SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Faculty of Arts and Design , Rangsit University
บทที ่ 1
ความหมายและความสำ า คั ญ ของ
ศิ ล ปะ
        พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้คำาจำากัดความว่า
ศิลปะ คือ ผลแห่งพลังความคิดสร้าสรรค์ของมนุษย์ที่แสดงออกมา
   ในรูปลักษณ์ต่าง ๆ ให้ปรากฏซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ
หรือ ความสะเทือนอารมณ์ ตามอัจฉริยภาพ พุทธิปัญญา รสนิยม
 และทักษะของแต่ละคน เพื่อความพอใจ ความรืนรมย์ หรือความ
                                              ่
                      เชื่อในลัทธิศาสนา
                    เกอเต กวีชาวเยอรมัน กล่าวว่า
       “ศิลปะเป็นศิลปะได้ เพราะว่าศิลปะไม่ใช่ธรรมชาติ “
ศิ ล ปะในความหมายเฉพาะ
        วิ จ ิ ต รศิ ล ป์ (Fine Arts หรือ Beaux’ Art)
                      เป็นคำาที่บัญญัติขึ้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 เพือ่
ใช้เรียกงานศิลปะ
                      ที่ทำาขึ้นเพื่อประเทืองปัญญาและอารมณ์
        ประยุ ก ต์ ศ ิ ล ป์ (Applied Arts) เป็นศิลปะที่ทำาขึ้นเพื่อ
ประโยชน์ใช้สอย
ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของสื ่ อ
         ในการแสดงออก
• จิ ต รกรรม           เป็นศิลปะที่แสดงออกด้วย
               (Painting)
                  การใช้สี แสง เงา และแผ่นภาพที่แบนราบเป็น 2
  มิติ
• ประติ ม ากรรม (Sculpture) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้วัสดุ
  และปริมาตรของรูปทรง
ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของสื ่ อ
            ในการแสดงออก วยการใช้
• สถาปั ต ยกรรม (Architecture) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้
  วัสดุ โครงสร้าง และปริมาตรของที่วางกับรูปทรง
                                   ่
• วรรณกรรม (Literature) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้ภาษา
• ดนตรี แ ละนาฎกรรม (Music Drama) เป็นศิลปะที่แสดงออก
  ด้วยการใช้เสียง (หรือภาษา) และความเคลื่อนไหวของ
  ร่างกาย
ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของสื ่ อ
            ในการแสดงออก วยการใช้
• สถาปั ต ยกรรม (Architecture) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้
  วัสดุ โครงสร้าง และปริมาตรของที่วางกับรูปทรง
                                   ่
• วรรณกรรม (Literature) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้ภาษา
• ดนตรี แ ละนาฎกรรม (Music Drama) เป็นศิลปะที่แสดงออก
  ด้วยการใช้เสียง (หรือภาษา) และความเคลื่อนไหวของ
  ร่างกาย
ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของการ
                       รัความพอใจในสุนทรียภาพระดับสูงมี
     การรับรู้สัมผัสที่ให้
                           บ สั ม ผั ส                   2
ทาง คือ ทางตาและหู ส่วนทางจมูก ลิ้น และกาย เป็นทางรับที่ให้
ความพอใจในสุนทรียภาพระดับรองลงไป แบ่งออกเป็น 3 สาขา คือ
        •ทัศนศิลป์ (Visual Arts) เป็นศิลปะที่รับสัมผัสด้วยการ
          เห็น ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และ
                            สถาปัตยกรรม
ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของการ
                       รั บ สั ม นทรีสภาพระดับสูงมี ทาง คือ
การรับรู้สัมผัสที่ให้ความพอใจในสุ
                                  ผั ย               2
ทางตาและหู ส่วนทางจมูก ลิ้น และกาย เป็นทางรับที่ให้ความพอใจ
ในสุนทรียภาพระดับรองลงไป แบ่งออกเป็น 3 สาขา คือ
        2. โสตศิลป์ (Aural Arts) เป็นศิลปะที่รับสัมผัสด้วยการ
ฟัง ได้แก่ ดนตรี และวรรณกรรม (ผ่านการอ่านหรือร้อง)
ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของการ
                       รั บ สั ม นทรีสภาพระดับสูงมี ทาง คือ
การรับรู้สัมผัสที่ให้ความพอใจในสุ
                                  ผั ย               2
ทางตาและหู ส่วนทางจมูก ลิ้น และกาย เป็นทางรับที่ให้ความพอใจ
ในสุนทรียภาพระดับรองลงไป แบ่งออกเป็น 3 สาขา คือ
        2. โสตศิลป์ (Aural Arts) เป็นศิลปะที่รับสัมผัสด้วยการ
ฟัง ได้แก่ ดนตรี และวรรณกรรม (ผ่านการอ่านหรือร้อง)
ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของการ
                       รั บ สั ม นทรีสภาพระดับสูงมี ทาง คือ
การรับรู้สัมผัสที่ให้ความพอใจในสุ
                                  ผั ย             2
