SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สือการเรียนรู้
  ่
   สื่อการเรียนรู้
    สื่อการเรียนรู้ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธการ ซึ่งอาจจาแนกเป็ น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ
                                                  ี
    บุคคล สื่อวัสดุ สื่ออุปกรณ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม สื่อ
    กิจกรรมหรือกระบวนการ แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้ อมูลข่าวสาร สารสนเทศ
    และประสบการณ์ท่สนับสนุนส่งเสริมให้ ผ้ ูเรียนใฝ่ เรียนใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้
                         ี
    ด้ วยตนเองอย่างกว้ างขวางและต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้ างให้ ผ้ ูเรียนเกิดกระบวนการ
    เรียนรู้และเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้
สือและแหล่งการเรียนรู้
  ่

   สื่อและแหล่งการเรียนรู้ คือ สิ่งที่ใช้ เป็ นสื่อกลางให้ ผ้ ูสอนสามารถถ่ายทอด ความรู้ เจต
    คติและทักษะไปยังผู้เรียน สามารถมองเห็นเป็ นรูปธรรมได้ ทาให้ ผ้ ูเรียนได้ เรียนรู้อย่าง
    มีประสิทธิภาพ หรือทาให้ บทเรียนง่ายขึ้น และในการจัดทาสื่อขึ้นใช้ ต้องคานึงถึง
    คุณสมบัติของสื่อที่ดี คือ น่าสนใจ ประหยัดช่วยให้ เกิดการเรียนรู้ได้ เร็วและถูกต้ อง
    การเขียนสื่อและแหล่งการเรียนรู้ให้ เขียนเรียงตามลาดับกิจกรรมการเรียนรู้ท่กาหนดี
    สื่อการเรียนรู้ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธการ ซึ่งอาจจาแนกเป็ น สื่อสิ่งพิมพ์ส่อ
                                                      ี                               ื
    บุคคล สื่อวัสดุ สื่ออุปกรณ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม สื่อ
    กิจกรรมหรือกระบวนการ แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้ อมูลข่าวสาร สารสนเทศ
    และประสบการณ์ท่สนับสนุนส่งเสริมให้ ผ้ ูเรียนใฝ่ เรียนใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้
                         ี
    ด้ วยตนเองอย่างกว้ างขวางและต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้ างให้ ผ้ ูเรียนเกิดกระบวนการ
    เรียนรู้และเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้
สือการสอน
  ่
   สื่อการสอน หมายถึง ตัวกลางที่ถ่ายถอดสารสนเทศไปสู่ผ้ ูเรียน ไม่ว่าจะเป็ นวัสดุ
    เครื่องมือและเทคนิควิธการที่ผ้ ูสอนนามาประกอบการเรียนการสอน เพื่อผู้เรียนเกิด
                                ี
    การเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสื่อการเรียนรู้ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียน
    ที่ช่วยให้ ผ้ ูเรียนเกิดการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้ นส่งเสริมการค้ นคว้ าหรือการแสวงหาความรู้
    ด้ วยตนเอง ช่วยให้ ผ้ ูเรียนสามารถเรียนรู้ได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตสื่อการสอนและสื่อ
    การเรียนรู้ มีความเหมือนกันคือ เป็ นเครื่องมือที่ใช้ ถ่ายทอดความรู้ ความเข้ าใจ ที่ช่วย
    ให้ ผ้ ูเรียนเกิดการเรียนรู้ส่อการสอนและสื่อการเรียนรู้ มีความแตกต่างกันคือ สื่อการ
                                  ื
    สอน ยังเป็ นเพียงตัวกลางที่ใช้ ในการถ่ายทอดเนื้อหาและความรู้เท่านั้น และผู้สอนเป็ น
    ผู้นามาหรือจัดเตรียมเพื่อประกอบการเรียนการสอน แต่ส่อการเรียน เป็ นเครื่องมือที่
                                                                    ื
    ใช้ ถ่ายทอดความรู้ ความเข้ าใจ เพิ่มพูนทักษะ ผู้เรียนสามารถค้ นคว้ าและแสวงหา
    ความรู้ด้วยตนเอง และสามารถเรียนรู้ได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตได้
   การเรียนการสอนในยุคปัจจุบันไม่สามารถจะจากัดอยู่แต่เพียงในห้ องเรียนเท่านั้นอีก
    ต่อไปแล้ วพฤติกรรมทางการเรียนรู้และการจัดสถานการณ์เพื่อให้ เกิดกระบวนการ
    ทางการเรียนรู้อาจจัดขึ้น ณ ที่ใดๆก็ได้ ข้ นอยู่กบสถานการณ์และโอกาสเครื่องมืออย่าง
                                              ึ     ั
    สาคัญที่จะช่วยให้ การจัดสถานการณ์ทางการเรียนรู้มประสิทธิผลที่จาเป็ นได้ แก่ส่อการ
                                                        ี                        ื
    สอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา หากขาดสิ่งดังกล่าวนี้แล้ ว การจัดสถานการณ์เพื่อให้
    เกิดการเรียนรู้ ย่อมจะขีดวงจากัดเข้ ามาเป็ นอย่างมาก สื่อการสอนและเทคโนโลยี
    ทางการศึกษานั้น สามารถสร้ างสถานการณ์เพื่อให้ เกิดการเรียนรู้ได้ เป็ นอันมาก อาจ
    กล่าวได้ ว่า โดยปกติจากขอบเขตจากัด ทั้งเวลาและสถานที่ ถ้ าหากว่ามีอปกรณ์และ
                                                                          ุ
    เครื่องมือพร้ อม ก็จะช่วยขจัดข้ อจากัดดังกล่าวได้
สือการสอน
  ่
   นักวิชาการ และนักเทคโนโลยีการศึกษา ทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ ให้ ความหมายของ
    สื่อการสอน ไว้ หลายท่าน พอสรุปได้ ดังนี้

