SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
นายอภิสิทธิ์ ทองดี
รหัสประจาตัว 56030564
ตาแหน่งเกิดเสียง (place of articulation, point of articulation)
ชนิดของการออกเสียง
ฐานกรณ์ (articulator) นั้นแยกออกเป็นการออกเสียงแบบ ฐาน (passive articulator)
และ กรณ์ (active articulator) ตัวอย่างเช่น
 ใช้ริมฝีปากล่างเป็นกรณ์ (ส่วนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัส ริมฝีปากบนซึ่งเป็นฐาน (ส่วน
ไม่เคลื่อนที่) เป็นการออกเสียงจากริมฝีปากคู่ (bilabial) เช่น เสียง [m]) หรือ
 ใช้ริมฝีปากล่างไปสัมผัสกับฟันบน (ฐาน) เป็นเสียงจากริมฝีปากล่าง-ฟันบน (labiodental)
เช่น เสียง [f])
การสัมผัสเพดานแข็งด้วยส่วนหน้าและส่วนหลังของลิ้น
 ใช้ส่วนหน้าสัมผัส เรียก เสียงปลายลิ้นม้วน (retroflex)
 ใช้ส่วนหลังลิ้นสัมผัส เรียก "เสียงจากหลังลิ้น-เพดานแข็ง" (dorsal-palatal) หรือ โดยทั่วไป
เรียกเพียง ตาลุชะ/เสียงจากเพดานแข็ง (palatal)
เสียงแบบกรณ์ มีทั้งหมด 5 เสียง คือ
1. เสียงพยัญชนะริมฝีปาก (labial consonant) เป็นเสียงจากริมฝีปากหรือโอษฐชะ
2. เสียงพยัญชนะโพรงปาก (coronal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนปลายอ่อนตัวของลิ้น
3. เสียงพยัญชนะหลังลิ้น (dorsal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนกลางหรือส่วนหลังของ
ลิ้น
4. เสียงพยัญชนะโคนลิ้น (radical consonant) เป็นเสียงจากการใช้โคนลิ้นและลิ้นปิดกล่องเสียง
(epiglottis)
5. เสียงพยัญชนะเส้นเสียง (laryngeal consonants) เป็นเสียงจากกล่องเสียง (larynx)
การออกเสียงเหล่านี้สามารถเปล่งแยกจากกัน หรือ สามารถออกเป็นเสียงผสม เรียก การออก
เสียงผสม (coarticulation)
การออกเสียงแบบฐานเป็นการออกเสียงที่ไม่มีการแบ่งแยกชัดเจน โดยตาแหน่งการออกเสียง
เสียงจากลิ้น-ริมฝีปากบน (linguolabial) และเสียงลิ้นระหว่างฟัน (interdental), เสียงจากลิ้นระหว่าง
ฟันและเสียงจากฟัน/ทันตชะ (dental), เสียงจากฟันและเสียงจากปุ่มเหงือก (alveolar), เสียงจากปุ่ม
เหงือกและเสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (palatal), เสียงจากเพดานแข็งและเสียงจากเพดานอ่อน
(velar), เสียงจากเพดานอ่อนและเสียงจากลิ้นไก่ (uvular) อาจเชื่อมโยงเหลื่อมกัน และการออกเสียง
พยัญชนะอาจมีการออกเสียงในตาแหน่งก้ากึ่ง
นอกจากนั้นแล้ว ในการใช้ลิ้นออกเสียง ส่วนที่ใช้สัมผัสอาจเป็นส่วน ผิวบนของลิ้น (blade) ที่
ใช้ในการสัมผัส (เสียงพยัญชนะใช้ปลายลิ้น -en:laminal consonant), ส่วนยอดของปลายลิ้น (เสียง
พยัญชนะใช้ปลายสุดลิ้น - apical consonant), หรือผิวใต้ลิ้น (เสียงพยัญชนะใช้ใต้ปลายสุดลิ้น - sub-
apical consonant) ซึ่งเสียงเหล่านี้ก็อาจผสมผสานก้ากึ่งไม่ได้แบ่งแยกชัดเจน
การทาให้เกิดเสียงพูด (Speech Production)
ถ้าจะพิจารณาในแง่การเกิดเสียงพูด ก็คือลมหายใจ ที่ถูกดัดแปลงไปโดยมีกระแสอากาศ ซึ่ง
ถูกขับเคลื่อนโดยการทางานของอวัยวะออกเสียง ซึ่งทาหน้าที่เป็นแหล่งกาเนิดพลังงานต่าง ๆ เป็น
องค์ประกอบที่สาคัญที่ทาให้เกิดเป็นเสียงขึ้นมา
ขั้นตอนที่ทาให้เกิดเสียงพูดมี ๓ ขั้นตอน ดังนี้
1. การขับเคลื่อนกระแสอากาศ (Air-stream Mechanism)
2. การทาให้เป็นเสียงแบบต่าง ๆ (Phonation)
3. การแปรเสียงหรือการกล่อมเกลาเสียง (Articulation)
1. การขับเคลื่อนกระแสอากาศ (Air-stream Mechanism) ปัจจัยที่ทาให้เกิดเสียงขึ้นได้คือ