ทางตาและหู ส่วนทางจมูก ลิ้น และกาย เป็นทางรับที่ให้ความพอใจ
ในสุนทรียภาพระดันศิลป์ (Audioออกเป็น 3Arts) คือนศิลปะทีรับ
       3. โสตทัศบรองลงไป แบ่ง Visual สาขา เป็            ่
สัมผัสด้วยการฟังและการเห็นพร้อมกัน ได้แก่ นาฎกรรม การแสดง
ภาพยนตร์ ซึ่งเป็นการผสมกันของวรรณกรรม ดนตรี และทัศนศิลป์
บางแห่งเรียก ศิลปะสาขานี้ว่า ศิลปะผสม (Mixed Art)
การศึ ก ษาประวั ต ิ ศ าสตร์ แ ละความ
        เป็ น มาของงานศิ ล ปะ
         เน้นให้ผู้เรียนมีความคิดรวบยอด (Concept) หมายถึง ความ
 คิดที่มนุษย์ใช้เป็นองค์ประกอบในการเรียนรู้ ศึกษาทำาความเข้าใจ
  ชีวตสภาพแวดล้อม เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยให้เกิดความรู้ความ
     ิ
เข้าใจในสรรพสิ่งรอบตัว หลักการอยู่ที่ความสามารถในการจำาแนก
     และการจัดหมวดหมู่ของสรรพสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมนุษย์ต้องเรียนรู้
  ทำาความเข้าใจตลอดชีวิต โดยมีความเข้าใจในลักษณะขององค์
  รวม (Holistic) เกี่ยวกับความเชื่อ เรื่องราว รูปแบบ เหตุการณ์ แรง
   บันดาลใจ สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสาเหตุต่างๆ ที่
  ทำาให้สามารถแยกแยะประเด็นสำาคัญเกียวกับรูปแบบศิลปกรรม
                                            ่
                       โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ
1.ต้ น กำ า เนิ ด (Origin) การศึกษาเรื่องราวของ
  ศิลปกรรมต้องมีความเข้าใจว่าสิ่ง                     ทั้ง
          หลายเกิดขึนได้ย่อมมีรากฐานที่มา
                         ้
   2.การวิ ว ั ฒ นาการ (Evolution) เพือให้เข้าใจถึงการ
                                          ่
 คลี่คลายหรือความ                             เปลี่ยนแปลง
                  ของศิลปะแต่ละยุคสมัย
     3.การพั ฒ นา (Development) เพือให้เข้าใจถึงการ
                                        ่
เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เกิด                     ความก้าวหน้า
                           ทางศิลปะ
•อิ ท ธิ พ ล (Influence) เพื่อให้เข้าใจถึงการนำาเอาแบบอย่างหรือ
    เลียนแบบ ซึ่งมีอิทธิพลในการสร้างศิลปะ การรับอิทธิพลมี 2
 ประการ คือ อิทธิพลที่มองเห็น (Visible Influence) ได้แก่ การลอก
เลียนแบบที่เห็นได้อย่างชัดเจน และอิทธิพลที่มองไม่เห็น (Invisible
Influence) ได้แก่ การที่ศิลปินเห็นความดีงามในการสร้างสรรค์งาน
  ของศิลปินสกุลอืนหรือชาติอน แล้วกลั่นกรองเอาแบบอย่างผสม
                     ่            ื่
                        ผสานลงในงานของตน
     •การสื บ เนื ่ อ ง (Transition) เพื่อให้รู้จักการสืบเนื่องและการ
 ถ่ายทอดศิลปกรรม เป็นวิธการในการรักษาศิลปะไว้มิให้สูญหาย
                              ี
     •การประยุ ก ต์ (Application) เพื่อให้รู้จักปรับปรุงสร้างสรรค์
งานศิลปะขึ้นในปัจจุบัน และสนองธรรมชาติความต้องการสิ่งแปลก
                          ๆ ใหม่ ๆ ของมนุษย์
ความเป็ น มางานศิ ล ปะ
        จอห์น รัสกิน (John Ruskin) ให้ความเห็นว่า ชาติที่ยิ่งใหญ่
   สามารถเขียนประวัติศาสตร์ของชาติตนเป็นหนังสือได้ 3 เล่ม คือ
  หนังสือแห่งคำาพูด หนังสือแห่งการกระทำา และหนังสือศิลปะ (Book of
              speech, Book of doing, Book of art) นั่นคือ
                       1. หนังสือเกี่ยวกับวรรณคดี
                       2. หนังสือเกี่ยวกับสงคราม
                        3. หนังสือเกี่ยวกับศิลปะ
เรื ่ อ งราวที ่ ใ ช้ ใ นการสร้ า งงาน
ศิ ล ปะ
      •เรื ่ อ งราวที ่ เ กี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย์ แ ละธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์
 (Man and his own Nature)       ซึ่งได้แก่เรื่องความรัก ความโลภ ความ
โกรธ ความหลง ความอิจฉาริษยา ฯลฯ ทำาให้ผู้ชมงานศิลปะนึกถึง
            ตนเอง และสังเกตธรรมชาติของตัวเองมากขึน                      ้
   •เรื ่ อ งราวที ่ ม นุ ษ ย์ ท ี ่ เ กี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย์ ก ั บ มนุ ษ ย์ ด ้ ว ยกั น
(Man and other people) เช่น เรื่องประวัติศาสตร์ สงคราม ธรรมชาติ
ของครอบครัว การทำามาหากิน ความเห็นอกเห็นใจต่อเพื่อนมนุษย์
                                       เป็นต้น
เรื ่ อ งราวที ่ ใ ช้ ใ นการสร้ า งงาน
ศิ ล ปะ
3. เรื ่ อ งราวที ่ เ กี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย์ แ ละสิ ่ ง แวดล้ อ ม (Man and the
