SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  48
• นางสาวอลิสา  ใจเดียว                           
  53011112067    AR             ระบบปกติ
• นางสาวภูริชญา  มีแก้ว                          
  53011010441    HOS          ระบบปกติ
• นางสาวเกษราภรณ์  ระวาสเสริฐ          53010217063 
     MBG 
• นายณัฐพงษ์  ประกอบดี                       
  53010916149    BC
• นางสาวแสงระวี  กิจเจริญ                     
  53010914927    AC             ระบบปกติ
• นางสาวนิภาพร  ผาไสว                         
  53010522014    .....             ระบบพิเศษ
• นางสาววรรณา  ใจสบาย                     
   53010211141     ชีววิทยา 
• นางสาวสรญา  อ่างวิเชียร                   
    53011111058     UA      ระบบปกติ
• นายวราวิชญ์ 
   วงษา                              52011111047 
     AUD     ระบบปกติ
• นางสาวชนัญชิดา ตะเพ็ชร                   
  53011812027     FH 
• นายธนากรณ์  เชิญ
  ชม                          53011123013    
• นางสาว วิชชุดา  
ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเมื่อเกิดโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์  (STDs)  มักจะมีความเชื่อว่าเป็นการ
ลงโทษโดยพระเจ้าต่อผู้ทป่วยด้วยโรคเหล่านั้น  และโรค
                          ี่
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์บางอย่าง  เช่น  ซิฟิลิส  ได้กลาย
เป็นเครื่องมือในการกล่าวหาทางเชื้อชาติ หรือชาติ
พรรณ  หรือกลุ่มคนในสังคม  ตัวอย่างเช่น  เมื่อทหาร
แห่งกองทัพฝรั่งเศสเข้าไปตั้งฐานทัพในประเทศเนปาล
ในฤดูหนาวปี  ค.ศ. 1495  นั้น  ทหารเหล่านั้นได้รับ
ความทุกข์ทรมานจากแผลซิฟิลิสตามอวัยวะเพศ  และมี
แผลตามตัว  ชาวอิตาลีเรียกว่า  โรคฝรั่งเศส  (French  
sickness )  ขณะที่ชาวฝรั่งเศสก็ตำาหนิวาเป็นโรคของ
                                        ่
ชาวอิตาลี ชาวเตอร์ก  เรียกซิฟิลสว่า โรคคริสเตียน 
                               ิ
( Christian  disease ) และชาวจีนเรียกว่า โรค
โปรตุเกส ( Protuguese  disease ) 
เมื่อมีการค้นพบและเริ่มใช้ยาเพนนิซลิน 
                                          ิ
( penicillin )  และยาปฏิชวนะตัวอื่นๆ ใน
                          ี
ช่วงปีทศวรรษที  1940  ทำาให้การรักษาโรค
                 ่
กามโรคได้ผลดี  ในปี  ค.ศ. 1957  จำานวน
รายผู้ปวยของโรคหนองในและซิฟิลิสลดตำ่า
       ่
ลงอย่างมาก  อย่างไรก็ตามเมื่อการรักษา
โรคได้ผลดีทำาให้ความตระหนักของ
สาธารณชนต่อกามโรค ลดลง  จึงมีอุบัติ
การณ์ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้น
อีก  ทำาให้มีโรคใหม่ๆ เกิดขึ้น  และดื้อต่อยา
ปฏิชีวนะมากขึ้น  โรคใหม่ๆ เหล่านั้น  
สถานการณ์การติดเชื้อทางเพศ
         สัมพันธ์ 
 (Situation  of  sexually  transmitted  
infection ) 
      ภาวะการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์  เป็น
สาเหตุสำาคัญที่ทำาให้เกิดการเจ็บป่วยเฉียบพลัน  
ทำาให้เกิดภาวะการมีบตรยาก  ทุพลภาพและอาจตาย
                      ุ
ได้  ซึ่งมีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพกายและจิตใจและ
สุขภาพที่รนแรงต่อทังผู้ชาย  ผู้หญิงและเด็กได้
            ุ       ้
      องค์การอนามัยโลก (World  Health  
Organization  / WHO )  ได้ประเมินการจำานวนผู้
ป่วยรายใหม่ด้วยภาวะการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์จาก
โรค ซิฟิลิส  โกโนเรีย  ทริคโคโนนิเอซีส  และคลา
มัยเดีย ในผูหญิงและผูชายที่มีอายุระหว่าง  15 – 49 
              ้         ้
ตาราง 8.1 จำานวนคาดการณ์ผู้ตดเชื้อ
                             ิ
โรคทางเพศสัมพันธ์รายใหม่ในปี  2542
                 แถบประเทศ                                                       
           จำานวน ( หน่วย : ล้าน )
       แอฟริกาใต้เขตทะเลทรายซาฮารา                                  
                      69
       เอเชียใต้และตะวันออกเฉียงใต้                                       
                    151
       ละตินอเมริกาและแคริบเบียน                                         
                    38
       อเมริกาเหนือ                                                             
                          14
       เอเชียตะวันออกและแปซิฟิก                                          
                     18
       รวม                                                                             
       ยุโรปตะวันตก                                                            
                      340
       *** ที่มา  World  Health  
                         17
      Organization ( 2001 ) ***
       เอเชียกลางและยุโรปตะวันออก                                      
เชื้อที่สามารถติดต่อทางเพศ
สัมพันธ์ได้มจำานวนมากกว่า  20 
              ี
ชนิด  ซึงส่วนใหญ่สามารถรักษา
         ่
หายได้ด้วยยาต้านจุลชีพ  ลักษณะ
ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่
สำาคัญ  และเป็นปัญหาทางด้าน
สาธารณสุขและสังคม  ซึงประกอบ
                         ่
ด้วย  โรคหนองใน , โรคหนองใน
เทียม , โรคซิฟิลิส , แผลริม
อ่อน , กามโรคของต่อมและนำ้า
โรคหนองใน 
         (Gonorrhoea)
      โรคหนองใน เป็นโรคติดต่อทางเพศ
สัมพันธ์ชนิดหนึ่งที่รู้จักกันมานาน คำาว่า โก
โนเรีย (Gonorrhoea) พบครั้งแรกโดย 
นายแพทย์กาเลน ในพ.ศ. 673 ซึงเกิดจาก่
คำาว่า “gonos” แปลว่า เม็ด และ “rhoea” 
แปลว่า ไหล รวมกันแล้วหมายถึง การไหล
ของหนองจากบริเวณท่อปัสสาวะ ต่อมในปี 
พ.ศ. 2422 
อัลเบิร์ต  นิสเซอร์ ได้ค้นพบเชือแบคทีเรีย
                                 ้
อาการและอาการแสดง 