    เชอร์ส (Shores. 1960 : 1) กล่าวว่า สื่อการสอนเป็ นเครื่องมือช่วยสื่อความหมายใด ๆ ก็
    ตามที่จัดโดยครูและนักเรียน เพื่อเสริมการเรียนรู้ เครื่องมือการสอนทุกชนิดเป็ นสื่อการสอน
    เช่น หนังสือในห้ องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ ทรัพยากรจากชุมชน เป็ นต้ น

   ฮาส และแพคเกอร์ (Hass and PacKer. 1964 : 11) กล่าวว่า สื่อการสอน คือ
    เครื่องมือที่ช่วยในการถ่ายทอดสิ่งต่าง ๆ ที่เป็ นจริงได้ แก่ ทักษะ ทัศนะคติ ความรู้ ความเข้ าใจ
    และความซาบซึ้งไปยังผู้เรียน หรือเป็ นเครื่องมือประกอบการสอน ที่เราสามารถได้ ยนและ   ิ
    มองเห็นได้ เท่า ๆ กัน

   บราวน์ และคนอื่น ๆ (Brown and other. 1964 : 584) กล่าวว่า สื่อการสอนหมายถึง
    จาพวกอุปกรณ์ท้งหลายที่สามารถเสนอความรู้ให้ แก่ผ้ ูเรียน จนเกิดผลการเรียนที่ดท้งนี้รวมถึง
                   ั                                                              ี ั
    กิจกรรมต่าง ๆ ไม่เฉพาะที่เป็ นวัสดุหรือเครื่องมือเท่านั้น เช่น การศึกษานอกสถานที่ การสาธิต
    การทดลอง ตลอดจนการสัมภาษณ์ เป็ นต้ น
   เกอร์ลัช และอีลี (ไชยยศ เรืองสุวรรณ. 2526 :141 : อ้ างอิงมาจาก Gerlach and
    Ely.) ได้ ให้ คาจากัดความของสื่อการสอนไว้ ว่า สื่อการสอน คือ บุคคล วัสดุหรือ
    เหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งทาให้ นักเรียนได้ รับความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ครู หนังสือ และ
    สิ่งแวดล้ อมของโรงเรียนจัดเป็ นสื่อการสอนทั้งสิ้น

   ไฮนิคส์ โมเลนดาและรัสเซล (Heinich, Molenda and Russel. 1985 : 5)
    ให้ ทศนะเกี่ยวกับสื่อการสอนไว้ ว่า สื่อการสอน หมายถึง สื่อชนิดใดก็ตามไม่ว่าจะเป็ น
         ั
    สไลด์โทรทัศน์วิทยุเทปบันทึกเสียงภาพถ่ายวัสดุฉายและวัตถุส่งตีพิมพ์ซ่งเป็ นพาหนะ
                                                                ิ       ึ
    ในการนาข้ อมูลจากแหล่งข้ อมูลไปยังผู้รับ เมื่อนามาใช้ กบการเรียนการสอน หรือส่ง
                                                           ั
    เนื้อหาความรู้ไปยังผู้เรียนในกระบวนการเรียนการสอน เรียกว่า สื่อการสอน

   เปรื่อง กุมุท (2519 : 1) กล่าวว่า สื่อการสอน หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่เป็ นเครื่องมือ
    หรือช่องทางสาหรับทาให้ การสอนของครูถงผู้เรียน และทาให้ ผ้ ูเรียนเรียนรู้ตาม
                                              ึ
    วัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้ อย่างดี
   วาสนา ชาวหา(2522:59) กล่าวว่าสื่อการสอนหมายถึงสิ่งใดๆก็ตามที่เป็ นตัวกลางนา
    ความรู้ไปสู่ผ้ ูเรียนและทาให้ การเรียนการสอนเป็ นไป
    ตามวัตถุประสงค์ท่วางไว้
                          ี

   ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2526 : 4) กล่าวว่า สื่อการสอน หมายถึง สิ่งที่ช่วยให้ การเรียนรู้
    ซึ่งครูและนักเรียนเป็ นผู้ใช้ เพื่อให้ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

   ชม ภูมิภาค (2526 : 5) กล่าวว่า สื่อการสอนนั้นเป็ นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีการสอน
    เป็ นพาหนะที่จะนาสารหรือความรู้ไปยังผู้เรียน เพื่อให้ ผ้ ูเรียนเกิดการเรียนรู้
   ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2529 : 112) ให้ ความหมายของสื่อการสอนว่า คือวัสดุ
    (สิ้นเปลือง) อุปกรณ์ (เครื่องมือที่ใช้ ไม่ผุพังง่าย) วิธการ (กิจกรรม เกม การทดลอง
                                                            ี
    ฯลฯ) ที่ใช้ ส่อกลางให้ ผ้ ูสอนสามารถส่ง หรือถ่ายทอดความรู้ เจตคติ (อารมณ์
                  ื
    ความรู้สก ความสนใจ ทัศนคติ และค่านิยม) และทักษะไปยังผู้เรียน ได้ อย่างมี
             ึ
    ประสิทธิภาพ

