SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
Télécharger pour lire hors ligne
ตัวอย่าง
โครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
1. โครงงานประเภทการสารวจ ได้แก่
- การศึกษาการเจริญเติบโตของลูกอ๊อด
- การศึกษาการเจริญเติบโตของผีเสื้อ
- การศึกษาการกินอาหารของนกแก้ว
- การศึกษาลักษณะพืชอาหารของแมลงแคง
- การศึกษาพฤติกรรมระหว่างมดกับหนอนชอนเปลือกต้นลองกอง
- การศึกษาวัสดุที่ใช้ล่อและไล่แมลงวันทอง
- ศึกษาความสว่างของแสงภายในห้องเรียนของโรงเรียนปัญญาวรคุณ
- การสารวจความหลากหลายของแมลงกลางคืนในท้องที่ อาเภอสีคิ้ว
จังหวัดนครราชสีมา
- การสารวจหอยโข่งที่มีพยาธิแองจิโอสตรองไจรัสบริเวณแหล่งน้า
ชุมชน อ.เมือง จ.มหาสารคาม
- การสารวจสัตว์ในท้องถิ่น
- การสารวจพืชสมุนไพรในท้องถิ่น
2. โครงงานประเภทการทดลอง ได้แก่
- การเปลี่ยนเพศปลาหางนกยูงโดยใช้ไรแดง
- การใช้เม็ดโฟมป้องกันหนอนผีเสื้อกินใบส้ม
- การใช้สารสกัดจากใบมันสาปะหลังเพื่อป้องกันและกาจัดศัตรูพืช
- ถุงเพาะชาจากน้าตะโก
- ขิงชะลอการบูด
- การทากระดาษจากกาบกล้วย
- เซลล์ไฟฟ้าพลังดิน
- การลดปริมาณคาร์บอนมอนนอกไชด์
- การเจริญเติบโตของพืชโดยใช้แสงไฟนีออน
- การศึกษาอุณหภูมิของน้าที่ได้รับแสงสีต่าง ๆ
- การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นบานชื่นเมื่อใช้
สารละลายแบบต่าง ๆ
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเปลือกไข่ชะลอการสุกของผลไม้
- Wallpaper จากเศษวัสดุธรรมชาติช่วยลดความร้อนภายในบ้าน
3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ได้แก่
- เตาอบพลังงานแสงอาทิตย์
- เครื่องกันขโมย
- แนวคิดในการจัดระบบจราจรบริเวณทางแยก
- เครื่องหยอดปุ๋ยเพื่อสุขภาพ
- การประดิษฐ์เครื่องห่อผลไม้
- การสร้างหรือพัฒนาระเบียบวิธีจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์หรือผลิตผล
- เครื่องกลั่นน้าพลังแสงอาทิตย์
- การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
- การประดิษฐ์เครื่องสูบน้าพลังลม
- เทคนิคการถนอมอาหารจากพื้นบ้าน
- เทคนิคการปลูกพืชสมุนไพร
- เทคนิคการย้อมสีผ้าโดยใช้ภูมิปัญญาไทย
4. โครงงานทฤษฎี
เนื่องจากโครงงานประเภทนี้ผู้ทาโครงงานจะต้อง มีพื้นฐานความรู้
ทางวิทยาศาสตร์เป็นอย่างดีและต้องทาการศึกษาค้นคว้าเรื่องราวที่เกี่ยวข้อง
เป็นอย่างมากจนมีความรู้อย่างกว้างขวาง และลึกซึ้งในเรื่องที่เกี่ยวข้องดังนั้น
จึงยังไม่เคยมีผู้ทาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ประเภทนี้ส่งเข้าประกวดกับสมาคมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ศึกษาไทย ตัวอย่างโครงงานต่อไปนี้จึงมิได้ เป็นโครงงานที่นักเรียนเป็นผู้ทา
ไว้ได้แก่
- การกาเนิดของทวีปและมหาสมุทรซึ่งเป็นการสร้างแบบจาลอง
ทางทฤษฎี อธิบายการเกิดของทวีปและมหาสมุทร
- การศึกษาค้นคว้าตารายาแผนโบราณ
- การกาเนิดของแผ่นดินไหวในประเทศไทย
- การอธิบายเรื่องราวการดารงชีวิตในอวกาศของมนุษย์
- ทฤษฎีสัมพันธภาพ ( ฯลฯ
ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา
หัวข้อโครงงาน การสารวจพืชผักผลไม้ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร
ผู้จัดทา พัชรพร พัฒนาภารตี, กฤษณ์ ทิพย์คีรี,
ศิริวัฒน์ คงเพชรพันธ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์วัชรี มุขประเสริฐ, อาจารย์มาฆะ
ทิพย์คีรี, อาจารย์วิมลศรี สุวรรณรัตน์
โรงเรียน โรงเรียนสหศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร
ปีการศึกษา 2542
บทคัดย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “การสารวจพืชผักผลไม้ท้องถิ่น ในจังหวัด
ชุมพร” จัดทาขึ้นเนื่องจากจังหวัดชุมพรที่สมาชิกในกลุ่มอาศัยอยู่ มีผืนดินอุดม
สมบูรณ์ ฝนตกชุกตลอดปี พืชพันธุ์มีมากมาย ซึ่งอาจจะมีเหมือนกันหรือ
แตกต่างกันกับท้องถิ่นอื่น และอาจจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงในปีต่อๆ ไปก็ได้
ดังนั้นเพื่อต้องการสารวจและรวบรวมพืชผักผลไม้ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร
มาศึกษาข้อมูลของพืชชนิดนั้นๆ จึงทาการสารวจซึ่งมีวิธีดาเนินการดังนี้คือ
