งไม่ให้แอกซอนปล่อยสารสื่อ 
ประสาท ทา ให้กล้ามเนื้อไม่หดตัว เกิดอาการอัมพาต 
4. สารกา จัดแมลงบางชนิด สามารถยับยั้งการทา งานของเอนไซม์ ที่จะ 
มาสลายสารสื่อประสาท

Contenu connexe

Tendances

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
Wan Ngamwongwan
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
Thanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Wan Ngamwongwan
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
dnavaroj
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
bosston Duangtip
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
Thitaree Samphao
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Bios Logos
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
Thammawat Yamsri
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
Thanyamon Chat.
 

Tendances (20)

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 

Similaire à บทท 8 ระบบประสาท (1)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
yangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
bowpp
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
auttapornkotsuk
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
Natthaya Khaothong
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
juriyaporn
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
Pok Tanti
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
juriyaporn
 

Similaire à บทท 8 ระบบประสาท (1) (20)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 

บทท 8 ระบบประสาท (1)

  • 1. 1 บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE
  • 3. 3 nervous system and hormone ระบบประสาท (nervous system) ฮอร์โมน (hormone) ระบบประสานงาน (coordinating system)
  • 4. ระบบประสาท ระบบประสาท หมายถึงระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อม โยง การประสานงาน การรับคา สั่ง และปรับระบบต่างๆ ของร่างกาย ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท้งัภายนอกและภายใน โดยใช้เวลารวดเร็ว และสิน้สุดอย่างรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้ท่อนั้นจะตอบสนองเป็นไป อย่างช้าๆ และกระทา ต่อเนื่องเป็นเวลานาน การตอบสนองของสัตว์ จึงเป็นการทางานร่วมกันของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ คุณสมบัติของเซลล์ประสาท - ไวต่อสิ่งเร้า (stimulus) - นากระแสประสาทได้
  • 5. หน้าที่ของระบบประสาท หน้าที่ของระบบประสาท แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. นาสัญญาณประสาท จากหน่วยรับความรู้สึก (receptor)ไปยัง ศูนย์ที่อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง : Sensory input 2. รวบรวมข้อมูลและแปรผล : integration 3. นาคาสั่งจากศูนย์สั่งการไปยังหน่วยตอบสนอง effectors : motor สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำ บรรยำย 5 output