impersonal Environment)          เป็นเรื่องราวทางเทคโนโลยี การค้นคว้า
ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
4. เรื ่ อ งราวที ่ เ กี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย์ แ ละสิ ่ ง ไม่ ม ี ต ั ว ตน (Man and
Intangibles) ได้แก่ เรื่องราวของเทพเจ้า ศาสนา โบราณนิยาย เทพ
ปกรนัม
รู ป แบบงานศิ ล ปกรรม
      รูปแบบงานศิลปะ หมายถึง ลักษณะเด่นทีมองเห็น
                                           ่
ในศิลปกรรมแขนงใดแขนงหนึ่ง มีความสัมพันธ์กับความ
ศรัทธาของมนุษย์ และเกี่ยวโยงกับคุณค่าของวัสดุ
รู ป แบบในลั ก ษณะที ่ เ หมื อ นจริ ง ตาม
ธรรมชาติ (Realistic)
       เป็นการถ่ายทอดโดยใช้สื่อรูปแบบตามธรรมชาติ เช่น ภาพ
 คน สัตว์ ทิวทัศน์ ซึ่งผู้ดูส่วนใหญ่สามารถเข้าใจได้ด้วยเคยมีพื้น
ฐานประสบการณ์เกี่ยวกับรูปแบบเหล่านี้มาแล้ว ศิลปินอาจถ่ายทอด
             ตามตาเห็น หรือนำาเอาวัสดุมาจัดวางใหม่
รู ป แบบในลั ก ษณะกึ ่ ง นามธรรม
                   (Semi abstract)
        เป็นการถ่ายทอดโดยให้ความสำาคัญแก่ธรรมชาติน้อยลง
 และเพิ่มความสำาคัญที่ตัวบุคคลผู้สร้างศิลปกรรมมากขึ้น โดยรูป
แบบของธรรมชาติที่นำามาเป็นสื่อนั้นถูกลด สกัด ตัดทอน การจัดวาง
      มิได้คำานึงถึงกฎเกณฑ์ความเป็นจริงตามธรรมชาติ
รู ป แบบในลั ก ษณะนามธรรม
(Abstract)
        เป็นการถ่ายทอดที่ ไม่คำานึงถึงรูปแบบหรือกฎเกณฑ์ของ
  ธรรมชาติ แต่จะคำานึงถึงรูปแบบอันเป็นลักษณะที่ตนจะต้องแก้
ปัญหา โดยมีกฎเกณฑ์ทางศิลปะเป็นแนวประกอบในการสร้างงาน
  (ทัศนธาตุ ได้แก่ เส้น สี พื้นผิว รูปทรง นำ้าหนัก) งานศิลปกรรม
 ประเภทนามธรรมจัดว่าเป็นการเปิดโลกแห่งจินตนาการอย่างไร้
ขอบเขตเป็นการเปิดกว้างในการตีความ ซึ่งจะเห็นพ้องต้องกันหรือ
                  แตกต่างกันนั้นไม่เป็นสิ่งสำาคัญ
       ช่วงแรกจากการดูคือความเพลิดเพลินไปกับจินตนาการที่
   ไม่หยุดนิ่ง ลึกลงไปดูโดยใช้หลักเกณฑ์เกี่ยวกับศิลปะ เช่น ดู
            ลักษณะการจัดภาพ การใช้สื่อที่เหมาะสม
รู ป แบบในลั ก ษณะนามธรรม
(Abstract)
        เป็นการถ่ายทอดที่ ไม่คำานึงถึงรูปแบบหรือกฎเกณฑ์ของ
  ธรรมชาติ แต่จะคำานึงถึงรูปแบบอันเป็นลักษณะที่ตนจะต้องแก้
ปัญหา โดยมีกฎเกณฑ์ทางศิลปะเป็นแนวประกอบในการสร้างงาน
  (ทัศนธาตุ ได้แก่ เส้น สี พื้นผิว รูปทรง นำ้าหนัก) งานศิลปกรรม
 ประเภทนามธรรมจัดว่าเป็นการเปิดโลกแห่งจินตนาการอย่างไร้
ขอบเขตเป็นการเปิดกว้างในการตีความ ซึ่งจะเห็นพ้องต้องกันหรือ
                  แตกต่างกันนั้นไม่เป็นสิ่งสำาคัญ
       ช่วงแรกจากการดูคือความเพลิดเพลินไปกับจินตนาการที่
   ไม่หยุดนิ่ง ลึกลงไปดูโดยใช้หลักเกณฑ์เกี่ยวกับศิลปะ เช่น ดู
            ลักษณะการจัดภาพ การใช้สื่อที่เหมาะสม
คุ ณ ค่ า ในศิ ล ปกรรม
         ระดับของการประเมินค่าข้อเท็จจริงในแง่ต่าง ๆ โดยอาศัย
กฎเกณฑ์เงื่อนไขที่เป็นเฉพาะตัว ได้แก่ พื้นฐานประสบการณ์ ความ
 รู้สึกชอบหรือไม่ชอบ และเงื่อนไข กฎเกณฑ์ที่เป็นข้อตกลงร่วมนั้น
ได้แก่ กฎหรือข้อกำาหนดต่าง ๆ ที่เป็นแกนร่วม จะมีความแตกต่างกัน
           ออกไป ตามสภาพของกาลเวลาและสถานที่
การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทาง
ศิ ล ปกรรม
       •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางด้ า นเศรษฐกิ จ (Economical
  Value) ได้แก่ ระดับการประเมินค่าทางวัตถุว่ามีประโยชน์ต่อการ
              ดำารงชีพของมนุษย์มากหรือน้อยเพียงใด
    •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางประวั ต ิ ศ าสตร์ (Historical Value)
 ได้แก่ ระดับการประเมินค่าจากเรื่องราวประวัติความเป็นมา ความ
               เจริญ ความคิดอ่านของมนุษย์ในอดีต
    •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรม (Cultural Value) ได้แก่
   ระดับการประเมินค่ามรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ และ
                             ชนชาติ
     •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางด้ า นสุ น ทรี ย ์ (Aesthetical Value)
ได้แก่ ระดับของการประเมินค่าของวัตถุ ความคิด ความประพฤติ ว่า
           มีคุณค่าทางด้านอารมณ์มากหรือน้อยเพียงใด
     •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางสั ง คม (Social Value) ได้แก่ ระดับ
  การประเมินค่าต่อสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม ชี้แนะให้เห็นถึง
 ความยุติธรรม การเสนอความคิด หรือการสะท้อนความจริงที่ควร
Faculty of Arts and Design , Rangsit University