กาหนดพื้นที่แบ่งเขตการสารวจบริเวณจังหวัดชุมพร รวบรวมข้อมูลจากการ
สังเกตด้วยตนเอง จากการสัมภาษณ์ ซักถามชาวบ้านและศึกษาจากหนังสือ
ประกอบการสารวจ นาข้อมูลที่ได้มาจาแนกประเภท บันทึกภาพ บันทึก
รายละเอียดเกี่ยวกับพืชชนิดนั้นๆ ผลการดาเนินการพบว่า มีพืชผักผลไม้
ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร ที่สามารถรวบรวมได้จานวน 339 ชนิด จาแนก
การใช้ประโยชน์ได้เป็น 5 ประเภท คือ พืชเศรษฐกิจ 33 ชนิด ผัก 58 ชนิด
ผลไม้ 52 ชนิด ไม้ดอกไม้ประดับ 176 ชนิด และสมุนไพร 214 ชนิด ทาให้ได้
ทราบชนิดของพืชในท้องถิ่นแพร่หลาย ให้คนทั่วไปได้รู้จัก และให้ได้รับการ
ปรับปรุงพัฒนาพันธุ์พืชต่อไป
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “การสารวจพืชผักผลไม้ท้องถิ่น ในจังหวัด
ชุมพร” คณะผู้จัดทาขอขอบคุณอาจารย์วัชรี มุขประเสริฐ อาจารย์มาฆะ
ทิพย์คีรีและอาจารย์วิมลศรี สุวรรณรัตน์ อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้คาปรึกษา
แนะนา ขอขอบคุณอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสหศึกษา และผู้ปกครองของสมาชิก
กลุ่มทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือสนับสนุน ตลอดทั้งชาวบ้านในท้องถิ่นและ
ผู้รู้หลายท่านที่คณะผู้จัดทาได้สัมภาษณ์ ซักถาม จนกระทั่งงานสาเร็จด้วยดี
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณทุกท่านที่กล่าวไว้ ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
บทคัดย่อ.................................................................................................
กิตติกรรมประกาศ..................................................................................
สารบัญภาพประกอบ..............................................................................
บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน..............................................
จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า................................................
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า.................................................
นิยามเชิงปฏิบัติการ.....................................................................
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า.....................................................
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.........................................................
บทที่ 2 เอกสาร.......................................................................................
สภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดชุมพร........................................
ลักษณะภูมิประเทศ.....................................................................
ลักษณะพื้นที่...............................................................................
ลักษณะภูมิอากาศ.......................................................................
ทรัพยากรธรรมชาติ.....................................................................
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา.................................................
อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา............................................................
วิธีดาเนินการศึกษา.....................................................................
บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา......................................
บาทที่ 5 สรุปผลการศึกษา......................................................................
สรุปผลการศึกษา........................................................................
ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน.......................................................
ข้อเสนอแนะ...............................................................................