                                       ในผู้ชายหลังจาก
ได้รับเชือประมาณ 2-10 วัน จะมีอาการแสบในลำา
          ้
กล้องเวลาถ่ายปัสสาวะหรือถ่ายปัสสาวะขัด และมี
หนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ ในระยะแรกอาจ
ไหลซึมเป็นมูกใส ๆ เล็กน้อย ภายใน 12 ชัวโมง      ่
ต่อมาจะกลายเป็นหนองข้น และออกมาคล้ายเส้น
ก๋วยเตี๋ยว ถ้าไม่ได้รับการรักษา อาจมีหนองใน
ไหลอยู่ 3-4 เดือน และเชื้อหนองในอาจลุกลามไป
ยังบริเวณที่ใกล้เคียง ทำาให้ท่อปัสสาวะอักเสบ ซึ่ง
 ในผู้หญิงระยะแรกมักไม่มีอาการ ต่อ
มาจะมีอาการตกขาวเป็นหนองสีเหลือง มี
กลิ่นเหม็น ไม่คัน มีอาการขัดเบา และแสบ
ร้อนเวลาปัสสาวะ ปัสสาวะขุ่น ถ้ามีการ
อักเสบของปีกมดลูก จะมีไข้สง หนาวสัน
                             ู       ่
ปวด และกดเจ็บตรงท้องน้อยแบบปีกมดลูก
อักเสบ เชืออาจลุลามทำาให้ต่อมบาร์โทลินที่
           ้
แคมใหญ่เกิดการอักเสบ หรือเป็นฝีบวมโต 
หรืออาจทำาให้มดลูกอักเสบ ซึ่งถ้าอักเสบ
รุนแรงเมื่อหายแล้วอาจทำาให้ท่อรังไข่ตีบตัน
กลายเป็นหมัน หรือทำาให้ตั้งครรภ์นอกมดลูก
การวินิจฉัยและการรักษา
      ในการรักษาโรคหนองใน ยารับประทาน
หลายตัวสามารถรักษาหนองในแท้ได้ แต่ในทาง
ปฏิบัติจริงเชื้อเหล่านี้ดื้อยาจนไม่อาจใช้เป็นแนวทาง
รักษาได้แล้ว ต้องใช้ยาฉีดอย่างเดียว
       การวินจฉัยโรคหนองใน สามารถทำาได้โดย
                  ิ
การซักประวัตการมีเพศสัมพันธ์ พร้อมด้วยอาการ
                ิ
และอาการแสดงโดยเฉพาะในผูชายที่มีอาการของ
                                  ้
โรคชัดเจน แต่ถ้าในรายที่อาการไม่ชัดเจนโดย
เฉพาะในผู้หญิง จำาเป็นต้องอาศัยการตรวจทางห้อง
ปฏิบัติการ่วมด้วย โดยทั่วไปแล้วจะทำาการตรวจย้อม
สีแกรมจากหนอง หรือสิ่งที่ถูกขับออกมาจากท่อ
ปัสสาวะ นอกจากการวินิจฉัยข้างต้นแล้ว ถ้าตรวจ
โรคหนองในเทียม
• โรคหนองในเทียม(Non-gonococcal 
  urethitis) มีอาการคล้ายโรคหนองใน คือมีอาการ
  ของท่อปัสสาวะอักเสบ ถ่ายปัสสาวะขัด มีนำ้าใส
  หรือหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะในบางครั้งแต่
  ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่พบเชื้อ นิสเซอร์ 
  โกโนเรีย (N.gonorrhoeae) จึงได้ชื่อว่าหนองใน
  เทียม หรือ nonspecific urethritis; NSU) พบ
  ในชายรักต่างเพศมากกว่ารักร่วมเพศ ในรายที่เป็น
  โรคหนองในแล้วรักษาด้วยยาขนาดสูงๆแบบครัง    ้
  เดียว ถึงแม้อาการจะดีขึ้นแต่บางรายจะกลับมี
  อาการอีกประมาณ 2-3 วัน ซึ่งเรียกว่าโรคทางเดิน
•   สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ คลา
 มัยเดีย แทรกโคโมติส 
 (Chiamydia trachomotis) ถึง
 ร้อยละ 50 ของจำานวนที่เป็นโรค
 หนองในเทียมทั้งหมด นอกนั้นอาจมี
 เชื้อ ยูรพลาสมา ยูรีไลติ
          ี
 คัม(Ureaplasma urealyticum) 
 แคนดิดา อัลบิแคน (Candida 
 albican) ทริโคโมแนส วาจินลลิส 
                              ั
 (Trichomonas vaginalis) อะไม
 โคพลาสมา เจนนิทัลเลียม 
อาการและการแสดง
       ระยะฟักตัวของหนองในเทียม
ประมาณ 2-3 สัปดาห์ อาจนานถึง 5 
สัปดาห์ ผูทติดเชื้ออาจมีอาการ หรือ
           ้ ี่
ไม่มีอาการก็ได้ บางคนอาจมีอาการ
ปัสสาวะขัดและแสบ มีหนองหรือนำ้าใสๆ 
ไหลออกจากท่อปัสสาวะ ในผูหญิงอาจ
                             ้
ไม่มีีอาการก็ได้ ซึงมักเป็นปัญหาต่อ
     ี              ่
การป้องกันโรค และในผูหญิงตังครรภ์
                        ้      ้
และคลอดบุตร อาจทำาให้ทารกติดเชื้อ 
การวินิจฉัยและการรักษา
        การวินจฉัยโรคหนองในเทียมจะต้อง 
              ิ
พยายามแยกโรคจากโรคหนองใน ซึ่งเป็นการยาก
ถ้าดูจากอาการและอาการแสดง เพราะทั้งสองโรค
มีอาการคล้ายกัน จึงต้องมีการตรวจทางห้องปฏิบัติ
การ ถ้าตรวจไม่พบเชื้อ นิสเซอร์ โกโนเรีย 
(N.gonorrhoeae) ก็จะเป็นโรคหนองในเทียม
       ส่วนการรักษาที่ได้ผลดีนน ควรจะตรวจหา
                              ั้
เชือที่เป็นสาเหตุของหนองในเทียม และใช้ยา
   ้
ปฏิชวนะที่สามารถกำาจัดเชือที่เป็นสาเหตุนั้น ถ้า
     ี                     ้
เกิดจากเชือคลามัยเดีย มักจะใช้ยาเตตราซัยคลิน 
           ้
โรคซิฟิลส (Syphilis)
             ิ
    โรคซิฟิลส (syphilis) เป็นกามโรคที่
            ิ
เกิด
จากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ ทริพโพนิมา พอล
ลิดม (Treponema pallidum) ทีมี
      ั                             ่
ลักษณะรูปเกลียว (spirochete) สามารถมี
ชีวตอยู่ในเลือดทีอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส
    ิ             ่
ได้ ประมาณ 3-4 วัน เชือซิฟิลิสจะตายถ้าใช้
                        ้
ยาฆ่าเชื้อทั่วไป ความร้อน ความแห้ง หรือ
นำ้าสบู่ เชือสามารถเข้าสู่รางกายได้ทางแผล
            ้              ่
อาการและอาการแสดง
     โรคซิฟิลสมีระยะฟักตัวประมาณ 10 วัน 
             ิ
ถึง 10 สัปดาห์ เฉลี่ยประมาณ 3 สัปดาห์ 
และมีอาการของโรคที่แบ่งออกเป็นระยะได้ 
2 ระยะ คือ ซิฟิลิสระยะแรก (early syphilis) 
และซิฟลิสระยะหลัง (late syphylis) ดังนี้
       ิ
ซิฟิลิสระยะแรก (Early 
•
                   syphilis) งย่อยได้เป็น 3 
    เป็นอาการเริ่มแรกที่สามารถแบ่
  ระยะที่สำาคัญดังนี้
2.ซิฟิลิสระยะทีหนึ่ง หลังจากติดเชือซิฟิลิสผ่าน
                  ่                 ้
  ระยะฟักตัวแล้ว จะมีอาการเป็นตุมสีแดงคลำ้า