Contenu connexe

Tendances

ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
Heeroyuy Heero
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
พัน พัน
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
พัน พัน
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
kkrunuch
 
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลายเอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
peter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
peter dontoom
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
Preeda Chanlutin
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
Preeda Chanlutin
 

Tendances (18)

ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลายเอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
 
Content06
Content06Content06
Content06
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
 
Visual Elements
Visual ElementsVisual Elements
Visual Elements
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
 
เอกสารแจกนักเรียน ม.5
เอกสารแจกนักเรียน ม.5เอกสารแจกนักเรียน ม.5
เอกสารแจกนักเรียน ม.5
 

En vedette

ნატურალური რიცხვები
ნატურალური რიცხვებინატურალური რიცხვები
ნატურალური რიცხვები
lelaratiani
 
თვლის სისტემები
თვლის  სისტემებითვლის  სისტემები
თვლის სისტემები
mariettatorosiani
 
რიცხვების სამყარო და მათი თვისებები
რიცხვების სამყარო და მათი თვისებებირიცხვების სამყარო და მათი თვისებები
რიცხვების სამყარო და მათი თვისებები
dalikodaliko
 
პრეზენტაცია მათემატიკაში VI კლასი
პრეზენტაცია მათემატიკაში VI კლასიპრეზენტაცია მათემატიკაში VI კლასი
პრეზენტაცია მათემატიკაში VI კლასი
gkochiashvili
 

En vedette (7)

60დან 70-მდე რიცხვების გაცნობა
60დან 70-მდე რიცხვების გაცნობა60დან 70-მდე რიცხვების გაცნობა
60დან 70-მდე რიცხვების გაცნობა
 
მათემატიკის ინტეგრირებული გაკვეთილის სურათები
მათემატიკის ინტეგრირებული გაკვეთილის სურათებიმათემატიკის ინტეგრირებული გაკვეთილის სურათები
მათემატიკის ინტეგრირებული გაკვეთილის სურათები
 