  • 6. อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia) แบ่งออกเป็น 9 ไฟลัม 1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า สปอง (Spong) เป็นสัตว์ที่ลา ตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้า 2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา(PHYLUM COELENTERATA) เรียกสัตว์ กลุ่มนี้ว่า ซีเลนเทอเรต ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง และไฮดรา 3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า หนอนตัวแบน ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย 4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATOD) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า หนอนตัวกลม ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือน ฝอย และหนอนในน้าส้มสายชู
  • 7. 5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า แอนนีลิด ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือด และปลิงน้าจืด 6. ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA) เรียกสัตว์กลุ่ม นี้ว่า อาร์โทรปอด ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เห็บ ตะขาบ กิง้กือ แมงมุม 7. ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า มอลลักส์เป็นสัตว์ที่มีลา ตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ 8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) เรียก สัตว์กลุ่มนี้ว่าเอคไคโนเดิร์ม เป็นสัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล เม่นทะเล ปลิงทะเล 9. ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA) เรียกสัตว์กลุ่มนี้ว่า คอร์เดต ได้แก่ สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
  • 8. 8 ระบบประสาทของพารามีเซียม ไม่มีระบบประสาทที่แท้จริง แต่มีเส้นใยประสานงาน (co-ordinating fiber) ซึ่งอยู่ใต้ผิวเซลล์เชื่อมโยง ระหว่างโคนซิเลียแต่ละเส้น สามารถรับรู้และตอบสนองได้ -เส้นใยประสานงาน ทา หน้าที่ ควบคุมการโบกพัดของซีเรีย
  • 11. 11 ระบบประสาทของซีเลนเทอเรต ไฮดราและซีเลนเทอเรต ยังไม่มีระบบ ประสาท แต่มีเส้นใยประสาท เรียกว่า ร่างแหประสาท (nerve net) ที่แตก แขนงเชื่อมกันเป็นตาข่าย แผ่กระจายไป ทั่วร่างกาย ทา หน้าที่เป็นเซลล์ประสาท เมื่อมีการกระต้นุ จะเกิดกระแสประสาท แผ่กระจายออกไปทุกทิศทางของร่างกาย ปาก และเทนตาเคิล(tentacle) มีเส้น ใยประสาทมาก
  • 12. 12 ระบบประสาทของหนอนตัวแบน พลานาเรีย มีปมประสาท 2 ปมอยู่ที่ ส่วนหัว เรียกว่า ปมประสาทสมอง (cerebral ganglion)ทา หน้าที่เป็นสมอง ทางด้านล่างสมอง มีเส้นประสาทแยก ออกข้างลาตัวข้างละเส้น เรียกว่า เส้นประสาท (nerve cord) ระหว่างเส้น เส้นประสาทจะเช่อืมโยงติดต่อกันด้วย เส้นประสาทที่วนรอบลา ตัว เรียกว่า วง แหวนประสาท(nerve ring)