                                  ่
  บริเวณที่เชือเข้าสู่ร่างกาย โดยเฉพาะที่อวัยวะ
               ้
  เพศ ต่อมาตุ่มแดงจะแตกเป็นแผล มักจะมีแผล
  เดียว ขอบแข็ง ไม่เจ็บ จึงมักเรียกว่า แผลริม
  แข็ง (hard chancre) เป็นแผลสะอาด ขอบนูน
  แข็ง มีนำ้าเหลืองไหลออกมามาก ซึ่งในนำ้า
  เหลืองที่ออกจากแผลจะมีเชื้อซิฟิลิสอยู่จำานวน
  มาก อาจมีอาการต่อมนำ้าเหลืองโตข้างใดข้าง
• ซิฟิลิสระยะที่สอง ผู้ป่วยอาจมีอาการไข้ตำ่าๆ 
  ปวดกระดูก กล้ามเนื้อและข้อเบืออาหาร มีผื่น
                                ่
  แดงเรื่อๆ แต่ไม่คัน อาจพบได้ทั่วตัวหรือเฉพาะ
  บริเวณอก ฝ่ามือฝ่าเท้า อาจมีผมร่วงเป็น
  หย่อมๆ ถ้าตรวจเลือดจะให้ผล VDRL 
  (Venereal Diseases Research Laboratory) 
  บวก ระยะนีเรียกว่า “ระยะออกดอก” จะเป็น
                ้
  ระยะที่มีเชือมาก ติดต่อได้งาย ถ้าไม่ได้รับการ
              ้              ่
  รักษาอาการจะหายไปเอง ร้อยละ 30-40 นอก
  นันโรคจะเข้าสู่ระยะแฝง
    ้
• ซิฟิลิสระยะแฝงเริ่มแรก เป็นระยะที่ไม่มีอา
  การใดๆ แต่ผลตรวจเลือด VDRL ให้ผลบวก ผู้
ซิฟิลิสระยะหลัง 
        (Late syphilis หรือ Tertiary 
                 syphilis)
• เป็นระยะที่เกิดขึ้นหลังจากซิฟิลิสระยะทีสอง ประมาณ 3-30 ปี 
                                          ่
   ยกเว้นในผูป่วยภูมิคมกันบกพร่อง ซึ่งจะกินเวลาสั้นกว่า ในระยะนี้
              ้         ุ้
   เป็นระยะที่มีการอักเสบของระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ระบบ
   ประสาท ระบบหัวใจและเส้นเลือด ซึ่งมักจะเรียกชือตามระบบที่
                                                   ่
   ซิฟิลิสปรากฏอาการ ดังนี้
2. ซิฟิลิสระยะแฝงช่วงหลัง ผูป่วยจะไม่มีอาการใดๆ แต่ให้ผล
                                 ้
   ตรวจเลือด VDRLบวก
3. ซิฟิลิสระยะบิไนกัมมา (benign gumma) มักมีอาการภาย
   หลัง 2-10 ปี เริ่มมีอาการตุ่มนูน (nodule) หรือรอยโรคชนิด แกรนู
   โลมาตัส (granulomatous) ทีผิวหนัง และอวัยวะภายใน เช่น 
                                   ่
   กระดูก ตับ ระบบประสาทส่วนกลาง หลอดเลือด หัวใจ และสมอง
4. ซิฟิลิสระบบไหลเวียนโลหิต มักเกิดหลังจากแผลริมแข็ง 
   ประมาณ 10 ปี อาจมีเส้นเลือดแดงใหญ่โป่งพอง (aneurysm in 
การวินจฉัยและการรักษา 
           ิ
       สามารถวินจฉัยได้จากประวัต และจากอาการ
                  ิ               ิ
และอาการแสดง และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ 
โดยการตรวจสารคัดหลั่งจากแผล หรือรอยโรคของ
ซิฟิลิสระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง นอกจากนั้น การ
ตรวจหาแอนติบอดีโดยวิธีทางอิมมิวโนวิทยา 
(Immunology) เช่น การตรวจกาแอนติบอดี ชนิด
หนึ่ง (regain) ที่ไม่จำาเพาะ โดยใช้วิธี VDRL 
(Venereal Diseases Research Laboratory) 
หรือการตรวจหาแอนติบอดี ชนิด Treponemal 
antibody เช่น Fluorescent treponemal antibody-
absorption test (FTA-ABS Test) เป็นต้น
       โรคแผลริมอ่อน(Cha
ncroid)
      แผลริมอ่อนเป็นกามโรคที่พบบ่อย
ในแถวเขตร้อน พบได้ทงชายและหญิง 
                         ั้
แต่พบในชายมากกว่า เกิดจากเชื้อ
แบคทีเรียชนิดกรัมลบ ชื่อ ฮีโมฟีลัส ดู
คริอัย โดยเชื้อจะเข้าสูรอยถลอกหรือ
                       ่
เยื่อเมือกของอวัยวะเพศ จะมีอาการเป็น
ตุ่มและแตกภายใน 2-3วัน กลายเป็น
แผลที่มีขอบแดง ไม่เรียบไม่แข็ง มี
การวินิจฉัยการรักษา
      โรคแผลริมอ่อน สามารถ
วินิจฉัยได้ด้วยการดูจากอาการและ
อาการแสดง และการตรวจทางห้อง
ปฏิบัติการ ด้วยการย้อมสีเพื่อตรวจ
หาเชื้อ โมฟีลัส ดูคริอัย
     * โรคแผลริมอ่อน สามารถ
รักษาได้ด้วยการใช้ยา 
trimethroprim-
กามโรคของต่อมและนำ้าเหลือง 
    (Lymphogranuloma 
      Venereum; LGV)
    โรคกามโรคของต่อมและท่อนำ้า
เหลือง พบบ่อยในประเทศเขตร้อน เกิด
จากเชื้อแบคทีเรีย คลามัยเดีย แทรก
โคโมติส (chlamydia 
trachomotis) โดยจะเข้าสูร่างกาย
                           ่
ทางแผลถลอก และทางเยื่อเมือกของ
อวัยวะเพศ แล้วแพร่เข้าสูต่อมนำ้าเหลือง
                        ่
อาการและอาการแสดง
• อาการของโรคมีสองระยะ คือ
  ระยะแรก จะมีอาการเป็นแผลเล็กๆ ที่ผวหนอง
                                        ิ
  และอวัยวะเพศ แล้วต่อมนำ้าเหลืองที่ขาหนีบจะ
  บวมโต เป็นก้อนตามร่องขาหนีบ (inguinal 
  adenitis) ต่อมาฝีจะแตกมีหนองไหล นอกจาก
  นัน จะมีอาการไข้ หนาวสัน ปวดศีรษะ คลื่นไส้ 
    ้                     ้
  ตาแดง มีผื่นที่ผวหนัง และนำ้าหนักลด
                  ิ
  ระยะหลัง หากไม่ได้รบการรักษาจะมีอาการ
                        ั
  อุดตันของท่อนำ้าเหลือง มีอาการติดเชือลุกลาม
                                      ้
  ไปตามอวัยวะรอบๆ เช่น ช่องคลอด ลำาไส้ใหญ่
  ส่วนปลาย ในผู้ชายอาจมีอาการบวมโตของ
การวินิจฉัยและการรักษา
    การวินจฉัยโรคนี้ สามารถทำาได้จาก
           ิ
อาการและอาการแสดง และตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการหาเชื้อ คลามัยเดีย 
แทรกโคโมติส (C. trachomotis) 
ส่วนการรักษาโรคนี้ รักษาได้โดยการใช้
ยา tetracycline หรือ 
oxytetracycline 
แผลกามโรคเรื้อรังที่ขาหนีบ
• (Granuloma Inguinale; 
  Dovovanosis)
        โรคแผลกามโรคเรือรังที่ขาหนีบ 
                          ้
t