ეკატერინე მეტრეველი
ეკატერინე მეტრეველიეკატერინე მეტრეველი
ეკატერინე მეტრეველი
 
ნატურალური რიცხვები
ნატურალური რიცხვებინატურალური რიცხვები
ნატურალური რიცხვები
 
თვლის სისტემები
თვლის  სისტემებითვლის  სისტემები
თვლის სისტემები
 
რიცხვების სამყარო და მათი თვისებები
რიცხვების სამყარო და მათი თვისებებირიცხვების სამყარო და მათი თვისებები
რიცხვების სამყარო და მათი თვისებები
 
პრეზენტაცია მათემატიკაში VI კლასი
პრეზენტაცია მათემატიკაში VI კლასიპრეზენტაცია მათემატიკაში VI კლასი
პრეზენტაცია მათემატიკაში VI კლასი
 

Similaire à Content01

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
Yatphirun Phuangsuwan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
Yatphirun Phuangsuwan
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
พิพัฒน์ ตะภา
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
peter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
peter dontoom
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
Yatphirun Phuangsuwan
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
Thidarat Termphon
 

Similaire à Content01 (19)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
Content06
Content06Content06
Content06
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นในการวาดเส้น
เรื่อง   ความรู้เบื้องต้นในการวาดเส้นเรื่อง   ความรู้เบื้องต้นในการวาดเส้น
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นในการวาดเส้น
 
9789740329237
97897403292379789740329237
9789740329237
 
ทช31003
ทช31003ทช31003
ทช31003
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
 

Plus de ครุศิลปะสร้างสรรค์งานศิลป์ กับศิลป

Plus de ครุศิลปะสร้างสรรค์งานศิลป์ กับศิลป (12)