   พิมพ์พรรณ เทพสุมาธานนท์ (2531 : 29) กล่าวว่าสื่อการสอนหมายถึงสิ่งต่างๆที่ใช้
    เป็ นเครื่องมือหรือช่องทางสาหรับให้ การสอนของครูกบผู้เรียน และทาให้ ผ้ ูเรียนเรียนรู้
                                                            ั
    ได้ ตามวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่ผ้ ูสอนวางไว้ เป็ นอย่างดี

   สรุปได้ ว่า สื่อการสอน หมายถึงวัสดุ เครื่องมือและเทคนิควิธการที่ผ้ ูสอนนามาใช้
                                                                ี
    ประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้ ผ้ ูเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทของสือการสอน
           ่
 สื่อการสอนนั้นมีมากมายและได้ พัฒนาให้ เกิดขึ้นใหม่อยู่เสมอตามความเจริญก้ าวหน้ า
  ทางด้ านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักเทคโนโลยีการศึกษา ได้ กาหนดและแบ่ง
  ประเภทของสื่อการสอนไว้ หลายท่านดังนี้
 Dale (1969 : 107 -128) ได้ แบ่งสื่อการสอนออกเป็ น 11 ประเภทโดยพิจารณา
  จากลักษณะของประสบการณ์ท่ได้ รับจากสื่อการสอน โดยยึดความเป็ นรูปธรรมและ
                                 ี
  นามธรรม(ConcreteandAbstract)เป็ นหลักในการแบ่งประเภทและได้ แบ่ง
  ประเภทสื่อการสอนในรูปกรวยประสบการณ์ (The Cone of experience) โดย
  ให้ ส่อที่มีความเป็ นรูปธรรมมากที่สดไปไว้ ท่ฐานกรวยและสื่อที่เป็ นนามธรรมน้ อยที่สด
        ื                            ุ        ี                                     ุ
  ไปไว้ ท่ยอดกรวย ดังนี้
          ี
   1. ประสบการณ์ตรงที่มความหมาย ( Direct and Purposeful Experiences
                                ี
    ) เป็ นประสบการณ์ท่ผ้ ูเรียนได้ รับจากความเป็ นจริง ผู้รับประสบการณ์ได้ รับโดยการ
                             ี
    ผ่านทางประสาทสัมผัสของจริงในชีวิต และประสบการณ์เหล่านั้นมีความหมายต่อผู้
    ได้ รับประสบการณ์
    2. ประสบการณ์จาลอง ( Contrived Experiences ) เป็ นประสบการณ์ท่จาลอง                ี
    แบบจากของจริง เพราะของจริงอาจมีขนาดใหญ่ หรือมีความซับซ้ อนเกินไป ถ้ าใช้ ของ
    จาลองอาจทาให้ เข้ าใจง่ายกว่า ประสบการณ์น้ ี ได้ แก่ ของตัวอย่าง หุ่นจาลอง เป็ นต้ น
    3. ประสบการณ์นาฏการ (Dramatized Experiences) เป็ นการมีส่วนร่วมใน
    การแสดง ประสบการณ์ได้ จากการศึกษาเนื้อเรื่องที่จะแสดง การจัดฉาก การบอกบท
    การแต่งบทละคร ฯลฯ
    4. การสาธิต (Demonstrations) เป็ นการให้ ดูตัวอย่างประกอบการอธิบายการ
    สาธิตที่ดีต้องมีอปกรณ์ประกอบ ผู้สาธิตควรรู้จักการใช้ อปกรณ์น้นด้ วย เช่น การสาธิต
                      ุ                                       ุ      ั
    การทดลองทางวิทยาศาสตร์ การสาธิตท่ากายบริหารต่าง ๆ ฯลฯ
    5. การศึกษานอกสถานที่ (Study Trips) หมายถึง การพาผู้เรียนไปศึกษานอก
    สถานที่ เพื่อให้ ผ้ ูเรียนมีประสบการณ์และความรู้กว้ างขวางขึ้น เป็ นเครื่องมือที่ช่วยให้
    ผู้เรียนประสบกับบางสิ่งโดยตรง ซึ่งไม่สามารถจัดได้ ในห้ องเรียน
   6. นิทรรศการ (Exhibitions) หมายถึง การแสดงสิ่งของต่าง ๆ เพื่อให้ ความรู้แก่ผ้ ู
    ดูซ่งอาจรวมเอา หุ่นจาลอง การสาธิต แผนภูมิ ฯลฯ ไว้ เพื่อให้ ผ้ ูดูรับประสบการณ์ต่าง
         ึ
    ๆ จากสิ่งเหล่านั้น
    7. โทรทัศน์การศึกษา (Education Television) รายการโทรทัศน์จะทาให้ ผ้ ูเรียน
    ได้ เห็นภาพและได้ ยนเสียงเหตุการณ์และความเป็ นไปต่าง ๆ ในขณะเดียวกับที่มีการ
                        ิ
    ถ่ายทอดเหตุการณ์น้น ๆ อยู่
                          ั
    8.ภาพยนตร์ (motionPicture)เป็ นการจาลองเหตุการณ์มาให้ ผ้ ูเรียนได้ ดูได้ ฟัง
    ใกล้ เคียงกับความเป็ นจริงแม้ จะไม่ใช่เวลาเดียวกันกับเหตุการณ์จริงสามารถใช้ ได้ ดีใน
    การประกอบ
    การสาธิต เพราะเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูดูได้ เห็นเหตุการณ์อย่างใกล้ ชิด
     9. ภาพนิ่ง (Recordings. Radio. And Still Pictures) ได้ แก่ ภาพถ่าย
    ภาพวาด แผ่นโปร่งใส สไลด์ การบันทึกเสียงต่างๆ และวิทยุสามารถใช้ กบการเรียน
                                                                           ั
    เป็ นกลุ่มหรือรายบุคคลภาพสามารถจาลองความเป็ นจริงมาให้ เราได้ ศึกษาส่วนวิทยุ
    และการบันทึกเสียงให้ ความรู้แก่ผ้ ูฟังโดยไม่ต้องอ่าน
    10.ทัศนสัญลักษณ์ (Visul Symbols) ได้ แก่ แผนภาพ แผนภูมิ แผนสถิติ ภาพ
    โฆษณา การ์ตูน ซึ่งมีลักษณะเป็ นสัญลักษณ์สาหรับการถ่ายทอดความหมาย นามาใช้
    แทนความหมายที่เป็ นข้ อเท็จจริง
   11.วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbols) ได้ แก่ คาพูด ตัวหนังสือ ตัวอักษรผู้ท่จะ
                                                                           ี
    เข้ าใจสัญลักษณ์น้ ได้ ต้องอาศัย ประสบการณ์เดิมเป็ นพื้นฐานมากพอสมควร
                       ี
หลักการใช้สอการสอน
           ื่