  • 13. 13 ระบบประสาทของแอนเนลิด ไส้เดือน มีระบบประสาท ประกอบด้วย 1. สมอง (brain) ปมประสาท 2 ปมเป็นพู เรียกว่าปมประสาท ซีรีบรัล (cerebral ganglion) 2. ปมประสาทใต้คอหอย (subpharyngeal ganglion) เกิด จากแขนงประสาทที่แยกออกจากสมองแล้วอ้อมรอบคอหอย (circumpharyngeal commissure) มาบรรจบกัน 3. เส้นประสาททางด้านท้อง(ventral nerve cord) มี เส้นประสาท 2 เส้นแต่มักรวมกันเป็นเส้นเดียว และมีปม ประสาทแต่ละปล้องและแขนงประสาท 3 - 5 คู่ แยกออกไป เลีย้งอวัยวะต่างๆ
  • 15. 15 ระบบประสาทของพวกอาร์โทพอด แมลง มีระบบประสาทที่พัฒนามาก ประกอบด้วย 1. สมอง (brain) เกิดจากปมประสาท 2 ปมมารวมกัน ไปเลีย้ง optic nerve 1 คู่ (ตา) และ antennary nerve 1 คู่(หนวด) 2. ปมประสาทใต้หลอดอาหาร (sub-esophageal ganglion) 3.เส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord)
  • 17. การตอบสนองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์มีกระดูกสันหลังโดยเฉพาะคน มีระบบประสาทที่พัฒนามาก เซลล์ประสาทเกือบทั้งหมดรวมกันอยู่ที่ส่วนหัว ซึ่งมีขนาดใหญ่ และ เจริญมาก มีการพัฒนาไปเป็นสมอง ส่วนที่ทอดยาวตามลา ตัวทางด้านหลังเรียกว่า ไขสันหลัง(spinal cord) และมีเส้นประสาทแยกออกมาจากสมองและไขสันหลัง สมองและไขสันหลัง ทา หน้าที่เป็นศูนย์กลางของระบบประสาท
  • 19. เซลล์ประสาท(nerve cell) ร่างกายคนมีเซลล์ประสาท(nerve cell)หรือนิวรอน(neuron) ประมาณ 10,000 ล้านถึง 100,000 ล้านเซลล์ที่พัฒนามาจากเนื้อเย่อื ชั้นนอก(ectoderm)ทางด้านหลังของตัวอ่อน และพัฒนาเปลี่ยนสภาพ เป็นหลอดประสาท(neural tube) และเป็นสมองและไขสันหลัง หน้าที่ของเซลล์ประสาท 1. หน้าที่รับความรู้สึก โดยต้องมีสิ่งเร้ามากระตุ้น 2. เหนี่ยวนาให้เกิดกระแสความรู้สึกผ่านไปมาได้ 3. รวบรวมข้อมูลและจดจาข้อมูล (สรุป เซลล์ประสาททา หน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้ และการตอบสนอง)
  • 20. โครงสร้างของเซลล์ประสาท เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์ จะประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ 1. ตัวเซลล์ (Cell Body หรือ Soma) 2. ใยประสาท (Nerve Fiber) มี 2 ชนิด คือ 1) เดนไดรต์ (Dendrite) 2) แอกซอน (Axon)
  • 21. โครงสร้างของเซลล์ประสาท 1. ตัวเซลล์ประสาท (Cell Body ) มีรูปร่างหลายแบบอาจมีรูป กลมรี หรือเป็นเหลี่ยม ประกอบด้วย 1.1 นิวเคลียส (nucleus) 1.2 นิวโรพลาซึม(neuroplasm) เป็นไซโทพลาซึมของเซลล์ ประสาท ภายในมีออร์กาแนลล์ ได้แก่ ไมโทคอนเดรีย, เอนโด- พลาสมิกเรติคิวลัม และกอลจิคอมเพล็กซ์ จานวนมาก
  • 22. 2. ใยประสาท (Nerve Fiber) เป็นส่วนที่ย่นืออกไปจากตัวเซลล์ มี 2 ชนิด คือ 2.1 เดนไดรต์(Dendrite) เป็นใยประสาทที่นากระแสประสาท เข้าตัวเซลล์ มีลักษณะเป็นแขนงเล็กๆ มีจา นวนตั้งแต่ 1 ใยต่อเซลล์ 2.2 แอกซอน (Axon) เป็นใยประสาทที่นากระแสประสาทออกจาก ตัวเซลล์ มีจา นวน 1 ใยต่อเซลล์เท่านั้น ภายในส่วนปลายสุดของแอก ซอน จะมีถุงบรรจุสารสื่อประสาท(synaptic vesicle) ซ่งึจะหลั่ง สารสื่อประสาท เพ่อืใช้ในการถ่ายทอดกระแสประสาทข้ามเซลล์ (synapse ) โดยปลายแอกซอนจะถ่ายทอดกระแสประสาทให้กับ ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ถัดไป