Content01
Content01Content01
Content01
 
Content11
Content11Content11
Content11
 
Content08 part02
Content08 part02Content08 part02
Content08 part02
 
Content08 part01
Content08 part01Content08 part01
Content08 part01
 
Content07
Content07Content07
Content07
 
Content08 part02
Content08 part02Content08 part02
Content08 part02
 
Content08 part01
Content08 part01Content08 part01
Content08 part01
 
Content07
Content07Content07
Content07
 
Content 05final
Content 05finalContent 05final
Content 05final
 
Content04
Content04Content04
Content04
 
Content05
Content05Content05
Content05
 
Content03
Content03Content03
Content03
 

Content01

  • 1. Faculty of Arts and Design , Rangsit University
  • 2. บทที ่ 1 ความหมายและความสำ า คั ญ ของ ศิ ล ปะ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้คำาจำากัดความว่า ศิลปะ คือ ผลแห่งพลังความคิดสร้าสรรค์ของมนุษย์ที่แสดงออกมา ในรูปลักษณ์ต่าง ๆ ให้ปรากฏซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือ ความสะเทือนอารมณ์ ตามอัจฉริยภาพ พุทธิปัญญา รสนิยม และทักษะของแต่ละคน เพื่อความพอใจ ความรืนรมย์ หรือความ ่ เชื่อในลัทธิศาสนา เกอเต กวีชาวเยอรมัน กล่าวว่า “ศิลปะเป็นศิลปะได้ เพราะว่าศิลปะไม่ใช่ธรรมชาติ “
  • 3.
  • 4. ศิ ล ปะในความหมายเฉพาะ วิ จ ิ ต รศิ ล ป์ (Fine Arts หรือ Beaux’ Art) เป็นคำาที่บัญญัติขึ้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 เพือ่ ใช้เรียกงานศิลปะ ที่ทำาขึ้นเพื่อประเทืองปัญญาและอารมณ์ ประยุ ก ต์ ศ ิ ล ป์ (Applied Arts) เป็นศิลปะที่ทำาขึ้นเพื่อ ประโยชน์ใช้สอย
  • 5. ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของสื ่ อ ในการแสดงออก • จิ ต รกรรม เป็นศิลปะที่แสดงออกด้วย (Painting) การใช้สี แสง เงา และแผ่นภาพที่แบนราบเป็น 2 มิติ • ประติ ม ากรรม (Sculpture) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้วัสดุ และปริมาตรของรูปทรง
  • 6. ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของสื ่ อ ในการแสดงออก วยการใช้ • สถาปั ต ยกรรม (Architecture) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้ วัสดุ โครงสร้าง และปริมาตรของที่วางกับรูปทรง ่ • วรรณกรรม (Literature) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้ภาษา • ดนตรี แ ละนาฎกรรม (Music Drama) เป็นศิลปะที่แสดงออก ด้วยการใช้เสียง (หรือภาษา) และความเคลื่อนไหวของ ร่างกาย
  • 7. ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของสื ่ อ ในการแสดงออก วยการใช้ • สถาปั ต ยกรรม (Architecture) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้ วัสดุ โครงสร้าง และปริมาตรของที่วางกับรูปทรง ่ • วรรณกรรม (Literature) เป็นศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้ภาษา • ดนตรี แ ละนาฎกรรม (Music Drama) เป็นศิลปะที่แสดงออก ด้วยการใช้เสียง (หรือภาษา) และความเคลื่อนไหวของ ร่างกาย
  • 8. ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของการ รัความพอใจในสุนทรียภาพระดับสูงมี การรับรู้สัมผัสที่ให้ บ สั ม ผั ส 2 ทาง คือ ทางตาและหู ส่วนทางจมูก ลิ้น และกาย เป็นทางรับที่ให้ ความพอใจในสุนทรียภาพระดับรองลงไป แบ่งออกเป็น 3 สาขา คือ •ทัศนศิลป์ (Visual Arts) เป็นศิลปะที่รับสัมผัสด้วยการ เห็น ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และ สถาปัตยกรรม
  • 9. ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของการ รั บ สั ม นทรีสภาพระดับสูงมี ทาง คือ การรับรู้สัมผัสที่ให้ความพอใจในสุ ผั ย 2 ทางตาและหู ส่วนทางจมูก ลิ้น และกาย เป็นทางรับที่ให้ความพอใจ ในสุนทรียภาพระดับรองลงไป แบ่งออกเป็น 3 สาขา คือ 2. โสตศิลป์ (Aural Arts) เป็นศิลปะที่รับสัมผัสด้วยการ ฟัง ได้แก่ ดนตรี และวรรณกรรม (ผ่านการอ่านหรือร้อง)
  • 10. ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของการ รั บ สั ม นทรีสภาพระดับสูงมี ทาง คือ การรับรู้สัมผัสที่ให้ความพอใจในสุ ผั ย 2 ทางตาและหู ส่วนทางจมูก ลิ้น และกาย เป็นทางรับที่ให้ความพอใจ ในสุนทรียภาพระดับรองลงไป แบ่งออกเป็น 3 สาขา คือ 2. โสตศิลป์ (Aural Arts) เป็นศิลปะที่รับสัมผัสด้วยการ ฟัง ได้แก่ ดนตรี และวรรณกรรม (ผ่านการอ่านหรือร้อง)