   การใช้ ส่อการสอนนับว่ามีความสาคัญต่อการเรียนการสอนอย่างยิ่งทั้งนี้เพราะถ้ าใช้ ส่อ
             ื                                                                          ื
    การสอนไม่ถูกต้ องย่อมจะได้ ผลน้ อยหรือมีค่าเท่ากับไม่ได้ ใช้ เลยหากเป็ นดังนี้ย่อมไม่
    คุ้มค่ากับการลงทุน ฉะนั้นการใช้ ส่อการสอนแต่ละครั้งจึงควรพิจารณาให้ ถ่ถ้วน และ
                                      ื                                       ี
    วางแผนการใช้ อย่างรอบครอบการใช้ ส่อการสอนในห้ องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพนั้น
                                         ื
    ควรปฏิบัติตามหลักการดังนี้ คือ
    1. หลักการเลือก ( Selection)
    2. หลักการเตรียม ( Preparation)
    3. หลักการนาเสนอ ( Presentation )
    4. หลักการประเมินผล ( Evaluation )
    มีนักวิชาการและนักเทคโนโลยีการศึกษา ทั้ง ต่างประเทศและในประเทศ ได้ ให้
    หลักการปฏิบัติในแต่ละขั้นตอนดังต่อไปนี้
หลักการเลือก (SELECTION)

   โนเอล และลีโอนาร์ด (Noel and Leonard. 1962 :26-28 ) ให้ หลักการเลือกสื่อการ
    สอนไว้ ดังนี้
    1. มีความเหมาะสมกับระดับสติปัญญาของผู้เรียน
    2. เหมาะสมกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
    3. เหมาะสมกับความต้ องการและความสนใจของผู้เรียน
    4. เหมาะสมกับเรื่องที่สอน
    5. มีลักษณะที่น่าสนใจ
    6. ตรงกับจุดประสงค์ในการสอน
    7. ไม่เสียเวลาในการใช้ มากเกินไป
    8. เป็ นแบบง่าย ๆ และไม่ซับซ้ อนจนเกินไป
    9. ช่วยให้ ผ้ ูเรียนเข้ าใจเนื้อหาได้ ดข้ น
                                           ีึ
    10. ช่วยให้ การเสริมสร้ างเจตคติท่ดแก่ผ้ ูเรียน
                                            ี ี
    11. ช่วยเพิ่มทักษะให้ แก่ผ้ ูเรียน
    12. ให้ ผลดีต่อการเรียนการสอนมากที่สด       ุ
    13. ราคาไม่แพงจนเกินไป

Contenu connexe

Tendances

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Anny Hotelier
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
aumkpru45
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
poonick
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
josodaza
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sujitra ComEdu
 

Tendances (17)

บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 

En vedette

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
aumkpru45
 
产品设计与用户体验(马化腾)
产品设计与用户体验(马化腾)产品设计与用户体验(马化腾)
产品设计与用户体验(马化腾)
jiangwb
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
aumkpru45
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
aumkpru45
 
20141123 주일예배, 마26장17 30절, 언약의 피 - 2부
20141123 주일예배, 마26장17 30절, 언약의 피 - 2부20141123 주일예배, 마26장17 30절, 언약의 피 - 2부
20141123 주일예배, 마26장17 30절, 언약의 피 - 2부
Sungsik Nam
 
20150125 주일예배, 호4장01절-5장04절, 하나님을 아는 지식
20150125 주일예배, 호4장01절-5장04절, 하나님을 아는 지식20150125 주일예배, 호4장01절-5장04절, 하나님을 아는 지식
20150125 주일예배, 호4장01절-5장04절, 하나님을 아는 지식
Sungsik Nam
 
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대 - 2부
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대 - 2부20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대 - 2부
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대 - 2부
Sungsik Nam
 
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대
Sungsik Nam
 
Vapor Limits HPOct06
Vapor Limits HPOct06Vapor Limits HPOct06
Vapor Limits HPOct06
Pierre Latour
 

En vedette (14)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Kpp01
Kpp01Kpp01
Kpp01
 