  • 24. สา หรับเซลล์ประสาทที่มีใยประสาทยาว (แอกซอน) จะมีเย่อืไมอลีิน (myelin sheath)ห้มุเป็นระยะๆ เย่อืไมอีลินเป็นสารจา พวกลิพิด จึงเป็นฉนวนกั้นประจุส่วนบริเวณรอยคอดท่เีป็นรอยต่อของเซลล์ ชวันน์แต่ละเซลล์เรียกว่า โนดออฟเรนเวียร์ (Node of Ranvier) ซ่งึเป็นบริเวณที่ไม่มีเย่อืไมอีลิน ดังนั้นการแลกเปลี่ยนอิออนจึงเกิด เฉพาะที่โนดออฟเรนเวียร์
  • 25. การเกิดเย่อืไมอีลิน ในระยะเอ็มบริโอ เซลล์ประสาทยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ใยประสาทที่ยาวๆ ยังไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุมีแต่เซลล์ชวันน์การนา กระแสประสาทจึงยังไม่ดีและไม่รวดเร็ว (ในเด็กทารก- การรับรู้และ การตอบสนองยังไม่ดี) แต่จะพัฒนาขนึ้ตามลา ดับอายุ โดยส่วนของ เย่อืห้มุเซลล์ชวันน์จะม้วนหุ้มแอกซอนเอาไว้ ดังนั้นเย่อืไมอลีิน คือ เย่อืห้มุเซลล์ของเซลล์ชวันน์นั่นเอง - เส้นใยประสาทที่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม จะเป็นเส้นใยประสาทที่ยาว เช่น แอกซอนของเซลล์ประสาทสั่งการ - เส้นใยประสาทที่ไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุจะเป็นเส้นใยประสาทที่สั้น เช่น เดนไดรต์และแอกซอน ของเซลล์ประสาทประสานงาน
  • 28. ประเภทของเซลล์ประสาท เซลล์ประสาทจา แนกตามหน้าที่หรือโครงสร้าง ได้ดังนี้ 1. จา แนกตามหน้าที่ ได้แก่ 1.1 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron) 1.2 เซลล์ประสาทสั่งการ(moter neuron) 1.3 เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron) 2. จาแนกตามโครงสร้าง ได้แก่ 2.1 เซลล์ประสาทขั้วเดียว(unipolar neuron) 2.2 เซลล์ประสาทสองขั้ว(bipolar neuron) 2.3 เซลล์ประสาทหลายขั้ว(multipolar neuron)
  • 29. เซลล์ประสาทจา แนกตามหน้าที่ สามารถจาแนกออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่ 1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron) เป็นเซลล์ประสาท ที่รับความรู้สึกจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย แล้วถ่ายทอดกระแสประสาท ไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ เซลล์ประสาทรับความรู้สึกอาจเป็นเซลล์ ประสาทขั้วเดียว หรือหลายขั้วก็ได้
  • 30. 2. เซลล์ประสาทสั่งการ(moter neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่ เก่ยีวข้องกับการสั่งงานให้ส่วนของร่างกายทา งานได้ โดยนากระแส ประสาทออกจากระบบประสาทส่วนกลาง ไปยังหน่วยปฏิบัติงานซึ่ง อาจเป็นกล้ามเนื้อหรือต่อมก็ได้ เซลล์ประสาทชนิดนี้ เป็นเซลล์ ประสาทหลายขั้ว และมีใยประสาทยาวที่สุด (ใยแอกซอน)
  • 31. 3. เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron) เป็นเซลล์ ประสาทที่รับกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง พบเฉพาะในสมองและไขสันหลัง เซลล์ประสาทประสานงานมักเป็น เซลล์ประสาทหลายขั้ว