    (donovanosis) มักพบมากในประเทศ
    อินเดียและศรีลังกาและพบบ้างในประเท
    ศอื่นๆ ส่วนประเทศพบจำานวนน้อย เกิด
    จากเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบคัมลิมมา
    โตแบคทีเรียม แกรนูโลมาติส 
    (Calymmatobacterium 
    granulomatis) เนื่องจากเชื้อชนิดนี้พบ
    ได้ในอุจจาระ จึงคาดว่าเกิดจากการมีเพศ
การวินิจฉัยและการรักษา
      การวินิจฉัยมักดูจากอาการ และอาจมี
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ด้วยการย้อมชิ้น
เนื้อที่ตัดจากแผลด้วย ไรท์ สเตน 
(Wright’s stain) หรือกิมสา ส
เตน(Giemsa’s stain) เพือหาเชื้อการ
                            ่
รักษามักใช้ยาเตตราซัยค
ลิน(tetracycline) หรือ 
(Oxytetracycline) หรือ ตรัยเมทโธรปริ
ม ซัลฟาเมทธอกซา
เอดส์ 
   (HIV Infection and 
            AIDS)
    เอดส์ (AIDS) ไม่ใช่โรค แต่เป็นก
ลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะภูมิคุ้มกัน
บกพร่อง คำาว่า เอดส์ (AIDS) ย่อมา
จากคำาว่า Acquired 
Immunodeficiency Syndrome 
หมายถึง “กลุ่มอาการของภาวะ
ภูมิคุ้มกันบกพร่องจากการเสาะหา 
ซึ่งเกิดจากการติดเชือ HIV 
                      ้
สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอ
          วีและเอดส์
   (HIV/AIDS situation)
   สถานการณ์การแพร่กระจายของเชื้อเอชไอวี
และเอดส์ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและกระทบกับคน
ทั่วโลก ตั้งแต่มีรายงานการพบผู้ป่วยเอดส์ครั้งแรก
ที่นครนิวยอร์ก ในปี พ.ศ.2524 เป็นต้นมา จำานวน
ผู้ติดเชื้อมีมากขึ้นเรื่อยๆ และกลายเป็นปัญหาที่
สำาคัญของโลก จากรายงานการคาดการณ์ปญหา       ั
เอดส์ โดยโปรแกรมเอดส์แห่งสหประชาชาติ 
(UNAIDS) และองค์การอนามัยโลก (World 
Health Organisation/WHO) พบว่าจำานวนผู้ตด     ิ
เชือทั้งเด็กและผู้ใหญ่เมื่อสิ้นปี พ.ศ.2541 มี
    ้
ประมาณ 33.4 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม
ประเทศแอฟริกาแถบใต้ทะเลทรายซาฮารา (sub-
Saharan Africa) ประมาณ 22.5 ล้านคน อันดับ
ตารางที 8.2 จำานวนคาดการณ์ผู้ติดเชื้อ 
          ่
        HIV/AIDS เมื่อสินปี 2541
                        ้
              แถบประเทศ                                              
         จำานวน (หน่วทะเลทรายซาฮารา                       
       แอฟริกาเขตใต้ ย : ล้าน)
                   22.5
       เอเชียใต้และตะวันออกเฉียงใต้                           
                    6.7
       ละตินอเมริกา                                                 
                         1.4
       อเมริกาเหนือ                                                 
                         0.89
      เอเชียตะวันออกและแปซิฟก                               
                                      ิ
                    0.56
     ยุโรปตะวันตก                                                  
     รวม                                                               
                        0.50
                            33.4
อาการแสดงของการติดเชื้อ
       HIVและเอดส์
1. ระยะติดเชื้อทีไม่ปรากฏอาการ แบ่งเป็น 2 ระยะคือ (1) 
                  ่
   ระยะแรกของการติดเชื้อHIV (acute retroviral 
   syndrome) เป็นช่วงระยะประมาณ 1-6 สัปดาห์ ในระยะนี้
   อาจจะพบอาการประมาณ ร้อยละ50 ได้แก่ มีอาการคล้ายไข้
   หวัด มีไข้ ปวดศีรษะ ต่อมนำ้าเหลืองโตบริเวณคอ รักแร้ เจ็บ
   คอแต่ไม่มเสมหะ มีผนขึนผิวหนัง ตามลำาตัว ปวดเมื่อย เบื่อ
              ี           ื่ ้
   อาหาร อุจจาระร่วง อาการจะหายไปต่อมเอระดับของ
   แอนติบอดี (antibody) ต่อเชือHIV เริ่มสูงขึ้น (2) ระยะที่
                                   ้
   สองเป็นระยะติดเชือทีไม่ปรากฏอาการแต่ผลการตรวจเลือด 
                        ้ ่
   เซรั่ม(serum) และนำ้าลายให้ผลบวกต่อanti-HIV
2.  ระยะมีอาการของโรคเอดส์ อาจเริมมีอาการติดเชือใน
                                         ่               ้
   ช่องปากและลำาคอ ต่อมนำ้าเหลืองโตบริเวณรักแร้ คอ ขา
   หนีบ เกิดอาการงูสวัด หรือแผลลุกลาม มีอาการเรื้อรังต่างๆ 
   เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง มีไข้ไม่ทราบสาเหตุ นำ้าหนักลด มักมี
   อาการเรื้อรังและมีการติดเชือฉวยโอกาส และในที่สดมี
                                 ้                     ุ
   อาการเอดส์ 
การติดต่อและการแพร่
•
                    กระจาย
    โดยหลักการ เชื้อ HIV ติดต่อโดยการแลกเปลี่ยน
  สารคัดหลั่งในร่างกาย โดย
2.การติดต่อโดยการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อเอชไอวี 
  โดยเฉพาะทางช่องคลอด ทางทวารหนัก ส่วนการมี
  เพศสัมพันธ์ทางปากนั้นพบว่ามีการติดเชื้อจำานวน
  น้อย และพบว่าเพศชายแพร่เชื้อไปสู่ผู้หญิงมากกว่า
  ผู้หญิงแพร่ไปสู่ผู้ชาย 
3.การติดต่อโดยทางเลือดหรือเข็ม ซึ่งแพร่ได้จาก
  ผลิตภัณฑ์ของเลือด นอกจากนั้นยังแพร่ได้โดยการ
  ฉีดยาเสพย์ติดและจากการถูกเข็มที่ปนเปือนตำา
                                        ้
4.การติดต่อจากมารดาทีติดเชื้อสู่ทารกแรกเกิด ใน
                          ่
ปัจจัยที่มผลต่อการดำาเนินโรค
          ี
• ผู้ติดเชือเอชไอวีประมาณร้อยละ 95 จะกลาย
           ้
  เป็นเอดส์เต็มขั้นภายใน15 ปีแล้วเสียชีวิต
  ภายใน 2-5 ปี ปัจจัยที่ทำาให้เชือกลายเป็นเอดส์
                                 ้
  เต็มขั้นดังต่อไปนี้
• 1.ระยะเวลาที่ตดเชือพบว่าร้อยละ20-25 ของผู้
                  ิ   ้
  ติดเชือจะกลายเป็นเอดส์ภายในเวลา 6 ปี และ
         ้
  เพิมเป็นร้อยละ50 ภายในเวลา 10 ปี
      ่
• 2.วิธีติดเชื้อ
• 3.ปริมาณและสายพันธุ์ของเชือที่ได้รับ
                               ้
• 4.ภาวะภูมิคุ้มกัน แต่เดิมและภาวะโภชนาการ
  ของผู้ป่วย
• 5.สุขภาพจิตและการออกกำาลังกาย
การวินิจฉัยโรค ประกอบด้วย
     หลักฐาน 2 ประการ
1. มีการติดเชื้อเอชไอวี
2. สิงแสดงถึงภาวะภูมิคุ้มกันของเซลล์
     ่
   บกพร่อง ซึงจะมีโรคบ่งชีดังนี้ โรค
               ่            ้
   ปอดบวมจากเชื้อนิวโมซีสติสคาไรนิอี 
   มะเร็งหลอดเลือด,HIV encephalopathy, 
   Extrapulmomary tuberculosis, 
   Disseminated histoplasmosis
• การตรวจหาการติดเชือ HIV ในห้อง
                          ้
   ปฏิบัตการแบ่งได้ 2 กลุ่ม
          ิ
   1. การตรวจหาเชื้อไวรัส
วิทยาการระบาด
• ระยะที่ 1 การระบาดในกลุ่มผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดและ
   กลุ่มรักร่วมเพศ
   ในช่วงปี 2528-2530 พบผู้ติดเชื้อกลุ่มนี้ประมาณร้อยละ 1 
   ส่วนใหญ่เป็นผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีด ในปี 2531 พบเพิ่มขึ้น
   เป็นร้อยละ 32-43 ในกลุ่มผู้ติดยาและจำานวนลดอยู่ในช่วง
   ปราณร้อยละ 35-40
• ระยะที่ 2 การระบาดในกลุ่มหญิงผู้ขายบริการทางเพศ
   ในช่วงปี 2528-2531 มีความชุกประมาณร้อยละ 1 เมือ     ่
   เดือนมิถุนายน 2532 ทำา national sentinel  
   serosurveillance พบผู้ติดเชื้อสูงถึงร้อยละ 44 เฉลี่ยทุก
   ภาคประมาณร้อยละ 30-35 ในภาคเหนือสูงถึงร้อยละ 
   50-70
• ระยะที่ 3 การระบาดในกลุ่มชายวัยเจริญพันธุ์
   ปี 2532 มีการติดเชื้อเอชไอวีในชายที่เป็นกามโรค 
   ประมาณร้อยละ 2-3 แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ7-8
สาเหตุของการเกิดโรคระบาดของ
การติดเชือ HIV/AIDS ในประเทศไทย
            ้
           แพร่อย่างรวดเร็ว
1. ปัจจัยด้านพฤติกรรมทางเพศ
2. ปัจจัยทางด้านประชากร วัยแรงงาน
   และวัยเจริญพันธุ์มีมากกว่าร้อยละ 50 
   ของประชากรทังหมด
                  ้
3. ปัจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง
4. ปัจจัยด้านชีวภาพ สายพันธุ์ของเชือ้
   ในประเทศไทยแตกต่างจากสายพันธุ์
   ที่พบในประเทศทีพัฒนาแล้ว
                    ่
ผลกระทบจากโรคเอดส์
1. ปัญหาด้านปัจเจกบุคคล ผู้ติดเชื้อ/ผู้ปวยเอดส์ 
                                        ่
   มีผลต่อด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ผู้อยู่
   ใกล้ชิด
2. ปัญหาด้านครอบครัว
3. ปัญหาด้านสังคม
4. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
5. ปัญหาด้านการแพทย์และสาธารณสุข เช่น การ
   ควบคุมโรคติดเชื้อต่างๆ
การป้องกันและควบคุม
1. การให้ความรู้และประชาสัมพันธ์
2. การให้คำาปรึกษาแนะนำา
3. การพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์และ
   สาธารณสุข 
ยารักษา การใช้ยา Anti-retroviral มียาที่
นิยมอยู่สองกลุ่ม คือ reverse transcriptase 
(RT) inhibitors (nucleoside analog RT) 
      วัคซีนโรคเอดส์ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการ
ป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ แต่การพัฒนาวัคซีนป้องกัน
โรคเอดส์ยังไม่ประสบผลสำาเร็จเท่าที่ควรเนื่องมาจาก
ปัจจัยดังต่อไป
      -  การกลายพันธ์ของเชือ HIV โดยเฉพาะส่วน
                             ้
เปลือกนอกของเชื้อไวรัสเป็นส่วนประกอบ gp120ทำาให้
ผลการป้องกันต่อสายพันธ์อื่นมีน้อย ดังนั้นในการเลือก
สายพันธ์เพื่อจะนำามาเป็นวัคซีนจึงเป็นสิ่งสำาคัญ ควรเลือก
สายพันธ์ท้องถิน 
               ่
      - ยังไม่ทราบแน่นอนว่าส่วน antigen ที่ทำาให้เกิด 
ชนิดของวัคซีนโรคเอดส์ แบ่งได้ 
          3 ชนิด
     ก. วัคซีนป้องกันโรคเอดส์ (Preventive 
vaccine)ใช้ฉีดในคนปกติเพื่อป้องกันการติดเชือ ้
HIV
     ข. วัคซีนเพื่อการรักษา (Therapeutic 
vaccine) ใช้ฉีดในคนที่ติดเชื้อ HIV เพือป้องกัน
                                      ่
หรือชะลอการเกิดอาการเอดส์
     ค. วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อจาก
มารดาสู่ทารก ซึ่งอาจเป็นการป้องกันหรือรักษา
โรคเอดส์ได้
1. โรคหนองในเกิดจากเชื้ออะไร
ก.  ไวรัส
ข.   แบคทีเรีย      
ค.   ริเกตเซีย
ง.    คลามัยเดีย
1. มีการรายงานว่าพบผู้ป่วย
  เอดส์รายแรกที่เมืองใด
ก. ลอนดอน
ข. นิวยอร์ก
ค. ปารีส
ง. บริสเชล
1.การติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่
  เป็นปัญหาสำาคัญที่สุดของโลก
  ในขณะนี้คอโรคใด
            ื
ก. เอดส์
ข. ซิฟิลิส
ค. โกโนเรีย
ง. กามโรค
1. สถานการณ์ผู้ป่วยโรคเอดส์ที่
   มีรายงานผู้ตดเชื้อมากที่สุด
               ิ
   ในกลุ่มประเทศใด
ก. ยุโรป
ข. เอเชีย
ค.ออสเตเลีย
ง. แอฟริกา
1. ทำาไมจึงต้องหยอดตาเด็กแรก
   เกิดด้วยซิลเวอไนเตรต 1 %
ก. ป้องกันโรคซิฟิลิส
ข. ป้องกันโรคหนองใน 
ค. ป้องกันกามโรค
ง. ถูกทุกข้อ             
Sex education