  • 11. ศิ ล ปะแบ่ ง ตามลั ก ษณะของการ รั บ สั ม นทรีสภาพระดับสูงมี ทาง คือ การรับรู้สัมผัสที่ให้ความพอใจในสุ ผั ย 2 ทางตาและหู ส่วนทางจมูก ลิ้น และกาย เป็นทางรับที่ให้ความพอใจ ในสุนทรียภาพระดันศิลป์ (Audioออกเป็น 3Arts) คือนศิลปะทีรับ 3. โสตทัศบรองลงไป แบ่ง Visual สาขา เป็ ่ สัมผัสด้วยการฟังและการเห็นพร้อมกัน ได้แก่ นาฎกรรม การแสดง ภาพยนตร์ ซึ่งเป็นการผสมกันของวรรณกรรม ดนตรี และทัศนศิลป์ บางแห่งเรียก ศิลปะสาขานี้ว่า ศิลปะผสม (Mixed Art)
  • 12. การศึ ก ษาประวั ต ิ ศ าสตร์ แ ละความ เป็ น มาของงานศิ ล ปะ เน้นให้ผู้เรียนมีความคิดรวบยอด (Concept) หมายถึง ความ คิดที่มนุษย์ใช้เป็นองค์ประกอบในการเรียนรู้ ศึกษาทำาความเข้าใจ ชีวตสภาพแวดล้อม เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยให้เกิดความรู้ความ ิ เข้าใจในสรรพสิ่งรอบตัว หลักการอยู่ที่ความสามารถในการจำาแนก และการจัดหมวดหมู่ของสรรพสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมนุษย์ต้องเรียนรู้ ทำาความเข้าใจตลอดชีวิต โดยมีความเข้าใจในลักษณะขององค์ รวม (Holistic) เกี่ยวกับความเชื่อ เรื่องราว รูปแบบ เหตุการณ์ แรง บันดาลใจ สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสาเหตุต่างๆ ที่ ทำาให้สามารถแยกแยะประเด็นสำาคัญเกียวกับรูปแบบศิลปกรรม ่ โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ
  • 13. 1.ต้ น กำ า เนิ ด (Origin) การศึกษาเรื่องราวของ ศิลปกรรมต้องมีความเข้าใจว่าสิ่ง ทั้ง หลายเกิดขึนได้ย่อมมีรากฐานที่มา ้ 2.การวิ ว ั ฒ นาการ (Evolution) เพือให้เข้าใจถึงการ ่ คลี่คลายหรือความ เปลี่ยนแปลง ของศิลปะแต่ละยุคสมัย 3.การพั ฒ นา (Development) เพือให้เข้าใจถึงการ ่ เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เกิด ความก้าวหน้า ทางศิลปะ
  • 14. •อิ ท ธิ พ ล (Influence) เพื่อให้เข้าใจถึงการนำาเอาแบบอย่างหรือ เลียนแบบ ซึ่งมีอิทธิพลในการสร้างศิลปะ การรับอิทธิพลมี 2 ประการ คือ อิทธิพลที่มองเห็น (Visible Influence) ได้แก่ การลอก เลียนแบบที่เห็นได้อย่างชัดเจน และอิทธิพลที่มองไม่เห็น (Invisible Influence) ได้แก่ การที่ศิลปินเห็นความดีงามในการสร้างสรรค์งาน ของศิลปินสกุลอืนหรือชาติอน แล้วกลั่นกรองเอาแบบอย่างผสม ่ ื่ ผสานลงในงานของตน •การสื บ เนื ่ อ ง (Transition) เพื่อให้รู้จักการสืบเนื่องและการ ถ่ายทอดศิลปกรรม เป็นวิธการในการรักษาศิลปะไว้มิให้สูญหาย ี •การประยุ ก ต์ (Application) เพื่อให้รู้จักปรับปรุงสร้างสรรค์ งานศิลปะขึ้นในปัจจุบัน และสนองธรรมชาติความต้องการสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ ของมนุษย์
  • 15. ความเป็ น มางานศิ ล ปะ จอห์น รัสกิน (John Ruskin) ให้ความเห็นว่า ชาติที่ยิ่งใหญ่ สามารถเขียนประวัติศาสตร์ของชาติตนเป็นหนังสือได้ 3 เล่ม คือ หนังสือแห่งคำาพูด หนังสือแห่งการกระทำา และหนังสือศิลปะ (Book of speech, Book of doing, Book of art) นั่นคือ 1. หนังสือเกี่ยวกับวรรณคดี 2. หนังสือเกี่ยวกับสงคราม 3. หนังสือเกี่ยวกับศิลปะ
  • 16. เรื ่ อ งราวที ่ ใ ช้ ใ นการสร้ า งงาน ศิ ล ปะ •เรื ่ อ งราวที ่ เ กี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย์ แ ละธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ (Man and his own Nature) ซึ่งได้แก่เรื่องความรัก ความโลภ ความ โกรธ ความหลง ความอิจฉาริษยา ฯลฯ ทำาให้ผู้ชมงานศิลปะนึกถึง ตนเอง และสังเกตธรรมชาติของตัวเองมากขึน ้ •เรื ่ อ งราวที ่ ม นุ ษ ย์ ท ี ่ เ กี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย์ ก ั บ มนุ ษ ย์ ด ้ ว ยกั น (Man and other people) เช่น เรื่องประวัติศาสตร์ สงคราม ธรรมชาติ ของครอบครัว การทำามาหากิน ความเห็นอกเห็นใจต่อเพื่อนมนุษย์ เป็นต้น