产品设计与用户体验(马化腾)
产品设计与用户体验(马化腾)产品设计与用户体验(马化腾)
产品设计与用户体验(马化腾)
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
20141123 주일예배, 마26장17 30절, 언약의 피 - 2부
20141123 주일예배, 마26장17 30절, 언약의 피 - 2부20141123 주일예배, 마26장17 30절, 언약의 피 - 2부
20141123 주일예배, 마26장17 30절, 언약의 피 - 2부
 
20150125 주일예배, 호4장01절-5장04절, 하나님을 아는 지식
20150125 주일예배, 호4장01절-5장04절, 하나님을 아는 지식20150125 주일예배, 호4장01절-5장04절, 하나님을 아는 지식
20150125 주일예배, 호4장01절-5장04절, 하나님을 아는 지식
 
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대 - 2부
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대 - 2부20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대 - 2부
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대 - 2부
 
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대
20141116 주일예배, 시008장01 09절, 사람이 무엇이관대
 
Aztex's sura.vol.4.pic.doc
Aztex's sura.vol.4.pic.docAztex's sura.vol.4.pic.doc
Aztex's sura.vol.4.pic.doc
 
Birmingham and Solihull Jazz and Blues Festival Programme
Birmingham and Solihull Jazz and Blues Festival Programme Birmingham and Solihull Jazz and Blues Festival Programme
Birmingham and Solihull Jazz and Blues Festival Programme
 
Vapor Limits HPOct06
Vapor Limits HPOct06Vapor Limits HPOct06
Vapor Limits HPOct06
 
Obesidade Infantil
Obesidade InfantilObesidade Infantil
Obesidade Infantil
 
MogasSulfurHPNov02
MogasSulfurHPNov02MogasSulfurHPNov02
MogasSulfurHPNov02
 

Similaire à สื่อและแหล่งการเรียนรู้

สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
poms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sujitra ComEdu
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
pajyeeb
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
pajyeeb
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
jujudy
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
jujudy
 
บทที่7ล่าสุด
บทที่7ล่าสุดบทที่7ล่าสุด
บทที่7ล่าสุด
jujudy
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
jujudy
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7new
jujudy
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
BB_FF
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
BB_FF
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
BB_FF
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
BB_FF
 
บทที่71
บทที่71บทที่71
บทที่71
puyss
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
puyss
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
puyss
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
puyss
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
puyss
 

Similaire à สื่อและแหล่งการเรียนรู้ (20)

สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7ล่าสุด
บทที่7ล่าสุดบทที่7ล่าสุด
บทที่7ล่าสุด
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7new
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่71
บทที่71บทที่71
บทที่71
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