Contenu connexe

Tendances

แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสWitsanu Rungsichatchawal
 
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีelearning obste
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์elearning obste
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2elearning obste
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆUtai Sukviwatsirikul
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 

Tendances (20)

แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัส
 
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีแนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2
 
STD
STD STD
STD
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
1129
11291129
1129
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 

Similaire à Sex education

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสWan Ngamwongwan
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากอาม อีฟ
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากอาม อีฟ
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557Utai Sukviwatsirikul
 
20 อันดับโรค
20 อันดับโรค20 อันดับโรค
20 อันดับโรคjanya Yoosuebchua
 

Similaire à Sex education (20)

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเส
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
URI.pptx
URI.pptxURI.pptx
URI.pptx
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
 
20 อันดับโรค
20 อันดับโรค20 อันดับโรค
20 อันดับโรค
 

Sex education

  • 1.
  • 2. • นางสาวอลิสา  ใจเดียว                            53011112067    AR             ระบบปกติ • นางสาวภูริชญา  มีแก้ว                           53011010441    HOS          ระบบปกติ • นางสาวเกษราภรณ์  ระวาสเสริฐ          53010217063     MBG  • นายณัฐพงษ์  ประกอบดี                        53010916149    BC • นางสาวแสงระวี  กิจเจริญ                      53010914927    AC             ระบบปกติ • นางสาวนิภาพร  ผาไสว                          53010522014    .....             ระบบพิเศษ
  • 3. • นางสาววรรณา  ใจสบาย                       53010211141     ชีววิทยา  • นางสาวสรญา  อ่างวิเชียร                      53011111058     UA      ระบบปกติ • นายวราวิชญ์   วงษา                              52011111047     AUD     ระบบปกติ • นางสาวชนัญชิดา ตะเพ็ชร                    53011812027     FH  • นายธนากรณ์  เชิญ ชม                          53011123013     • นางสาว วิชชุดา  
  • 4. ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเมื่อเกิดโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์  (STDs)  มักจะมีความเชื่อว่าเป็นการ ลงโทษโดยพระเจ้าต่อผู้ทป่วยด้วยโรคเหล่านั้น  และโรค ี่ ติดต่อทางเพศสัมพันธ์บางอย่าง  เช่น  ซิฟิลิส  ได้กลาย เป็นเครื่องมือในการกล่าวหาทางเชื้อชาติ หรือชาติ พรรณ  หรือกลุ่มคนในสังคม  ตัวอย่างเช่น  เมื่อทหาร แห่งกองทัพฝรั่งเศสเข้าไปตั้งฐานทัพในประเทศเนปาล ในฤดูหนาวปี  ค.ศ. 1495  นั้น  ทหารเหล่านั้นได้รับ ความทุกข์ทรมานจากแผลซิฟิลิสตามอวัยวะเพศ  และมี แผลตามตัว  ชาวอิตาลีเรียกว่า  โรคฝรั่งเศส  (French   sickness )  ขณะที่ชาวฝรั่งเศสก็ตำาหนิวาเป็นโรคของ ่ ชาวอิตาลี ชาวเตอร์ก  เรียกซิฟิลสว่า โรคคริสเตียน  ิ ( Christian  disease ) และชาวจีนเรียกว่า โรค โปรตุเกส ( Protuguese  disease ) 
  • 5. เมื่อมีการค้นพบและเริ่มใช้ยาเพนนิซลิน  ิ ( penicillin )  และยาปฏิชวนะตัวอื่นๆ ใน ี ช่วงปีทศวรรษที  1940  ทำาให้การรักษาโรค ่ กามโรคได้ผลดี  ในปี  ค.ศ. 1957  จำานวน รายผู้ปวยของโรคหนองในและซิฟิลิสลดตำ่า ่ ลงอย่างมาก  อย่างไรก็ตามเมื่อการรักษา โรคได้ผลดีทำาให้ความตระหนักของ สาธารณชนต่อกามโรค ลดลง  จึงมีอุบัติ การณ์ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้น อีก  ทำาให้มีโรคใหม่ๆ เกิดขึ้น  และดื้อต่อยา ปฏิชีวนะมากขึ้น  โรคใหม่ๆ เหล่านั้น  
  • 6. สถานการณ์การติดเชื้อทางเพศ สัมพันธ์  (Situation  of  sexually  transmitted   infection )  ภาวะการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์  เป็น สาเหตุสำาคัญที่ทำาให้เกิดการเจ็บป่วยเฉียบพลัน   ทำาให้เกิดภาวะการมีบตรยาก  ทุพลภาพและอาจตาย ุ ได้  ซึ่งมีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพกายและจิตใจและ สุขภาพที่รนแรงต่อทังผู้ชาย  ผู้หญิงและเด็กได้ ุ ้ องค์การอนามัยโลก (World  Health   Organization  / WHO )  ได้ประเมินการจำานวนผู้ ป่วยรายใหม่ด้วยภาวะการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์จาก โรค ซิฟิลิส  โกโนเรีย  ทริคโคโนนิเอซีส  และคลา มัยเดีย ในผูหญิงและผูชายที่มีอายุระหว่าง  15 – 49  ้ ้
  • 7. ตาราง 8.1 จำานวนคาดการณ์ผู้ตดเชื้อ ิ โรคทางเพศสัมพันธ์รายใหม่ในปี  2542                  แถบประเทศ                                                                   จำานวน ( หน่วย : ล้าน )        แอฟริกาใต้เขตทะเลทรายซาฮารา                                                         69        เอเชียใต้และตะวันออกเฉียงใต้                                                            151        ละตินอเมริกาและแคริบเบียน                                                              38        อเมริกาเหนือ                                                                                        14        เอเชียตะวันออกและแปซิฟิก                                                                18        รวม                                                                                     ยุโรปตะวันตก                                                                                   340 *** ที่มา  World  Health                            17 Organization ( 2001 ) ***        เอเชียกลางและยุโรปตะวันออก                                      