  • 17. เรื ่ อ งราวที ่ ใ ช้ ใ นการสร้ า งงาน ศิ ล ปะ 3. เรื ่ อ งราวที ่ เ กี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย์ แ ละสิ ่ ง แวดล้ อ ม (Man and the impersonal Environment) เป็นเรื่องราวทางเทคโนโลยี การค้นคว้า ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 4. เรื ่ อ งราวที ่ เ กี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย์ แ ละสิ ่ ง ไม่ ม ี ต ั ว ตน (Man and Intangibles) ได้แก่ เรื่องราวของเทพเจ้า ศาสนา โบราณนิยาย เทพ ปกรนัม
  • 18. รู ป แบบงานศิ ล ปกรรม รูปแบบงานศิลปะ หมายถึง ลักษณะเด่นทีมองเห็น ่ ในศิลปกรรมแขนงใดแขนงหนึ่ง มีความสัมพันธ์กับความ ศรัทธาของมนุษย์ และเกี่ยวโยงกับคุณค่าของวัสดุ
  • 19. รู ป แบบในลั ก ษณะที ่ เ หมื อ นจริ ง ตาม ธรรมชาติ (Realistic) เป็นการถ่ายทอดโดยใช้สื่อรูปแบบตามธรรมชาติ เช่น ภาพ คน สัตว์ ทิวทัศน์ ซึ่งผู้ดูส่วนใหญ่สามารถเข้าใจได้ด้วยเคยมีพื้น ฐานประสบการณ์เกี่ยวกับรูปแบบเหล่านี้มาแล้ว ศิลปินอาจถ่ายทอด ตามตาเห็น หรือนำาเอาวัสดุมาจัดวางใหม่
  • 20. รู ป แบบในลั ก ษณะกึ ่ ง นามธรรม (Semi abstract) เป็นการถ่ายทอดโดยให้ความสำาคัญแก่ธรรมชาติน้อยลง และเพิ่มความสำาคัญที่ตัวบุคคลผู้สร้างศิลปกรรมมากขึ้น โดยรูป แบบของธรรมชาติที่นำามาเป็นสื่อนั้นถูกลด สกัด ตัดทอน การจัดวาง มิได้คำานึงถึงกฎเกณฑ์ความเป็นจริงตามธรรมชาติ
  • 21. รู ป แบบในลั ก ษณะนามธรรม (Abstract) เป็นการถ่ายทอดที่ ไม่คำานึงถึงรูปแบบหรือกฎเกณฑ์ของ ธรรมชาติ แต่จะคำานึงถึงรูปแบบอันเป็นลักษณะที่ตนจะต้องแก้ ปัญหา โดยมีกฎเกณฑ์ทางศิลปะเป็นแนวประกอบในการสร้างงาน (ทัศนธาตุ ได้แก่ เส้น สี พื้นผิว รูปทรง นำ้าหนัก) งานศิลปกรรม ประเภทนามธรรมจัดว่าเป็นการเปิดโลกแห่งจินตนาการอย่างไร้ ขอบเขตเป็นการเปิดกว้างในการตีความ ซึ่งจะเห็นพ้องต้องกันหรือ แตกต่างกันนั้นไม่เป็นสิ่งสำาคัญ ช่วงแรกจากการดูคือความเพลิดเพลินไปกับจินตนาการที่ ไม่หยุดนิ่ง ลึกลงไปดูโดยใช้หลักเกณฑ์เกี่ยวกับศิลปะ เช่น ดู ลักษณะการจัดภาพ การใช้สื่อที่เหมาะสม
  • 22. รู ป แบบในลั ก ษณะนามธรรม (Abstract) เป็นการถ่ายทอดที่ ไม่คำานึงถึงรูปแบบหรือกฎเกณฑ์ของ ธรรมชาติ แต่จะคำานึงถึงรูปแบบอันเป็นลักษณะที่ตนจะต้องแก้ ปัญหา โดยมีกฎเกณฑ์ทางศิลปะเป็นแนวประกอบในการสร้างงาน (ทัศนธาตุ ได้แก่ เส้น สี พื้นผิว รูปทรง นำ้าหนัก) งานศิลปกรรม ประเภทนามธรรมจัดว่าเป็นการเปิดโลกแห่งจินตนาการอย่างไร้ ขอบเขตเป็นการเปิดกว้างในการตีความ ซึ่งจะเห็นพ้องต้องกันหรือ แตกต่างกันนั้นไม่เป็นสิ่งสำาคัญ ช่วงแรกจากการดูคือความเพลิดเพลินไปกับจินตนาการที่ ไม่หยุดนิ่ง ลึกลงไปดูโดยใช้หลักเกณฑ์เกี่ยวกับศิลปะ เช่น ดู ลักษณะการจัดภาพ การใช้สื่อที่เหมาะสม
  • 23. คุ ณ ค่ า ในศิ ล ปกรรม ระดับของการประเมินค่าข้อเท็จจริงในแง่ต่าง ๆ โดยอาศัย กฎเกณฑ์เงื่อนไขที่เป็นเฉพาะตัว ได้แก่ พื้นฐานประสบการณ์ ความ รู้สึกชอบหรือไม่ชอบ และเงื่อนไข กฎเกณฑ์ที่เป็นข้อตกลงร่วมนั้น ได้แก่ กฎหรือข้อกำาหนดต่าง ๆ ที่เป็นแกนร่วม จะมีความแตกต่างกัน ออกไป ตามสภาพของกาลเวลาและสถานที่
  • 24. การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทาง ศิ ล ปกรรม •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางด้ า นเศรษฐกิ จ (Economical Value) ได้แก่ ระดับการประเมินค่าทางวัตถุว่ามีประโยชน์ต่อการ ดำารงชีพของมนุษย์มากหรือน้อยเพียงใด •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางประวั ต ิ ศ าสตร์ (Historical Value) ได้แก่ ระดับการประเมินค่าจากเรื่องราวประวัติความเป็นมา ความ เจริญ ความคิดอ่านของมนุษย์ในอดีต •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรม (Cultural Value) ได้แก่ ระดับการประเมินค่ามรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ และ ชนชาติ •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางด้ า นสุ น ทรี ย ์ (Aesthetical Value) ได้แก่ ระดับของการประเมินค่าของวัตถุ ความคิด ความประพฤติ ว่า มีคุณค่าทางด้านอารมณ์มากหรือน้อยเพียงใด •การประเมิ น คุ ณ ค่ า ทางสั ง คม (Social Value) ได้แก่ ระดับ การประเมินค่าต่อสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม ชี้แนะให้เห็นถึง ความยุติธรรม การเสนอความคิด หรือการสะท้อนความจริงที่ควร
  • 25. Faculty of Arts and Design , Rangsit University