  • 32. เซลล์ประสาทจาแนกตามโครงสร้าง สามารถจาแนกออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่ 2.1 เซลล์ประสาทขั้วเดียว(unipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่มี ใยประสาทแยกออกจากตัวเซลล์เพียง 1 เส้นใย ได้แก่ เซลล์รับ ความรู้สึกที่มีตัวเซลล์อยู่ในประสาทรากบนของไขสันหลัง 2.2 เซลล์ประสาทสองขั้ว(bipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่มีใย ประสาทยื่นออกจากตัวเซลล์ 2 ก่งิตรงกันข้ามกัน คือแอกซอน 1 ก่งิ และเดนไดรต์1 ก่งิเช่น เซลล์ประสาทที่เรตินาของตา, เซลล์รับกลิ่น และ เซลล์รับเสียง 2.3 เซลล์ประสาทหลายขั้ว(multipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาท ที่มีใยประสาทยื่นออกจากตัวเซลล์จานวนมาก โดยมีแอกซอน 1 เส้นใยเท่านัน้ เช่น เซลล์ประสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทสงั่การ
  • 34. 34
  • 35. 35 โครงสร้างเซลล์ประสาทและซิแนปส์ (Synapse) -เซลล์ประสาทประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก คือ dendrite, cell body, axon และ synaptic terminal
  • 37. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite 37 Axon Dendrite 1.นาข้อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้อมูล/สัญญาณเข้าสู่เซลล์ 2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine) 3.มี 1 axon/cell 3.ส่วนใหญ่มีมากกว่า 1 dendrite/cell 4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome 5.มี myelin 5.ไม่มี myelin 6.มีการแตกแขนงในตา แหน่งที่ห่างจาก 6.แตกแขนงในตา แหน่งที่ใกล้กับ cell body cell body
  • 38. การทางานของเซลล์ประสาท การเกดิกระแสประสาท กระแสประสาทเกิดขนึ้จากการที่ มีสิ่งเร้าชนิดต่างๆ เช่น เสียง,ความร้อน และสารเคมี มากระตุ้นเซลล์ประสาท จนถึงระดับหนึ่งที่เซลล์ประสาทจะ ตอบสนอง การเกิดกระแสประสาทเป็นปฏิกิริยาไฟฟ้ าเคมี (electrochemical reaction) ซึ่งเป็นผลที่เกิดจากการ เคลื่อนที่ของประจุผ่านเข้า - ออกจากเซลล์ประสาท
  • 40. การทางานของเซลล์ประสาท ฮอดกิน(A.L.Hodgkin) และฮักซ์ลีย์(A.F.Huxley) ได้ทาการ ทดลองวัดศักย์เย่อืเซลล์ในสภาวะพักของเซลล์ประสาทของหมึก โดย ใช้เครื่องมือท่เีรียกว่า ไมโครอิเล็กโทรด(microelectrode) จากการทดลองสามารถวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างภายใน และ ภายนอกเซลล์ประสาทของหมึก พบว่ามีค่าประมาณ - 70 มิลลิโวลต์ ซ่งึเป็นศักย์เย่อืเซลล์ระยะพัก(resting membrane potential) หรือโพลาไรเซชัน (polarization) ระยะพัก(resting stage) หรือระยะโพลาไรเซชัน เป็นระยะที่ไม่มี กระแสประสาท
  • 41. ในระยะพัก เซลล์ประสาทจะมีกลไกรักษาสภาวะสมดุลทางเคมีและ ทางไฟฟ้ าของเซลล์ ดังนี้ - ความเข้มข้นของ Na+ ภายนอกเซลล์ มากกว่าภายในเซลล์ แต่ - ความเข้มข้นของ K+ ภายในเซลล์มากกว่าภายนอกเซลล์ ทาให้ Na+ จึงแพร่เข้าไปในเซลล์ผ่านช่องโซเดียม K+ แพร่ออกนอกเซลล์ผ่านช่องโพแทสเซียม แต่เซลล์ก็ยังสามารถดารงความแตกต่างของความเข้มข้นในแต่ละ บริเวณไว้ได้ เนื่องจากอาศัยพลังงานจาก ATP ในการที่จะผลัก Na+ ไปข้างนอกและดึง K+ เข้ามาในเซลล์ ในอัตราส่วน 3 Na+ ต่อ 2 K+ เรียกกระบวนการนี้ว่า Sodium – Potassium Pump ดังภาพ