  • 8. เชื้อที่สามารถติดต่อทางเพศ สัมพันธ์ได้มจำานวนมากกว่า  20  ี ชนิด  ซึงส่วนใหญ่สามารถรักษา ่ หายได้ด้วยยาต้านจุลชีพ  ลักษณะ ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ สำาคัญ  และเป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุขและสังคม  ซึงประกอบ ่ ด้วย  โรคหนองใน , โรคหนองใน เทียม , โรคซิฟิลิส , แผลริม อ่อน , กามโรคของต่อมและนำ้า
  • 9. โรคหนองใน  (Gonorrhoea) โรคหนองใน เป็นโรคติดต่อทางเพศ สัมพันธ์ชนิดหนึ่งที่รู้จักกันมานาน คำาว่า โก โนเรีย (Gonorrhoea) พบครั้งแรกโดย  นายแพทย์กาเลน ในพ.ศ. 673 ซึงเกิดจาก่ คำาว่า “gonos” แปลว่า เม็ด และ “rhoea”  แปลว่า ไหล รวมกันแล้วหมายถึง การไหล ของหนองจากบริเวณท่อปัสสาวะ ต่อมในปี  พ.ศ. 2422  อัลเบิร์ต  นิสเซอร์ ได้ค้นพบเชือแบคทีเรีย ้
  • 10. อาการและอาการแสดง                                         ในผู้ชายหลังจาก ได้รับเชือประมาณ 2-10 วัน จะมีอาการแสบในลำา ้ กล้องเวลาถ่ายปัสสาวะหรือถ่ายปัสสาวะขัด และมี หนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ ในระยะแรกอาจ ไหลซึมเป็นมูกใส ๆ เล็กน้อย ภายใน 12 ชัวโมง  ่ ต่อมาจะกลายเป็นหนองข้น และออกมาคล้ายเส้น ก๋วยเตี๋ยว ถ้าไม่ได้รับการรักษา อาจมีหนองใน ไหลอยู่ 3-4 เดือน และเชื้อหนองในอาจลุกลามไป ยังบริเวณที่ใกล้เคียง ทำาให้ท่อปัสสาวะอักเสบ ซึ่ง
  • 11.  ในผู้หญิงระยะแรกมักไม่มีอาการ ต่อ มาจะมีอาการตกขาวเป็นหนองสีเหลือง มี กลิ่นเหม็น ไม่คัน มีอาการขัดเบา และแสบ ร้อนเวลาปัสสาวะ ปัสสาวะขุ่น ถ้ามีการ อักเสบของปีกมดลูก จะมีไข้สง หนาวสัน ู ่ ปวด และกดเจ็บตรงท้องน้อยแบบปีกมดลูก อักเสบ เชืออาจลุลามทำาให้ต่อมบาร์โทลินที่ ้ แคมใหญ่เกิดการอักเสบ หรือเป็นฝีบวมโต  หรืออาจทำาให้มดลูกอักเสบ ซึ่งถ้าอักเสบ รุนแรงเมื่อหายแล้วอาจทำาให้ท่อรังไข่ตีบตัน กลายเป็นหมัน หรือทำาให้ตั้งครรภ์นอกมดลูก
  • 12. การวินิจฉัยและการรักษา   ในการรักษาโรคหนองใน ยารับประทาน หลายตัวสามารถรักษาหนองในแท้ได้ แต่ในทาง ปฏิบัติจริงเชื้อเหล่านี้ดื้อยาจนไม่อาจใช้เป็นแนวทาง รักษาได้แล้ว ต้องใช้ยาฉีดอย่างเดียว  การวินจฉัยโรคหนองใน สามารถทำาได้โดย ิ การซักประวัตการมีเพศสัมพันธ์ พร้อมด้วยอาการ ิ และอาการแสดงโดยเฉพาะในผูชายที่มีอาการของ ้ โรคชัดเจน แต่ถ้าในรายที่อาการไม่ชัดเจนโดย เฉพาะในผู้หญิง จำาเป็นต้องอาศัยการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ่วมด้วย โดยทั่วไปแล้วจะทำาการตรวจย้อม สีแกรมจากหนอง หรือสิ่งที่ถูกขับออกมาจากท่อ ปัสสาวะ นอกจากการวินิจฉัยข้างต้นแล้ว ถ้าตรวจ
  • 13. โรคหนองในเทียม • โรคหนองในเทียม(Non-gonococcal  urethitis) มีอาการคล้ายโรคหนองใน คือมีอาการ ของท่อปัสสาวะอักเสบ ถ่ายปัสสาวะขัด มีนำ้าใส หรือหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะในบางครั้งแต่ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่พบเชื้อ นิสเซอร์  โกโนเรีย (N.gonorrhoeae) จึงได้ชื่อว่าหนองใน เทียม หรือ nonspecific urethritis; NSU) พบ ในชายรักต่างเพศมากกว่ารักร่วมเพศ ในรายที่เป็น โรคหนองในแล้วรักษาด้วยยาขนาดสูงๆแบบครัง ้ เดียว ถึงแม้อาการจะดีขึ้นแต่บางรายจะกลับมี อาการอีกประมาณ 2-3 วัน ซึ่งเรียกว่าโรคทางเดิน
  • 14. •   สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ คลา มัยเดีย แทรกโคโมติส  (Chiamydia trachomotis) ถึง ร้อยละ 50 ของจำานวนที่เป็นโรค หนองในเทียมทั้งหมด นอกนั้นอาจมี เชื้อ ยูรพลาสมา ยูรีไลติ ี คัม(Ureaplasma urealyticum)  แคนดิดา อัลบิแคน (Candida  albican) ทริโคโมแนส วาจินลลิส  ั (Trichomonas vaginalis) อะไม โคพลาสมา เจนนิทัลเลียม 
  • 15. อาการและการแสดง ระยะฟักตัวของหนองในเทียม ประมาณ 2-3 สัปดาห์ อาจนานถึง 5  สัปดาห์ ผูทติดเชื้ออาจมีอาการ หรือ ้ ี่ ไม่มีอาการก็ได้ บางคนอาจมีอาการ ปัสสาวะขัดและแสบ มีหนองหรือนำ้าใสๆ  ไหลออกจากท่อปัสสาวะ ในผูหญิงอาจ ้ ไม่มีีอาการก็ได้ ซึงมักเป็นปัญหาต่อ ี ่ การป้องกันโรค และในผูหญิงตังครรภ์ ้ ้ และคลอดบุตร อาจทำาให้ทารกติดเชื้อ 
  • 16. การวินิจฉัยและการรักษา  การวินจฉัยโรคหนองในเทียมจะต้อง  ิ พยายามแยกโรคจากโรคหนองใน ซึ่งเป็นการยาก ถ้าดูจากอาการและอาการแสดง เพราะทั้งสองโรค มีอาการคล้ายกัน จึงต้องมีการตรวจทางห้องปฏิบัติ การ ถ้าตรวจไม่พบเชื้อ นิสเซอร์ โกโนเรีย  (N.gonorrhoeae) ก็จะเป็นโรคหนองในเทียม ส่วนการรักษาที่ได้ผลดีนน ควรจะตรวจหา ั้ เชือที่เป็นสาเหตุของหนองในเทียม และใช้ยา ้ ปฏิชวนะที่สามารถกำาจัดเชือที่เป็นสาเหตุนั้น ถ้า ี ้ เกิดจากเชือคลามัยเดีย มักจะใช้ยาเตตราซัยคลิน  ้
  • 17. โรคซิฟิลส (Syphilis) ิ โรคซิฟิลส (syphilis) เป็นกามโรคที่ ิ เกิด จากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ ทริพโพนิมา พอล ลิดม (Treponema pallidum) ทีมี ั ่ ลักษณะรูปเกลียว (spirochete) สามารถมี ชีวตอยู่ในเลือดทีอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ิ ่ ได้ ประมาณ 3-4 วัน เชือซิฟิลิสจะตายถ้าใช้ ้ ยาฆ่าเชื้อทั่วไป ความร้อน ความแห้ง หรือ นำ้าสบู่ เชือสามารถเข้าสู่รางกายได้ทางแผล ้ ่
  • 18. อาการและอาการแสดง โรคซิฟิลสมีระยะฟักตัวประมาณ 10 วัน  ิ ถึง 10 สัปดาห์ เฉลี่ยประมาณ 3 สัปดาห์  และมีอาการของโรคที่แบ่งออกเป็นระยะได้  2 ระยะ คือ ซิฟิลิสระยะแรก (early syphilis)  และซิฟลิสระยะหลัง (late syphylis) ดังนี้ ิ
  • 19. ซิฟิลิสระยะแรก (Early  • syphilis) งย่อยได้เป็น 3  เป็นอาการเริ่มแรกที่สามารถแบ่ ระยะที่สำาคัญดังนี้ 2.ซิฟิลิสระยะทีหนึ่ง หลังจากติดเชือซิฟิลิสผ่าน ่ ้ ระยะฟักตัวแล้ว จะมีอาการเป็นตุมสีแดงคลำ้า ่ บริเวณที่เชือเข้าสู่ร่างกาย โดยเฉพาะที่อวัยวะ ้ เพศ ต่อมาตุ่มแดงจะแตกเป็นแผล มักจะมีแผล เดียว ขอบแข็ง ไม่เจ็บ จึงมักเรียกว่า แผลริม แข็ง (hard chancre) เป็นแผลสะอาด ขอบนูน แข็ง มีนำ้าเหลืองไหลออกมามาก ซึ่งในนำ้า เหลืองที่ออกจากแผลจะมีเชื้อซิฟิลิสอยู่จำานวน มาก อาจมีอาการต่อมนำ้าเหลืองโตข้างใดข้าง
  • 20. • ซิฟิลิสระยะที่สอง ผู้ป่วยอาจมีอาการไข้ตำ่าๆ  ปวดกระดูก กล้ามเนื้อและข้อเบืออาหาร มีผื่น ่ แดงเรื่อๆ แต่ไม่คัน อาจพบได้ทั่วตัวหรือเฉพาะ บริเวณอก ฝ่ามือฝ่าเท้า อาจมีผมร่วงเป็น หย่อมๆ ถ้าตรวจเลือดจะให้ผล VDRL  (Venereal Diseases Research Laboratory)  บวก ระยะนีเรียกว่า “ระยะออกดอก” จะเป็น ้ ระยะที่มีเชือมาก ติดต่อได้งาย ถ้าไม่ได้รับการ ้ ่ รักษาอาการจะหายไปเอง ร้อยละ 30-40 นอก นันโรคจะเข้าสู่ระยะแฝง ้ • ซิฟิลิสระยะแฝงเริ่มแรก เป็นระยะที่ไม่มีอา การใดๆ แต่ผลตรวจเลือด VDRL ให้ผลบวก ผู้