อากาศ เพราะเสียงก็คืออากาศที่ถูกผลักดันให้เคลื่อนที่และถูกดัดแปลงหรือแปรให้เป็นเสียงประเภท
ต่าง ๆ โดยการทางานของฐานกรณ์ต่าง ๆ ถ้าไม่มีอากาศก็จะไม่มีเสียงเกิดขึ้น การขับเคลื่อนกระแส
อากาศมีต้นกาเนิดพลังงานจากตาแหน่งที่ต่างกัน เสียงที่เกิดขึ้นจึงแตกต่างกันไป แหล่งพลังงาน มี 3
แหล่งด้วยกันคือ แหล่งพลังงานจากปอด , แหล่งพลังงานจากกล่องเสียง และแหล่งพลังงานจาก
เพดานอ่อน
2. การทาให้เป็นเสียงแบบต่าง ๆ (Phonation) การเกิดเสียงพูดนี้จะเกี่ยวข้องกับการทางาน
ของเส้นเสียงโดยตรงนั่นคือ การจะเกิดเสียงแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการดัดแปลงรูปแบบการสั่นของ
เส้นเสียง โดยปกติภาษามีเสียง 2 ประเภท คือ เสียงก้อง (voiced sound) จะเกิดขึ้นโดยมีการสั่นของ
เส้นเสียงร่วมด้วย และเสียงไม่ก้อง (voiceless sound) จะเกิดขึ้นโดยไม่มีการสั่นของเส้นเสียง
3. การแปรเสียงหรือการกล่อมเสียง (Articulation) เมื่อกระแสอากาศจากแหล่งพลังงานต่าง
ๆ ซึ่งส่วนใหญ่หมายถึง ปอด เคลื่อนขึ้นสู่กล่องเสียง และถูกดัดแปลงคุณภาพเสียงให้แตกต่างไป
ตามรูปแบบการทางานแบบต่าง ๆ ของเส้นเสียง แล้วต่อมาอากาศก็จะเดินทางเข้าสู่ช่องปาก ซึ่ง
ประกอบด้วยอวัยวะแปรเสียงหรือฐานกรณ์มากมาย ซึ่งทาหน้าที่ในการกล่อมเกลาเสียงให้ออกมามี
คุณลักษณะแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะวิธีออกเสียงด้วย การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง
เป็นแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับ
- ตาแหน่งของการเกิดเสียง (Place of Articulation)
- ลักษณะของการเกิดเสียง (Manner of Articulation)
เสียงในตาแหน่งต่างๆ
การแบ่งตามตาแหน่งที่เกิดเสียง (Points of Articulation)
1. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากบนและล่าง (bilabial sounds) ได้แก่ เสียง /p/, /b/, /m/ และ /w/
2. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากและฟัน (labio-dental sounds) ได้แก่ เสียง /f/ และ /v/
3. เสียงที่เกิดระหว่างฟัน (interdental sounds) ได้แก่เสียง /θ/และ /ð/
4. เสียงที่ เกิดจากปุ่มเหงือก (alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /t/, /d/, /s/, /z/, /l/, และ /n/
5. เสียงที่ เกิดหลังปุ่มเหงือก (post-alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /š/, /ž/, /Č/, /Ĵ/ และ /r/
6. เสียงที่เกิดจากเพดานแข็ง (palatal sound) ได้แก่เสียง /y/
7. เสียงที่เกิดจากเพดานอ่อน (velar sounds) ได้แก่เสียง /k/, /g/ และ /ŋ/
8. เสียงที่เกิดจากช่องระหว่างเส้นเสียง (glottal sound) ได้แก่เสียง /h/
การแบ่งตามลักษณะของการออกเสียง (Manners of Articulation)
1. เสียงระเบิด (plosive sounds) ได้แก่เสียง /p/, /b/, /t/, /d/, /k/, /g/
2. เสียงกึ่งเสียดสี (affricate sounds) ได้แก่เสียง /č/, /ĵ/
3. เสียงเสียดสี (fricative sounds) ได้แก่เสียง /f/, /v/, /θ/, /ð/, /s/, /z/, /š/, /ž/, /h/
4. เสียงนาสิก (nasal sounds) ) ได้แก่เสียง /m/, /n/, /ŋ/
5. เสียงข้างลิ้น (lateral sound) ได้แก่เสียง /l/
6. เสียงกึ่งสระ (semi-vowel sounds) ได้แก่เสียง /w/, /r/, /y/
สัญลักษณ์แทนเสียงสากล (Phonetic Symbols)
เสียงสระ (Vowel Sound)
เสียงพยัญชนะ (Consonant Sound)
ตำแหน่งการเกิดเสียง