  • 44. ภายในเซลล์ประสาท มีโปรตีนประจุลบ ซ่งึมีขนาดใหญ่ไม่ สามารถออกนอกเซลล์ได้ ทาให้ภายในเซลล์เป็นประจุลบ ประกอบ กับการที่เซลล์ยอมให้ K+ จากภายในเซลล์ออกมาได้ดี ทา ให้ ภายนอกเซลล์เป็นประจุบวก สรุปได้ว่าในระยะพัก พบว่า ด้านนอกของเซลล์ประสาทจะมี Na+ มากกว่าภายในเซลล์ ส่วนด้านในของเซลล์จะมี K+ มากกว่า ภายนอกเซลล์ ทาให้ผิวด้านนอกเซลล์มีประจุบวก โดยความเป็น บวกขึน้อยู่กับ Na+ ส่วนผิวด้านในเซลล์มีประจุเป็นลบ โดยความ เป็นลบขึน้อยู่กับโปรตีนเป็นสา คัญ
  • 45. ระยะดีโพลาไรเซชัน (depolarization) ระยะดีโพลาไรเซชัน เกิดเมื่อมีการกระต้นุโดยส่งิเร้า เยื่อห้มุเซลล์ บริเวณที่ถูกกระตุ้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติไปชั่วคราว โดย เย่อืห้มุเซลล์จะยอมให้ Na+ จากนอกเซลล์แพร่เข้าไปในเซลล์ได้และ หยุดการส่ง Na+ กลับออกนอกเซลล์ ทาให้ผิวภายในเซลล์ประสาท ตรงที่Na+ ผ่านเข้าไป เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้าเป็นประจุบวก และผิวภายนอกเซลล์ที่สูญเสีย Na+ จะเปลี่ยนเป็นประจุลบ เรียกว่า เกิดดีโพลาไรเซชัน ระยะนี้ความต่างศักย์ไฟฟ้าของเย่อืเซลล์จะ เปลี่ยนแปลง จาก -70 มิลลิโวลต์ เป็น +50 มิลลิโวลต์ ระยะดีโพลาไรเซชัน เป็นระยะที่มีกระแสประสาทเกิดขึน้
  • 46. ระยะรีโพลาไรเซชัน (repolarization) ระยะรีโพลาไรเซชัน เป็นระยะที่เย่อืห้มุเซลล์ไม่ยอมให้ Na+ ผ่าน เข้าไปอีก แต่กลับยอมให้ K+ ภายในเซลล์แพร่ออกอย่างรวดเร็ว ทาให้ เซลล์สูญเสียประจุบวก และที่เย่อืเซลล์ด้านในจะกลับเป็นประจุลบอีก ครั้งหนึ่ง (การเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้าที่ผิวเซลล์จะกินเวลาเพียง 1/100 วินาที) ค่าความต่างศักย์จะเปลี่ยนจาก + 50 มิลลิโวลต์ เป็น -70 มิลลิโวลต์ ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์จึงกลับสู่สภาพเดิม เรียกว่า รีโพลาไรเซชัน (repolarization) และจะลดต่า กว่าสภาพปกติ เรียกว่า ไฮเพอร์โพลาไรเซชัน(hyperpolarization) จากนั้นช่อง โพแทสเซียมจะปิด ค่าความต่างศักย์ที่เย่อืเซลล์จะกลับเข้าสู่ระยะพัก
  • 48. การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้าดังกล่าวนี้ เรียกว่า แอกชันโพเทนเชียล(action potential) หรือกระแสประสาท (nerve impulse) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ตรงบริเวณที่ถูกกระตุ้น จะชักนาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงที่บริเวณถัดไป ขณะบริเวณที่เกิดแอกชันโพเทนเชียล แล้ว จะกลับสู่สภาพศักย์เยื่อเซลล์ประสาทระยะพักอีกครั้งหนึ่ง เป็น เช่นนี้ไปเรื่อยๆ มีผลให้กระแสประสาทเคลื่อนท่ไีปตามความยาวของ ใยประสาทแบบจุดต่อจุดต่อเนื่องกันของแอกซอนที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
  • 50. ประเภทของการนากระแสประสาท การนากระแสประสาทในใยประสาทมี 2 ลักษณะ คือ 1. การนากระแสประสาทในใยประสาทที่ไม่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม การ นากระแสประสาทวิธีนี้ กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้ช้ามาก ประมาณ 12 เมตร/วินาที 2. การนากระแสประสาทในใยประสาทที่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม พบใน สัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีเซลล์ประสาทเป็นเส้นใยยาวๆ เป็นการ นากระแสประสาทแบบกระโดด กระแสประสาทจึงเคลื่อนท่ไีด้เร็ว