  • 21. ซิฟิลิสระยะหลัง  (Late syphilis หรือ Tertiary  syphilis) • เป็นระยะที่เกิดขึ้นหลังจากซิฟิลิสระยะทีสอง ประมาณ 3-30 ปี  ่ ยกเว้นในผูป่วยภูมิคมกันบกพร่อง ซึ่งจะกินเวลาสั้นกว่า ในระยะนี้ ้ ุ้ เป็นระยะที่มีการอักเสบของระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ระบบ ประสาท ระบบหัวใจและเส้นเลือด ซึ่งมักจะเรียกชือตามระบบที่ ่ ซิฟิลิสปรากฏอาการ ดังนี้ 2. ซิฟิลิสระยะแฝงช่วงหลัง ผูป่วยจะไม่มีอาการใดๆ แต่ให้ผล ้ ตรวจเลือด VDRLบวก 3. ซิฟิลิสระยะบิไนกัมมา (benign gumma) มักมีอาการภาย หลัง 2-10 ปี เริ่มมีอาการตุ่มนูน (nodule) หรือรอยโรคชนิด แกรนู โลมาตัส (granulomatous) ทีผิวหนัง และอวัยวะภายใน เช่น  ่ กระดูก ตับ ระบบประสาทส่วนกลาง หลอดเลือด หัวใจ และสมอง 4. ซิฟิลิสระบบไหลเวียนโลหิต มักเกิดหลังจากแผลริมแข็ง  ประมาณ 10 ปี อาจมีเส้นเลือดแดงใหญ่โป่งพอง (aneurysm in 
  • 22. การวินจฉัยและการรักษา  ิ สามารถวินจฉัยได้จากประวัต และจากอาการ ิ ิ และอาการแสดง และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ  โดยการตรวจสารคัดหลั่งจากแผล หรือรอยโรคของ ซิฟิลิสระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง นอกจากนั้น การ ตรวจหาแอนติบอดีโดยวิธีทางอิมมิวโนวิทยา  (Immunology) เช่น การตรวจกาแอนติบอดี ชนิด หนึ่ง (regain) ที่ไม่จำาเพาะ โดยใช้วิธี VDRL  (Venereal Diseases Research Laboratory)  หรือการตรวจหาแอนติบอดี ชนิด Treponemal  antibody เช่น Fluorescent treponemal antibody- absorption test (FTA-ABS Test) เป็นต้น
  • 23.        โรคแผลริมอ่อน(Cha ncroid) แผลริมอ่อนเป็นกามโรคที่พบบ่อย ในแถวเขตร้อน พบได้ทงชายและหญิง  ั้ แต่พบในชายมากกว่า เกิดจากเชื้อ แบคทีเรียชนิดกรัมลบ ชื่อ ฮีโมฟีลัส ดู คริอัย โดยเชื้อจะเข้าสูรอยถลอกหรือ ่ เยื่อเมือกของอวัยวะเพศ จะมีอาการเป็น ตุ่มและแตกภายใน 2-3วัน กลายเป็น แผลที่มีขอบแดง ไม่เรียบไม่แข็ง มี
  • 24. การวินิจฉัยการรักษา  โรคแผลริมอ่อน สามารถ วินิจฉัยได้ด้วยการดูจากอาการและ อาการแสดง และการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ ด้วยการย้อมสีเพื่อตรวจ หาเชื้อ โมฟีลัส ดูคริอัย * โรคแผลริมอ่อน สามารถ รักษาได้ด้วยการใช้ยา  trimethroprim-
  • 25. กามโรคของต่อมและนำ้าเหลือง  (Lymphogranuloma  Venereum; LGV)     โรคกามโรคของต่อมและท่อนำ้า เหลือง พบบ่อยในประเทศเขตร้อน เกิด จากเชื้อแบคทีเรีย คลามัยเดีย แทรก โคโมติส (chlamydia  trachomotis) โดยจะเข้าสูร่างกาย ่ ทางแผลถลอก และทางเยื่อเมือกของ อวัยวะเพศ แล้วแพร่เข้าสูต่อมนำ้าเหลือง ่
  • 26. อาการและอาการแสดง • อาการของโรคมีสองระยะ คือ ระยะแรก จะมีอาการเป็นแผลเล็กๆ ที่ผวหนอง ิ และอวัยวะเพศ แล้วต่อมนำ้าเหลืองที่ขาหนีบจะ บวมโต เป็นก้อนตามร่องขาหนีบ (inguinal  adenitis) ต่อมาฝีจะแตกมีหนองไหล นอกจาก นัน จะมีอาการไข้ หนาวสัน ปวดศีรษะ คลื่นไส้  ้ ้ ตาแดง มีผื่นที่ผวหนัง และนำ้าหนักลด ิ ระยะหลัง หากไม่ได้รบการรักษาจะมีอาการ ั อุดตันของท่อนำ้าเหลือง มีอาการติดเชือลุกลาม ้ ไปตามอวัยวะรอบๆ เช่น ช่องคลอด ลำาไส้ใหญ่ ส่วนปลาย ในผู้ชายอาจมีอาการบวมโตของ
  • 27. การวินิจฉัยและการรักษา การวินจฉัยโรคนี้ สามารถทำาได้จาก ิ อาการและอาการแสดง และตรวจทาง ห้องปฏิบัติการหาเชื้อ คลามัยเดีย  แทรกโคโมติส (C. trachomotis)  ส่วนการรักษาโรคนี้ รักษาได้โดยการใช้ ยา tetracycline หรือ  oxytetracycline 
  • 28. แผลกามโรคเรื้อรังที่ขาหนีบ • (Granuloma Inguinale;  Dovovanosis) โรคแผลกามโรคเรือรังที่ขาหนีบ  ้ t (donovanosis) มักพบมากในประเทศ อินเดียและศรีลังกาและพบบ้างในประเท ศอื่นๆ ส่วนประเทศพบจำานวนน้อย เกิด จากเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบคัมลิมมา โตแบคทีเรียม แกรนูโลมาติส  (Calymmatobacterium  granulomatis) เนื่องจากเชื้อชนิดนี้พบ ได้ในอุจจาระ จึงคาดว่าเกิดจากการมีเพศ
  • 29. การวินิจฉัยและการรักษา การวินิจฉัยมักดูจากอาการ และอาจมี การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ด้วยการย้อมชิ้น เนื้อที่ตัดจากแผลด้วย ไรท์ สเตน  (Wright’s stain) หรือกิมสา ส เตน(Giemsa’s stain) เพือหาเชื้อการ ่ รักษามักใช้ยาเตตราซัยค ลิน(tetracycline) หรือ  (Oxytetracycline) หรือ ตรัยเมทโธรปริ ม ซัลฟาเมทธอกซา
  • 30. เอดส์  (HIV Infection and  AIDS) เอดส์ (AIDS) ไม่ใช่โรค แต่เป็นก ลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะภูมิคุ้มกัน บกพร่อง คำาว่า เอดส์ (AIDS) ย่อมา จากคำาว่า Acquired  Immunodeficiency Syndrome  หมายถึง “กลุ่มอาการของภาวะ ภูมิคุ้มกันบกพร่องจากการเสาะหา  ซึ่งเกิดจากการติดเชือ HIV  ้
  • 31. สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอ วีและเอดส์  (HIV/AIDS situation) สถานการณ์การแพร่กระจายของเชื้อเอชไอวี และเอดส์ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและกระทบกับคน ทั่วโลก ตั้งแต่มีรายงานการพบผู้ป่วยเอดส์ครั้งแรก ที่นครนิวยอร์ก ในปี พ.ศ.2524 เป็นต้นมา จำานวน ผู้ติดเชื้อมีมากขึ้นเรื่อยๆ และกลายเป็นปัญหาที่ สำาคัญของโลก จากรายงานการคาดการณ์ปญหา ั เอดส์ โดยโปรแกรมเอดส์แห่งสหประชาชาติ  (UNAIDS) และองค์การอนามัยโลก (World  Health Organisation/WHO) พบว่าจำานวนผู้ตด ิ เชือทั้งเด็กและผู้ใหญ่เมื่อสิ้นปี พ.ศ.2541 มี ้ ประมาณ 33.4 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม ประเทศแอฟริกาแถบใต้ทะเลทรายซาฮารา (sub- Saharan Africa) ประมาณ 22.5 ล้านคน อันดับ
  • 32. ตารางที 8.2 จำานวนคาดการณ์ผู้ติดเชื้อ  ่ HIV/AIDS เมื่อสินปี 2541 ้               แถบประเทศ                                                        จำานวน (หน่วทะเลทรายซาฮารา                               แอฟริกาเขตใต้ ย : ล้าน)                    22.5        เอเชียใต้และตะวันออกเฉียงใต้                                                6.7        ละตินอเมริกา                                                                           1.4        อเมริกาเหนือ                                                                           0.89       เอเชียตะวันออกและแปซิฟก                                ิ                     0.56      ยุโรปตะวันตก                                                        รวม                                                                                        0.50                             33.4