Contenu connexe

Tendances

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundpantiluck
 
เทคนิคการทำ Paraphrase
เทคนิคการทำ Paraphrase เทคนิคการทำ Paraphrase
เทคนิคการทำ Paraphrase Aj Muu
 
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกแบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกjustymew
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundpantiluck
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ krupornpana55
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226Siriya Khaosri
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานWiroj Suknongbueng
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
ภาษาอังกฤษ ป6 dlit
ภาษาอังกฤษ ป6 dlitภาษาอังกฤษ ป6 dlit
ภาษาอังกฤษ ป6 dlitNong Sangsuwan
 

Tendances (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 
เทคนิคการทำ Paraphrase
เทคนิคการทำ Paraphrase เทคนิคการทำ Paraphrase
เทคนิคการทำ Paraphrase
 
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกแบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
 
Part of speech
Part of speechPart of speech
Part of speech
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทยระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ใบความรู้ อังกฤษ ม.1
ใบความรู้ อังกฤษ ม.1ใบความรู้ อังกฤษ ม.1
ใบความรู้ อังกฤษ ม.1
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์ บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
บทเรียนโปรแกรม ผลของแรงลัพธ์
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
ภาษาอังกฤษ ป6 dlit
ภาษาอังกฤษ ป6 dlitภาษาอังกฤษ ป6 dlit
ภาษาอังกฤษ ป6 dlit
 

Similaire à ตำแหน่งการเกิดเสียง

การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467Wuttikorn Buajoom
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514irinth
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงyoiisina
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงyoiisina
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงyoiisina
 
56030648
5603064856030648
56030648Yuri YR
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 560305660884947335
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525Vic Phanpaporn Saardaim
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563Apii Apichot
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557Sunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 

Similaire à ตำแหน่งการเกิดเสียง (17)

การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
 
56030648
5603064856030648
56030648
 
Sound
SoundSound
Sound
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
หู
หูหู
หู
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 