  • 2. สือการเรียนรู้ ่  สื่อการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธการ ซึ่งอาจจาแนกเป็ น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ ี บุคคล สื่อวัสดุ สื่ออุปกรณ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม สื่อ กิจกรรมหรือกระบวนการ แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้ อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ท่สนับสนุนส่งเสริมให้ ผ้ ูเรียนใฝ่ เรียนใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ ี ด้ วยตนเองอย่างกว้ างขวางและต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้ างให้ ผ้ ูเรียนเกิดกระบวนการ เรียนรู้และเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้
  • 3. สือและแหล่งการเรียนรู้ ่  สื่อและแหล่งการเรียนรู้ คือ สิ่งที่ใช้ เป็ นสื่อกลางให้ ผ้ ูสอนสามารถถ่ายทอด ความรู้ เจต คติและทักษะไปยังผู้เรียน สามารถมองเห็นเป็ นรูปธรรมได้ ทาให้ ผ้ ูเรียนได้ เรียนรู้อย่าง มีประสิทธิภาพ หรือทาให้ บทเรียนง่ายขึ้น และในการจัดทาสื่อขึ้นใช้ ต้องคานึงถึง คุณสมบัติของสื่อที่ดี คือ น่าสนใจ ประหยัดช่วยให้ เกิดการเรียนรู้ได้ เร็วและถูกต้ อง การเขียนสื่อและแหล่งการเรียนรู้ให้ เขียนเรียงตามลาดับกิจกรรมการเรียนรู้ท่กาหนดี สื่อการเรียนรู้ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธการ ซึ่งอาจจาแนกเป็ น สื่อสิ่งพิมพ์ส่อ ี ื บุคคล สื่อวัสดุ สื่ออุปกรณ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม สื่อ กิจกรรมหรือกระบวนการ แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้ อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ท่สนับสนุนส่งเสริมให้ ผ้ ูเรียนใฝ่ เรียนใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ ี ด้ วยตนเองอย่างกว้ างขวางและต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้ างให้ ผ้ ูเรียนเกิดกระบวนการ เรียนรู้และเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้
  • 4. สือการสอน ่  สื่อการสอน หมายถึง ตัวกลางที่ถ่ายถอดสารสนเทศไปสู่ผ้ ูเรียน ไม่ว่าจะเป็ นวัสดุ เครื่องมือและเทคนิควิธการที่ผ้ ูสอนนามาประกอบการเรียนการสอน เพื่อผู้เรียนเกิด ี การเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสื่อการเรียนรู้ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียน ที่ช่วยให้ ผ้ ูเรียนเกิดการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้ นส่งเสริมการค้ นคว้ าหรือการแสวงหาความรู้ ด้ วยตนเอง ช่วยให้ ผ้ ูเรียนสามารถเรียนรู้ได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตสื่อการสอนและสื่อ การเรียนรู้ มีความเหมือนกันคือ เป็ นเครื่องมือที่ใช้ ถ่ายทอดความรู้ ความเข้ าใจ ที่ช่วย ให้ ผ้ ูเรียนเกิดการเรียนรู้ส่อการสอนและสื่อการเรียนรู้ มีความแตกต่างกันคือ สื่อการ ื สอน ยังเป็ นเพียงตัวกลางที่ใช้ ในการถ่ายทอดเนื้อหาและความรู้เท่านั้น และผู้สอนเป็ น ผู้นามาหรือจัดเตรียมเพื่อประกอบการเรียนการสอน แต่ส่อการเรียน เป็ นเครื่องมือที่ ื ใช้ ถ่ายทอดความรู้ ความเข้ าใจ เพิ่มพูนทักษะ ผู้เรียนสามารถค้ นคว้ าและแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง และสามารถเรียนรู้ได้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตได้
  • 5. การเรียนการสอนในยุคปัจจุบันไม่สามารถจะจากัดอยู่แต่เพียงในห้ องเรียนเท่านั้นอีก ต่อไปแล้ วพฤติกรรมทางการเรียนรู้และการจัดสถานการณ์เพื่อให้ เกิดกระบวนการ ทางการเรียนรู้อาจจัดขึ้น ณ ที่ใดๆก็ได้ ข้ นอยู่กบสถานการณ์และโอกาสเครื่องมืออย่าง ึ ั สาคัญที่จะช่วยให้ การจัดสถานการณ์ทางการเรียนรู้มประสิทธิผลที่จาเป็ นได้ แก่ส่อการ ี ื สอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา หากขาดสิ่งดังกล่าวนี้แล้ ว การจัดสถานการณ์เพื่อให้ เกิดการเรียนรู้ ย่อมจะขีดวงจากัดเข้ ามาเป็ นอย่างมาก สื่อการสอนและเทคโนโลยี ทางการศึกษานั้น สามารถสร้ างสถานการณ์เพื่อให้ เกิดการเรียนรู้ได้ เป็ นอันมาก อาจ กล่าวได้ ว่า โดยปกติจากขอบเขตจากัด ทั้งเวลาและสถานที่ ถ้ าหากว่ามีอปกรณ์และ ุ เครื่องมือพร้ อม ก็จะช่วยขจัดข้ อจากัดดังกล่าวได้