  • 33. อาการแสดงของการติดเชื้อ HIVและเอดส์ 1. ระยะติดเชื้อทีไม่ปรากฏอาการ แบ่งเป็น 2 ระยะคือ (1)  ่ ระยะแรกของการติดเชื้อHIV (acute retroviral  syndrome) เป็นช่วงระยะประมาณ 1-6 สัปดาห์ ในระยะนี้ อาจจะพบอาการประมาณ ร้อยละ50 ได้แก่ มีอาการคล้ายไข้ หวัด มีไข้ ปวดศีรษะ ต่อมนำ้าเหลืองโตบริเวณคอ รักแร้ เจ็บ คอแต่ไม่มเสมหะ มีผนขึนผิวหนัง ตามลำาตัว ปวดเมื่อย เบื่อ ี ื่ ้ อาหาร อุจจาระร่วง อาการจะหายไปต่อมเอระดับของ แอนติบอดี (antibody) ต่อเชือHIV เริ่มสูงขึ้น (2) ระยะที่ ้ สองเป็นระยะติดเชือทีไม่ปรากฏอาการแต่ผลการตรวจเลือด  ้ ่ เซรั่ม(serum) และนำ้าลายให้ผลบวกต่อanti-HIV 2.  ระยะมีอาการของโรคเอดส์ อาจเริมมีอาการติดเชือใน ่ ้ ช่องปากและลำาคอ ต่อมนำ้าเหลืองโตบริเวณรักแร้ คอ ขา หนีบ เกิดอาการงูสวัด หรือแผลลุกลาม มีอาการเรื้อรังต่างๆ  เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง มีไข้ไม่ทราบสาเหตุ นำ้าหนักลด มักมี อาการเรื้อรังและมีการติดเชือฉวยโอกาส และในที่สดมี ้ ุ อาการเอดส์ 
  • 34. การติดต่อและการแพร่ • กระจาย โดยหลักการ เชื้อ HIV ติดต่อโดยการแลกเปลี่ยน สารคัดหลั่งในร่างกาย โดย 2.การติดต่อโดยการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อเอชไอวี  โดยเฉพาะทางช่องคลอด ทางทวารหนัก ส่วนการมี เพศสัมพันธ์ทางปากนั้นพบว่ามีการติดเชื้อจำานวน น้อย และพบว่าเพศชายแพร่เชื้อไปสู่ผู้หญิงมากกว่า ผู้หญิงแพร่ไปสู่ผู้ชาย  3.การติดต่อโดยทางเลือดหรือเข็ม ซึ่งแพร่ได้จาก ผลิตภัณฑ์ของเลือด นอกจากนั้นยังแพร่ได้โดยการ ฉีดยาเสพย์ติดและจากการถูกเข็มที่ปนเปือนตำา ้ 4.การติดต่อจากมารดาทีติดเชื้อสู่ทารกแรกเกิด ใน ่
  • 35. ปัจจัยที่มผลต่อการดำาเนินโรค ี • ผู้ติดเชือเอชไอวีประมาณร้อยละ 95 จะกลาย ้ เป็นเอดส์เต็มขั้นภายใน15 ปีแล้วเสียชีวิต ภายใน 2-5 ปี ปัจจัยที่ทำาให้เชือกลายเป็นเอดส์ ้ เต็มขั้นดังต่อไปนี้ • 1.ระยะเวลาที่ตดเชือพบว่าร้อยละ20-25 ของผู้ ิ ้ ติดเชือจะกลายเป็นเอดส์ภายในเวลา 6 ปี และ ้ เพิมเป็นร้อยละ50 ภายในเวลา 10 ปี ่ • 2.วิธีติดเชื้อ • 3.ปริมาณและสายพันธุ์ของเชือที่ได้รับ ้ • 4.ภาวะภูมิคุ้มกัน แต่เดิมและภาวะโภชนาการ ของผู้ป่วย • 5.สุขภาพจิตและการออกกำาลังกาย
  • 36. การวินิจฉัยโรค ประกอบด้วย หลักฐาน 2 ประการ 1. มีการติดเชื้อเอชไอวี 2. สิงแสดงถึงภาวะภูมิคุ้มกันของเซลล์ ่ บกพร่อง ซึงจะมีโรคบ่งชีดังนี้ โรค ่ ้ ปอดบวมจากเชื้อนิวโมซีสติสคาไรนิอี  มะเร็งหลอดเลือด,HIV encephalopathy,  Extrapulmomary tuberculosis,  Disseminated histoplasmosis • การตรวจหาการติดเชือ HIV ในห้อง ้ ปฏิบัตการแบ่งได้ 2 กลุ่ม ิ 1. การตรวจหาเชื้อไวรัส
  • 37. วิทยาการระบาด • ระยะที่ 1 การระบาดในกลุ่มผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดและ กลุ่มรักร่วมเพศ ในช่วงปี 2528-2530 พบผู้ติดเชื้อกลุ่มนี้ประมาณร้อยละ 1  ส่วนใหญ่เป็นผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีด ในปี 2531 พบเพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 32-43 ในกลุ่มผู้ติดยาและจำานวนลดอยู่ในช่วง ปราณร้อยละ 35-40 • ระยะที่ 2 การระบาดในกลุ่มหญิงผู้ขายบริการทางเพศ    ในช่วงปี 2528-2531 มีความชุกประมาณร้อยละ 1 เมือ ่ เดือนมิถุนายน 2532 ทำา national sentinel   serosurveillance พบผู้ติดเชื้อสูงถึงร้อยละ 44 เฉลี่ยทุก ภาคประมาณร้อยละ 30-35 ในภาคเหนือสูงถึงร้อยละ  50-70 • ระยะที่ 3 การระบาดในกลุ่มชายวัยเจริญพันธุ์ ปี 2532 มีการติดเชื้อเอชไอวีในชายที่เป็นกามโรค  ประมาณร้อยละ 2-3 แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ7-8
  • 38. สาเหตุของการเกิดโรคระบาดของ การติดเชือ HIV/AIDS ในประเทศไทย ้ แพร่อย่างรวดเร็ว 1. ปัจจัยด้านพฤติกรรมทางเพศ 2. ปัจจัยทางด้านประชากร วัยแรงงาน และวัยเจริญพันธุ์มีมากกว่าร้อยละ 50  ของประชากรทังหมด ้ 3. ปัจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง 4. ปัจจัยด้านชีวภาพ สายพันธุ์ของเชือ้ ในประเทศไทยแตกต่างจากสายพันธุ์ ที่พบในประเทศทีพัฒนาแล้ว ่
  • 39. ผลกระทบจากโรคเอดส์ 1. ปัญหาด้านปัจเจกบุคคล ผู้ติดเชื้อ/ผู้ปวยเอดส์  ่ มีผลต่อด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ผู้อยู่ ใกล้ชิด 2. ปัญหาด้านครอบครัว 3. ปัญหาด้านสังคม 4. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ 5. ปัญหาด้านการแพทย์และสาธารณสุข เช่น การ ควบคุมโรคติดเชื้อต่างๆ
  • 41. ยารักษา การใช้ยา Anti-retroviral มียาที่ นิยมอยู่สองกลุ่ม คือ reverse transcriptase  (RT) inhibitors (nucleoside analog RT)  วัคซีนโรคเอดส์ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการ ป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ แต่การพัฒนาวัคซีนป้องกัน โรคเอดส์ยังไม่ประสบผลสำาเร็จเท่าที่ควรเนื่องมาจาก ปัจจัยดังต่อไป    -  การกลายพันธ์ของเชือ HIV โดยเฉพาะส่วน ้ เปลือกนอกของเชื้อไวรัสเป็นส่วนประกอบ gp120ทำาให้ ผลการป้องกันต่อสายพันธ์อื่นมีน้อย ดังนั้นในการเลือก สายพันธ์เพื่อจะนำามาเป็นวัคซีนจึงเป็นสิ่งสำาคัญ ควรเลือก สายพันธ์ท้องถิน  ่ - ยังไม่ทราบแน่นอนว่าส่วน antigen ที่ทำาให้เกิด 
  • 42. ชนิดของวัคซีนโรคเอดส์ แบ่งได้  3 ชนิด   ก. วัคซีนป้องกันโรคเอดส์ (Preventive  vaccine)ใช้ฉีดในคนปกติเพื่อป้องกันการติดเชือ ้ HIV ข. วัคซีนเพื่อการรักษา (Therapeutic  vaccine) ใช้ฉีดในคนที่ติดเชื้อ HIV เพือป้องกัน ่ หรือชะลอการเกิดอาการเอดส์ ค. วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อจาก มารดาสู่ทารก ซึ่งอาจเป็นการป้องกันหรือรักษา โรคเอดส์ได้
  • 45. 1.การติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ เป็นปัญหาสำาคัญที่สุดของโลก ในขณะนี้คอโรคใด ื ก. เอดส์ ข. ซิฟิลิส ค. โกโนเรีย ง. กามโรค
  • 46. 1. สถานการณ์ผู้ป่วยโรคเอดส์ที่ มีรายงานผู้ตดเชื้อมากที่สุด ิ ในกลุ่มประเทศใด ก. ยุโรป ข. เอเชีย ค.ออสเตเลีย ง. แอฟริกา
  • 47. 1. ทำาไมจึงต้องหยอดตาเด็กแรก เกิดด้วยซิลเวอไนเตรต 1 % ก. ป้องกันโรคซิฟิลิส ข. ป้องกันโรคหนองใน  ค. ป้องกันกามโรค ง. ถูกทุกข้อ