ตำแหน่งการเกิดเสียง

  • 1. นายอภิสิทธิ์ ทองดี รหัสประจาตัว 56030564 ตาแหน่งเกิดเสียง (place of articulation, point of articulation) ชนิดของการออกเสียง ฐานกรณ์ (articulator) นั้นแยกออกเป็นการออกเสียงแบบ ฐาน (passive articulator) และ กรณ์ (active articulator) ตัวอย่างเช่น  ใช้ริมฝีปากล่างเป็นกรณ์ (ส่วนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัส ริมฝีปากบนซึ่งเป็นฐาน (ส่วน ไม่เคลื่อนที่) เป็นการออกเสียงจากริมฝีปากคู่ (bilabial) เช่น เสียง [m]) หรือ  ใช้ริมฝีปากล่างไปสัมผัสกับฟันบน (ฐาน) เป็นเสียงจากริมฝีปากล่าง-ฟันบน (labiodental) เช่น เสียง [f]) การสัมผัสเพดานแข็งด้วยส่วนหน้าและส่วนหลังของลิ้น  ใช้ส่วนหน้าสัมผัส เรียก เสียงปลายลิ้นม้วน (retroflex)  ใช้ส่วนหลังลิ้นสัมผัส เรียก "เสียงจากหลังลิ้น-เพดานแข็ง" (dorsal-palatal) หรือ โดยทั่วไป เรียกเพียง ตาลุชะ/เสียงจากเพดานแข็ง (palatal) เสียงแบบกรณ์ มีทั้งหมด 5 เสียง คือ
  • 2. 1. เสียงพยัญชนะริมฝีปาก (labial consonant) เป็นเสียงจากริมฝีปากหรือโอษฐชะ 2. เสียงพยัญชนะโพรงปาก (coronal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนปลายอ่อนตัวของลิ้น 3. เสียงพยัญชนะหลังลิ้น (dorsal consonant) เป็นเสียงจากการใช้ส่วนกลางหรือส่วนหลังของ ลิ้น 4. เสียงพยัญชนะโคนลิ้น (radical consonant) เป็นเสียงจากการใช้โคนลิ้นและลิ้นปิดกล่องเสียง (epiglottis) 5. เสียงพยัญชนะเส้นเสียง (laryngeal consonants) เป็นเสียงจากกล่องเสียง (larynx) การออกเสียงเหล่านี้สามารถเปล่งแยกจากกัน หรือ สามารถออกเป็นเสียงผสม เรียก การออก เสียงผสม (coarticulation) การออกเสียงแบบฐานเป็นการออกเสียงที่ไม่มีการแบ่งแยกชัดเจน โดยตาแหน่งการออกเสียง เสียงจากลิ้น-ริมฝีปากบน (linguolabial) และเสียงลิ้นระหว่างฟัน (interdental), เสียงจากลิ้นระหว่าง ฟันและเสียงจากฟัน/ทันตชะ (dental), เสียงจากฟันและเสียงจากปุ่มเหงือก (alveolar), เสียงจากปุ่ม เหงือกและเสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (palatal), เสียงจากเพดานแข็งและเสียงจากเพดานอ่อน (velar), เสียงจากเพดานอ่อนและเสียงจากลิ้นไก่ (uvular) อาจเชื่อมโยงเหลื่อมกัน และการออกเสียง พยัญชนะอาจมีการออกเสียงในตาแหน่งก้ากึ่ง นอกจากนั้นแล้ว ในการใช้ลิ้นออกเสียง ส่วนที่ใช้สัมผัสอาจเป็นส่วน ผิวบนของลิ้น (blade) ที่ ใช้ในการสัมผัส (เสียงพยัญชนะใช้ปลายลิ้น -en:laminal consonant), ส่วนยอดของปลายลิ้น (เสียง พยัญชนะใช้ปลายสุดลิ้น - apical consonant), หรือผิวใต้ลิ้น (เสียงพยัญชนะใช้ใต้ปลายสุดลิ้น - sub- apical consonant) ซึ่งเสียงเหล่านี้ก็อาจผสมผสานก้ากึ่งไม่ได้แบ่งแยกชัดเจน การทาให้เกิดเสียงพูด (Speech Production) ถ้าจะพิจารณาในแง่การเกิดเสียงพูด ก็คือลมหายใจ ที่ถูกดัดแปลงไปโดยมีกระแสอากาศ ซึ่ง ถูกขับเคลื่อนโดยการทางานของอวัยวะออกเสียง ซึ่งทาหน้าที่เป็นแหล่งกาเนิดพลังงานต่าง ๆ เป็น องค์ประกอบที่สาคัญที่ทาให้เกิดเป็นเสียงขึ้นมา