  • 6. สือการสอน ่  นักวิชาการ และนักเทคโนโลยีการศึกษา ทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ ให้ ความหมายของ สื่อการสอน ไว้ หลายท่าน พอสรุปได้ ดังนี้  เชอร์ส (Shores. 1960 : 1) กล่าวว่า สื่อการสอนเป็ นเครื่องมือช่วยสื่อความหมายใด ๆ ก็ ตามที่จัดโดยครูและนักเรียน เพื่อเสริมการเรียนรู้ เครื่องมือการสอนทุกชนิดเป็ นสื่อการสอน เช่น หนังสือในห้ องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ ทรัพยากรจากชุมชน เป็ นต้ น  ฮาส และแพคเกอร์ (Hass and PacKer. 1964 : 11) กล่าวว่า สื่อการสอน คือ เครื่องมือที่ช่วยในการถ่ายทอดสิ่งต่าง ๆ ที่เป็ นจริงได้ แก่ ทักษะ ทัศนะคติ ความรู้ ความเข้ าใจ และความซาบซึ้งไปยังผู้เรียน หรือเป็ นเครื่องมือประกอบการสอน ที่เราสามารถได้ ยนและ ิ มองเห็นได้ เท่า ๆ กัน  บราวน์ และคนอื่น ๆ (Brown and other. 1964 : 584) กล่าวว่า สื่อการสอนหมายถึง จาพวกอุปกรณ์ท้งหลายที่สามารถเสนอความรู้ให้ แก่ผ้ ูเรียน จนเกิดผลการเรียนที่ดท้งนี้รวมถึง ั ี ั กิจกรรมต่าง ๆ ไม่เฉพาะที่เป็ นวัสดุหรือเครื่องมือเท่านั้น เช่น การศึกษานอกสถานที่ การสาธิต การทดลอง ตลอดจนการสัมภาษณ์ เป็ นต้ น
  • 7. เกอร์ลัช และอีลี (ไชยยศ เรืองสุวรรณ. 2526 :141 : อ้ างอิงมาจาก Gerlach and Ely.) ได้ ให้ คาจากัดความของสื่อการสอนไว้ ว่า สื่อการสอน คือ บุคคล วัสดุหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งทาให้ นักเรียนได้ รับความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ครู หนังสือ และ สิ่งแวดล้ อมของโรงเรียนจัดเป็ นสื่อการสอนทั้งสิ้น  ไฮนิคส์ โมเลนดาและรัสเซล (Heinich, Molenda and Russel. 1985 : 5) ให้ ทศนะเกี่ยวกับสื่อการสอนไว้ ว่า สื่อการสอน หมายถึง สื่อชนิดใดก็ตามไม่ว่าจะเป็ น ั สไลด์โทรทัศน์วิทยุเทปบันทึกเสียงภาพถ่ายวัสดุฉายและวัตถุส่งตีพิมพ์ซ่งเป็ นพาหนะ ิ ึ ในการนาข้ อมูลจากแหล่งข้ อมูลไปยังผู้รับ เมื่อนามาใช้ กบการเรียนการสอน หรือส่ง ั เนื้อหาความรู้ไปยังผู้เรียนในกระบวนการเรียนการสอน เรียกว่า สื่อการสอน  เปรื่อง กุมุท (2519 : 1) กล่าวว่า สื่อการสอน หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่เป็ นเครื่องมือ หรือช่องทางสาหรับทาให้ การสอนของครูถงผู้เรียน และทาให้ ผ้ ูเรียนเรียนรู้ตาม ึ วัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้ อย่างดี
  • 8. วาสนา ชาวหา(2522:59) กล่าวว่าสื่อการสอนหมายถึงสิ่งใดๆก็ตามที่เป็ นตัวกลางนา ความรู้ไปสู่ผ้ ูเรียนและทาให้ การเรียนการสอนเป็ นไป ตามวัตถุประสงค์ท่วางไว้ ี  ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2526 : 4) กล่าวว่า สื่อการสอน หมายถึง สิ่งที่ช่วยให้ การเรียนรู้ ซึ่งครูและนักเรียนเป็ นผู้ใช้ เพื่อให้ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  ชม ภูมิภาค (2526 : 5) กล่าวว่า สื่อการสอนนั้นเป็ นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีการสอน เป็ นพาหนะที่จะนาสารหรือความรู้ไปยังผู้เรียน เพื่อให้ ผ้ ูเรียนเกิดการเรียนรู้
  • 9. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2529 : 112) ให้ ความหมายของสื่อการสอนว่า คือวัสดุ (สิ้นเปลือง) อุปกรณ์ (เครื่องมือที่ใช้ ไม่ผุพังง่าย) วิธการ (กิจกรรม เกม การทดลอง ี ฯลฯ) ที่ใช้ ส่อกลางให้ ผ้ ูสอนสามารถส่ง หรือถ่ายทอดความรู้ เจตคติ (อารมณ์ ื ความรู้สก ความสนใจ ทัศนคติ และค่านิยม) และทักษะไปยังผู้เรียน ได้ อย่างมี ึ ประสิทธิภาพ  พิมพ์พรรณ เทพสุมาธานนท์ (2531 : 29) กล่าวว่าสื่อการสอนหมายถึงสิ่งต่างๆที่ใช้ เป็ นเครื่องมือหรือช่องทางสาหรับให้ การสอนของครูกบผู้เรียน และทาให้ ผ้ ูเรียนเรียนรู้ ั ได้ ตามวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่ผ้ ูสอนวางไว้ เป็ นอย่างดี  สรุปได้ ว่า สื่อการสอน หมายถึงวัสดุ เครื่องมือและเทคนิควิธการที่ผ้ ูสอนนามาใช้ ี ประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้ ผ้ ูเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 10. ประเภทของสือการสอน ่  สื่อการสอนนั้นมีมากมายและได้ พัฒนาให้ เกิดขึ้นใหม่อยู่เสมอตามความเจริญก้ าวหน้ า ทางด้ านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักเทคโนโลยีการศึกษา ได้ กาหนดและแบ่ง ประเภทของสื่อการสอนไว้ หลายท่านดังนี้  Dale (1969 : 107 -128) ได้ แบ่งสื่อการสอนออกเป็ น 11 ประเภทโดยพิจารณา จากลักษณะของประสบการณ์ท่ได้ รับจากสื่อการสอน โดยยึดความเป็ นรูปธรรมและ ี นามธรรม(ConcreteandAbstract)เป็ นหลักในการแบ่งประเภทและได้ แบ่ง ประเภทสื่อการสอนในรูปกรวยประสบการณ์ (The Cone of experience) โดย ให้ ส่อที่มีความเป็ นรูปธรรมมากที่สดไปไว้ ท่ฐานกรวยและสื่อที่เป็ นนามธรรมน้ อยที่สด ื ุ ี ุ ไปไว้ ท่ยอดกรวย ดังนี้ ี