  • 51. การนากระแสประสาทในเซลล์ประสาท ที่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม เย่อืไมอีลินจะทา หน้าที่เป็นฉนวนกั้นประจุไฟฟ้าที่ผ่านเยื่อห้มุเซลล์ ดังนั้นแอกชันโพเทนเชียลจะไม่สามารถผ่านเยื่อห้มุไมอีลินไปได้แต่ จะนาข้ามไปตรงบริเวณโนดออฟแรนเวียร์ (Node of Ranvier) ซ่งึเป็นบริเวณที่ไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุและจะกระโดดจากโนดออฟแรน เวียร์หนึ่ง ไปยังอีกโนดออฟแรนเวียร์ที่อยู่ถัดไป ได้ง่าย ใยประสาทที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดใหญ่ และมีโนดออฟแรน เวียร์ห่างกันมาก ยิ่งจะนากระแสประสาทได้เร็วยิ่งขึน้
  • 53. ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาท กระแสประสาทจะเคลื่อนท่ไีปตามใยประสาทได้เร็วหรือช้า ขึ้นอยู่ กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. เย่อืไมอีลิน (myelin sheath) ถ้าใยประสาทมีเยื่อไมอีลินห้มุ กระแสประสาทจะเคลื่อนท่ไีด้เร็วขึน้เป็น 10 เท่า 2. ระยะห่างของโนดออฟแรนเวียร์ ถ้าโนดออฟแรนเวียร์ห่างกันมาก กระแสประสาทจะเคลื่อนท่ไีด้เร็วขึน้ 3. ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาท ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ของใยประสาทเพิ่มมากขนึ้ กระแสประสาทจะเคลื่อนท่ไีด้เร็วขึ้น เพราะจะมีความต้านทานต่า ลง
  • 54. การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท นักวิทยาศาสตร์ชื่อ ออทโต ลอวิ(Otto Loewi) ได้ทาการทดลองนา หัวใจกบที่ยังมีชีวิตและยังมีเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 ติดอยู่ มาใส่ในแก้วที่มี นา้เกลือ แล้วกระต้นุเซลล์ประสาทด้วยกระแสไฟฟ้า พบว่าหัวใจของกบ เต้นช้าลง เมื่อดูดสารละลายจากแก้วที่ 1 มาใส่ลงในแก้วที่ 2 ซ่งึมีหัวใจ กบที่ตัดเอาเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 ออกไป พบว่าหัวใจของกบใน แก้วที่ 2 มีอัตราการเต้นของหัวใจช้าลง เช่นเดียวกัน การทดลองนี้ แสดงให้เห็นว่าการกระตุ้นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 หรือกระต้นุใยประสาทที่ไปเลีย้งกล้ามเนื้อนั้น จะทา ให้เกิดการปล่อย สารบางชนิดออกมายับยั้งการทา งานของกล้ามเนื้อหัวใจ สารที่หลั่ง ออกจากจากใยประสาทเรียกว่า สารสื่อประสาท(neurotransmitter)
  • 56. สารสื่อประสาท (neurotransmitter) สารสื่อประสาท ทา หน้าที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดกระแสประสาทจาก เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง และพบว่าที่บริเวณปลายแอกซอนมีสาร สื่อประสาทปริมาณสูงมาก สารสื่อประสาทมีหลายชนิด ได้แก่ 1. แอซิติลโคลีน (acetylcholine) 2. นอร์เอพิเนฟริน (nor epinephrine) 3. เอนดอร์ฟิน (endorphin) สารสื่อประสาทที่เหลืออยู่ในช่องไซแนปส์จะถูกสลายด้วยเอนไซม์ สารที่ได้จากการย่อยสลายนี้ บางส่วนจะถูกนากลับไปสร้างเป็นสารสื่อ ประสาทใหม่บางส่วนจะเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือด เพื่อนาไปสู่เซลล์ อ่นืที่ต้องการใช้