สารบัญภาพประกอบ
@ การเก็บข้อมูลจากชาวบ้าน
@ การเดินทางสารวจรวบรวมข้อมูล
@ การเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ในจังหวัดชุมพร
@ การบันทึกภาพเก็บข้อมูล
@ การจาแนกข้อมูล
@ ตัวอย่างพืชในท้องถิ่น
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
จังหวัดชุมพร ตั้งอยู่ทางภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย บนแหลม
มลายู บริเวณคอคอดกระ มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก
กล่าวคือ ขนาบด้วยทะเลและภูเขาทาให้มีฝนตกชุกตลอด ทั้งปี พื้นดินจึงอุดม
สมบูรณ์มีพืชพันธุ์ต่างๆ ขึ้นอย่างมากมาย ประชากร จึงประกอบอาชีพ
ทางการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนั้นวัฒนธรรมการบริโภคอาหารของ
ชาวชุมพรเหมือนกับคนปักษ์ใต้ทั่วๆ ไปที่นิยมอาหารเผ็ดจัด จึงต้อง
รับประทานพืชผักหลายชนิดเพื่อลดความเผ็ด ของอาหาร ในบรรดาพืชผัก
ทั้งหลาย พบว่า มีพืชบางชนิดพบเฉพาะบริเวณจังหวัดชุมพรและจังหวัด
ระนอง คือ ต้นเหรียง และต้นพูม ซึ่งเมื่อไปที่อื่นจะไม่พบพืชชนิดนี้
เนื่องจากการที่พบว่า จังหวัดชุมพรมีพืชที่แตกต่างจากที่อื่น เราจึงควร
ศึกษา สารวจรวบรวม จะได้ทราบว่ามีพืชชนิดใดบ้างที่มี ในบริเวณจังหวัด
ชุมพร ซึ่งพืชบางชนิดที่สารวจได้อาจจะไม่พบ ในบริเวณอื่นก็ได้ อีกทั้งจะได้
ทราบชนิด ลักษณะต่างๆ ของพืชที่สารวจได้มากขึ้น ซึ่งบางชนิดชาวชุมพร
อาจจะไม่เคยได้ยินชื่อ หรือรู้จักมาก่อน
จากการทาการสารวจรวบรวม จะทาให้ได้ทราบชนิดของพืช
ในจังหวัดชุมพร ที่มีในปี พ.ศ.2542 ซึ่งไม่แน่ว่าต่อไปอีก 2–3 ปีข้างหน้า
อาจจะมีพืชชนิดใหม่เกิดขึ้นจากฝีมือของเกษตรกรในจังหวัด ก็ไก้ และพืชที่
สารวจได้บางชนิดที่ไม่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป จะทาให้พืชเหล่านั้นเป็นที่รู้จัก
กันอย่างแพร่หลายเพื่อผลที่ได้คือ การปรับปรุงพันธุ์ชนิดนั้น ให้สร้างรายได้
และเป็นที่ต้องการของท้องถิ่นอื่น เมื่อจังหวัดเราเป็นจังหวัดเกษตรกรรมแล้ว
เราก็ควรที่จะช่วยพัฒนาด้านเกษตรกรรม ให้เจริญรุดหน้า และเป็นที่ยอมรับ
ของจังหวัดอื่นๆ
จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “การสารวจพืชผักผลไม้
ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร จัดทาขึ้นเพื่อสารวจและรวบรวมพืช ผัก ผลไม้
ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพรบางชนิดเท่าที่จะสารวจได้ และเพื่อนาพืชผัก ผลไม้
ท้องถิ่นที่สารวจได้ มาศึกษาข้อมูลของพืชชนิดนั้นๆ
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
จังหวัดชุมพรมีพืช ผัก ผลไม้ท้องถิ่นมากมายหลายชนิด
และพืชชนิดต่างๆ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
นิยามเชิงปฏิบัติการ
1. พืชท้องถิ่นหมายถึง พืชที่ขึ้นมากในจังหวัดชุมพร
2. พืชเศรษฐกิจหมายถึง พืชที่ผลิตเพื่อการค้า เช่น มะพร้าว ปาล์ม
กาแฟ
3. ผัก หมายถึง พืชที่ใช้เป็นอาหาร เช่น มะเขือ พริก
4. ผลไม้ หมายถึง พืชที่นาผลมารับประทาน เช่น ส้ม เงาะ
5. สมุนไพร หมายถึง พืชที่นามาใช้ประโยชน์ในการเป็นยารักษาโรค
เช่น ต้นฟ้าทลายโจร
6. ไม้ดอกไม้ประดับ หมายถึง พืชที่ปลูกไว้เพื่อประดับตกแต่ง เช่น
กุหลาบ
7. ท้องถิ่น หมายถึง บริเวณพื้นที่จังหวัดชุมพร
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1. สถานที่ทาการสารวจ บริเวณจังหวัดชุมพร