  • 3. ขั้นตอนที่ทาให้เกิดเสียงพูดมี ๓ ขั้นตอน ดังนี้ 1. การขับเคลื่อนกระแสอากาศ (Air-stream Mechanism) 2. การทาให้เป็นเสียงแบบต่าง ๆ (Phonation) 3. การแปรเสียงหรือการกล่อมเกลาเสียง (Articulation) 1. การขับเคลื่อนกระแสอากาศ (Air-stream Mechanism) ปัจจัยที่ทาให้เกิดเสียงขึ้นได้คือ อากาศ เพราะเสียงก็คืออากาศที่ถูกผลักดันให้เคลื่อนที่และถูกดัดแปลงหรือแปรให้เป็นเสียงประเภท ต่าง ๆ โดยการทางานของฐานกรณ์ต่าง ๆ ถ้าไม่มีอากาศก็จะไม่มีเสียงเกิดขึ้น การขับเคลื่อนกระแส อากาศมีต้นกาเนิดพลังงานจากตาแหน่งที่ต่างกัน เสียงที่เกิดขึ้นจึงแตกต่างกันไป แหล่งพลังงาน มี 3 แหล่งด้วยกันคือ แหล่งพลังงานจากปอด , แหล่งพลังงานจากกล่องเสียง และแหล่งพลังงานจาก เพดานอ่อน 2. การทาให้เป็นเสียงแบบต่าง ๆ (Phonation) การเกิดเสียงพูดนี้จะเกี่ยวข้องกับการทางาน ของเส้นเสียงโดยตรงนั่นคือ การจะเกิดเสียงแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการดัดแปลงรูปแบบการสั่นของ เส้นเสียง โดยปกติภาษามีเสียง 2 ประเภท คือ เสียงก้อง (voiced sound) จะเกิดขึ้นโดยมีการสั่นของ เส้นเสียงร่วมด้วย และเสียงไม่ก้อง (voiceless sound) จะเกิดขึ้นโดยไม่มีการสั่นของเส้นเสียง 3. การแปรเสียงหรือการกล่อมเสียง (Articulation) เมื่อกระแสอากาศจากแหล่งพลังงานต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่หมายถึง ปอด เคลื่อนขึ้นสู่กล่องเสียง และถูกดัดแปลงคุณภาพเสียงให้แตกต่างไป ตามรูปแบบการทางานแบบต่าง ๆ ของเส้นเสียง แล้วต่อมาอากาศก็จะเดินทางเข้าสู่ช่องปาก ซึ่ง ประกอบด้วยอวัยวะแปรเสียงหรือฐานกรณ์มากมาย ซึ่งทาหน้าที่ในการกล่อมเกลาเสียงให้ออกมามี คุณลักษณะแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะวิธีออกเสียงด้วย การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง เป็นแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับ - ตาแหน่งของการเกิดเสียง (Place of Articulation) - ลักษณะของการเกิดเสียง (Manner of Articulation)
  • 4. เสียงในตาแหน่งต่างๆ การแบ่งตามตาแหน่งที่เกิดเสียง (Points of Articulation) 1. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากบนและล่าง (bilabial sounds) ได้แก่ เสียง /p/, /b/, /m/ และ /w/ 2. เสียงที่ เกิดจากริมฝีปากและฟัน (labio-dental sounds) ได้แก่ เสียง /f/ และ /v/ 3. เสียงที่เกิดระหว่างฟัน (interdental sounds) ได้แก่เสียง /θ/และ /ð/ 4. เสียงที่ เกิดจากปุ่มเหงือก (alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /t/, /d/, /s/, /z/, /l/, และ /n/ 5. เสียงที่ เกิดหลังปุ่มเหงือก (post-alveolar sounds) ได้แก่ เสียง /š/, /ž/, /Č/, /Ĵ/ และ /r/ 6. เสียงที่เกิดจากเพดานแข็ง (palatal sound) ได้แก่เสียง /y/ 7. เสียงที่เกิดจากเพดานอ่อน (velar sounds) ได้แก่เสียง /k/, /g/ และ /ŋ/ 8. เสียงที่เกิดจากช่องระหว่างเส้นเสียง (glottal sound) ได้แก่เสียง /h/ การแบ่งตามลักษณะของการออกเสียง (Manners of Articulation) 1. เสียงระเบิด (plosive sounds) ได้แก่เสียง /p/, /b/, /t/, /d/, /k/, /g/ 2. เสียงกึ่งเสียดสี (affricate sounds) ได้แก่เสียง /č/, /ĵ/ 3. เสียงเสียดสี (fricative sounds) ได้แก่เสียง /f/, /v/, /θ/, /ð/, /s/, /z/, /š/, /ž/, /h/ 4. เสียงนาสิก (nasal sounds) ) ได้แก่เสียง /m/, /n/, /ŋ/ 5. เสียงข้างลิ้น (lateral sound) ได้แก่เสียง /l/ 6. เสียงกึ่งสระ (semi-vowel sounds) ได้แก่เสียง /w/, /r/, /y/