  • 57. ไซแนปส์ (Synapse) ไซแนปส์ หมายถึง การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท ด้วยกัน หรือเซลล์ประสาทกับหน่วยปฏิบัติงาน เซลล์ประสาททา งานร่วมกันผ่านไซแนปส์ซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่ชิดกันที่สุด ระหว่างเย่อืหุ้มของเซลล์ประสาทด้วยกัน (มีขนาด 0.02 ไมโครเมตร ) โดยส่งกระแสประสาทจากแอกซอนของเซลล์หนึ่งข้ามไปยังเดนไดรต์ ของอีกเซลล์หนึ่ง ที่ปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์จะมีถุงขนาดเล็ก ภายในถุง เหล่านี้จะบรรจุสารสื่อประสาท เมื่อกระแสประสาทผ่านมาจนถึงปลายแอก ซอน ถุงเล็กๆจะเคลื่อนไปรวมตัวกับเยื่อห้มุเซลล์ แล้วปล่อยสารสื่อประสาท ออกมา ทา หน้าที่เป็นสิ่งเร้ากระต้นุปลายเดนไดรต์ของอีกเซลล์ ให้มี กระแสประสาทเกิดขึน้ และถูกถ่ายทอดต่อไปจนถึงปลายทาง
  • 60. สารสื่อประสาทที่ปล่อยออกมาจากถุงบรรจุสารสื่อประสาท เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยออกมาจากถุงบรรจุสารสื่อประสาทที่ เยื่อหุ้มปลายแอกซอนเข้าสู่ช่องไซแนปส์สารสื่อประสาทจะไปจับกับ โปรตีนตัวรับที่เย่อืห้มุเซลล์ของเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ทา ให้เกิด การเคลื่อนท่ขีองไอออนผ่านเยื่อห้มุเซลล์ เกิดการเปลี่ยนแปลงความ ต่างศักย์ที่เดนไดรต์ของเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ทา ให้เกิด ดีโพลาไรเซชันหรือไฮเพอร์โพลาไรเซชัน และทาให้เกิดการส่งกระแส ประสาทต่อไป ต่อมาปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์จะปล่อย เอนไซม์ออกมาย่อยสลายสารสื่อประสาทที่เหลืออยู่ในช่องไซแนปส์
  • 63. การถ่ายทอดกระแสประสาทผ่านไซแนปส์ 1. ไซแนปส์ไฟฟ้ า ( Electrical synapse ) มีโครงสร้างและการ ทางานที่ไม่ซับซ้อน โดยเกิดจากการเคลื่อนย้ายกระแสไฟฟ้าที่ปลายสุดของ Axon และปลายสุดของ Dendrite จะมีช่อง gap junction ทาให้ มีการไหลของโซเดยีมไอออนเข้าไปในอีกเซลล์หนึ่งได้ 2. ไซแนปส์เคมี (Chemical Synapse )เป็นการถ่ายทอดกระแส ประสาทในรูปของสารเคมี เกิดขึน้กับเซลล์ประสาทที่มีช่วงไซแนปส์กว้าง สารเคมีทา หน้าที่นากระแสประสาทเรียกว่า สารสื่อประสาท (Neurotransmitter) ซึ่งถูกสร้างขึน้ที่ถุงเล็ก ๆ ในไซโทพลาซมึตรง บริเวณปลายแอกซอน และลอยไปจับกับช่องของโซเดียม ทาให้ช่องของ โซเดียมเปิดและโซเดียมไอออนจะไหลผ่านเข้าไปในเซลล์
  • 64. ยาที่มีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาท 1. ยาระงับประสาทบางชนิด ระงับการปล่อยสารสื่อประสาท กระแส ประสาทจึงส่งไปยังสมองน้อยลง ทาให้มีอาการสงบ ไม่วิตกกังวน 2. สารจา พวกนิโคติน คาเฟอีน หรือแอมเฟตามีน จะไปกระต้นุ Axon ให้ปล่อยสารสื่อประสาท ทา ให้เกิดการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว 3. สารพิษจากแบคทีเรีย สารจะไปยับยั้งไม่ให้แอกซอนปล่อยสารสื่อ ประสาท ทา ให้กล้ามเนื้อไม่หดตัว เกิดอาการอัมพาต 4. สารกา จัดแมลงบางชนิด สามารถยับยั้งการทา งานของเอนไซม์ ที่จะ มาสลายสารสื่อประสาท