  • 11. 1. ประสบการณ์ตรงที่มความหมาย ( Direct and Purposeful Experiences ี ) เป็ นประสบการณ์ท่ผ้ ูเรียนได้ รับจากความเป็ นจริง ผู้รับประสบการณ์ได้ รับโดยการ ี ผ่านทางประสาทสัมผัสของจริงในชีวิต และประสบการณ์เหล่านั้นมีความหมายต่อผู้ ได้ รับประสบการณ์ 2. ประสบการณ์จาลอง ( Contrived Experiences ) เป็ นประสบการณ์ท่จาลอง ี แบบจากของจริง เพราะของจริงอาจมีขนาดใหญ่ หรือมีความซับซ้ อนเกินไป ถ้ าใช้ ของ จาลองอาจทาให้ เข้ าใจง่ายกว่า ประสบการณ์น้ ี ได้ แก่ ของตัวอย่าง หุ่นจาลอง เป็ นต้ น 3. ประสบการณ์นาฏการ (Dramatized Experiences) เป็ นการมีส่วนร่วมใน การแสดง ประสบการณ์ได้ จากการศึกษาเนื้อเรื่องที่จะแสดง การจัดฉาก การบอกบท การแต่งบทละคร ฯลฯ 4. การสาธิต (Demonstrations) เป็ นการให้ ดูตัวอย่างประกอบการอธิบายการ สาธิตที่ดีต้องมีอปกรณ์ประกอบ ผู้สาธิตควรรู้จักการใช้ อปกรณ์น้นด้ วย เช่น การสาธิต ุ ุ ั การทดลองทางวิทยาศาสตร์ การสาธิตท่ากายบริหารต่าง ๆ ฯลฯ 5. การศึกษานอกสถานที่ (Study Trips) หมายถึง การพาผู้เรียนไปศึกษานอก สถานที่ เพื่อให้ ผ้ ูเรียนมีประสบการณ์และความรู้กว้ างขวางขึ้น เป็ นเครื่องมือที่ช่วยให้ ผู้เรียนประสบกับบางสิ่งโดยตรง ซึ่งไม่สามารถจัดได้ ในห้ องเรียน
  • 12. 6. นิทรรศการ (Exhibitions) หมายถึง การแสดงสิ่งของต่าง ๆ เพื่อให้ ความรู้แก่ผ้ ู ดูซ่งอาจรวมเอา หุ่นจาลอง การสาธิต แผนภูมิ ฯลฯ ไว้ เพื่อให้ ผ้ ูดูรับประสบการณ์ต่าง ึ ๆ จากสิ่งเหล่านั้น 7. โทรทัศน์การศึกษา (Education Television) รายการโทรทัศน์จะทาให้ ผ้ ูเรียน ได้ เห็นภาพและได้ ยนเสียงเหตุการณ์และความเป็ นไปต่าง ๆ ในขณะเดียวกับที่มีการ ิ ถ่ายทอดเหตุการณ์น้น ๆ อยู่ ั 8.ภาพยนตร์ (motionPicture)เป็ นการจาลองเหตุการณ์มาให้ ผ้ ูเรียนได้ ดูได้ ฟัง ใกล้ เคียงกับความเป็ นจริงแม้ จะไม่ใช่เวลาเดียวกันกับเหตุการณ์จริงสามารถใช้ ได้ ดีใน การประกอบ การสาธิต เพราะเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูดูได้ เห็นเหตุการณ์อย่างใกล้ ชิด 9. ภาพนิ่ง (Recordings. Radio. And Still Pictures) ได้ แก่ ภาพถ่าย ภาพวาด แผ่นโปร่งใส สไลด์ การบันทึกเสียงต่างๆ และวิทยุสามารถใช้ กบการเรียน ั เป็ นกลุ่มหรือรายบุคคลภาพสามารถจาลองความเป็ นจริงมาให้ เราได้ ศึกษาส่วนวิทยุ และการบันทึกเสียงให้ ความรู้แก่ผ้ ูฟังโดยไม่ต้องอ่าน 10.ทัศนสัญลักษณ์ (Visul Symbols) ได้ แก่ แผนภาพ แผนภูมิ แผนสถิติ ภาพ โฆษณา การ์ตูน ซึ่งมีลักษณะเป็ นสัญลักษณ์สาหรับการถ่ายทอดความหมาย นามาใช้ แทนความหมายที่เป็ นข้ อเท็จจริง
  • 13. 11.วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbols) ได้ แก่ คาพูด ตัวหนังสือ ตัวอักษรผู้ท่จะ ี เข้ าใจสัญลักษณ์น้ ได้ ต้องอาศัย ประสบการณ์เดิมเป็ นพื้นฐานมากพอสมควร ี
  • 14. หลักการใช้สอการสอน ื่  การใช้ ส่อการสอนนับว่ามีความสาคัญต่อการเรียนการสอนอย่างยิ่งทั้งนี้เพราะถ้ าใช้ ส่อ ื ื การสอนไม่ถูกต้ องย่อมจะได้ ผลน้ อยหรือมีค่าเท่ากับไม่ได้ ใช้ เลยหากเป็ นดังนี้ย่อมไม่ คุ้มค่ากับการลงทุน ฉะนั้นการใช้ ส่อการสอนแต่ละครั้งจึงควรพิจารณาให้ ถ่ถ้วน และ ื ี วางแผนการใช้ อย่างรอบครอบการใช้ ส่อการสอนในห้ องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ื ควรปฏิบัติตามหลักการดังนี้ คือ 1. หลักการเลือก ( Selection) 2. หลักการเตรียม ( Preparation) 3. หลักการนาเสนอ ( Presentation ) 4. หลักการประเมินผล ( Evaluation ) มีนักวิชาการและนักเทคโนโลยีการศึกษา ทั้ง ต่างประเทศและในประเทศ ได้ ให้ หลักการปฏิบัติในแต่ละขั้นตอนดังต่อไปนี้
  • 15. หลักการเลือก (SELECTION)  โนเอล และลีโอนาร์ด (Noel and Leonard. 1962 :26-28 ) ให้ หลักการเลือกสื่อการ สอนไว้ ดังนี้ 1. มีความเหมาะสมกับระดับสติปัญญาของผู้เรียน 2. เหมาะสมกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน 3. เหมาะสมกับความต้ องการและความสนใจของผู้เรียน 4. เหมาะสมกับเรื่องที่สอน 5. มีลักษณะที่น่าสนใจ 6. ตรงกับจุดประสงค์ในการสอน 7. ไม่เสียเวลาในการใช้ มากเกินไป 8. เป็ นแบบง่าย ๆ และไม่ซับซ้ อนจนเกินไป 9. ช่วยให้ ผ้ ูเรียนเข้ าใจเนื้อหาได้ ดข้ น ีึ 10. ช่วยให้ การเสริมสร้ างเจตคติท่ดแก่ผ้ ูเรียน ี ี 11. ช่วยเพิ่มทักษะให้ แก่ผ้ ูเรียน 12. ให้ ผลดีต่อการเรียนการสอนมากที่สด ุ 13. ราคาไม่แพงจนเกินไป