2. ระยะเวลา วันที่ 1 มกราคม – 30 เมษายน 2542
3. พืชที่ศึกษา พืชที่ขึ้นในจังหวัดชุมพรและเป็นพืช ที่มีประโยชน์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ทราบข้อมูลของพืชท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร
2. เป็นประโยชน์ทางการศึกษาค้นคว้าของคณะผู้จัดทาและผู้ที่สนใจ
พืชท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร
3. พืชท้องถิ่นของจังหวัดชุมพรจะได้รับการส่งเสริม พัฒนา มากขึ้น
กว่าเดิม
4. ทาให้ทราบว่าหลังจากการสารวจมีพืชต่างถิ่นอะไรบ้าง
บทที่ 2
เอกสาร
สภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดชุมพร
จังหวัดชุมพรเป็นจังหวัดหนึ่งของภาคใต้ มีพื้นที่ 6,009,008 ตาราง
กิโลเมตร ตั้งอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ 463 กิโลเมตร โดยทางรถยนต์ มีอาณาเขต
ดังนี้ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัด
สุราษฎร์ธานี ทิศตะวันออกติดกับอ่าวไทยทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัด
ระนองและประเทศพม่า
ลักษณะภูมิประเทศ
ทางทิศตะวันตกมีลักษณะเป็นที่สูง ประกอบด้วยภูเขา และป่าไม้ ทาง
ทิศตะวันออกเป็นที่ราบ มีความอุดมสมบูรณ์มาก เหมาะ แก่การทาสวนผลไม้
เช่น มะพร้าว เงาะ ทุเรียน มังคุด กล้วย สับปะรด กาแฟ เป็นต้น จังหวัดชุมพร
มีป่าสงวน 26 แห่ง มีแม่น้าสายสั้นๆ ไหลผ่าน หลายสาย ที่สาคัญได้แก่ แม่
น้าท่าตะเภา แม่น้าสวี และแม่น้าหลังสวน
ลักษณะพื้นที่
จังหวัดชุมพรแบ่งสภาพพื้นที่ออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ๆ ดังนี้
1. เขตพื้นที่ราบชายฝั่งทะเล ประกอบด้วยพื้นที่หาดทราย และสันหาด
มีความยาวตลอดบริเวณชายฝั่งด้านตะวันออกของชายฝั่ง ตั้งแต่อาเภอปะทิวถึง
อาเภอละแม ลักษณะดินเป็นดินทราย มีที่ราบน้าทะเล ขึ้นถึงที่ราบชายฝั่ง
ทะเล เนื้อดินเป็นดินตะกอนพื้นที่บางส่วน เป็นป่าชายเลน
2. เขตที่ราบลอนลาด เป็นพื้นที่บริเวณตอนกลางของจังหวัด
ประกอบด้วยพื้นที่บริเวณริมฝั่งแม่น้าและที่ดอนที่อยู่ติดบริเวณที่ราบชายฝั่ง
ทะเล เนื้อดินส่วนใหญ่เป็นดินเนื้อหยาบ ดินปนทราย อาจพบลูกรังปน ใช้ใน
การปลูกยางพารา ไม้ผล ปาล์มน้ามัน และพืชไร่ได้ดี
3. เขตพื้นที่ลาดเชิงเขาและเทือกเขา เป็นบริเวณด้านตะวันตกของ
จังหวัด ประกอบด้วยเทือกเขาด้านตะวันตก มีสภาพเป็นลูกคลื่นลอนชัน
เป็นแนวยาวตลอดเหนือจดใต้ ดินมีการระบายน้าได้ดี ใช้ปลูกยางพารา ปาล์ม
น้ามัน กาแฟและพืชไร่ต่างๆ บริเวณทิวเขาในอาเภอ หลังสวน อาเภอพะโต๊ะ
มีแร่ดีบุกที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ พื้นที่ดังกล่าว เมื่อก่อนมีสภาพเป็นป่าดงดิบ
เป็นต้นกาเนิดแม่น้าลาธารของจังหวัด ปัจจุบันสภาพป่าได้ถูกทาลายลงมาก
มีผลกระทบต่อเกษตรกรรมทาให้เกิดสภาวะแห้งแล้งและความแปรปรวน
ของสภาพอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศ
เนื่องจากจังหวัดชุมพรตั้งอยู่บนคาบสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจากมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือและมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ทาให้ฝนตกชุกตลอดปี
ประกอบกับอยู่ใกล้ทะเลจึงได้รับไอน้าและความชื้นจากทะเลอย่างเต็มที่ ทาให้
อากาศไม่ร้อนมากในฤดูร้อน มีลมพายุหมุน เขตร้อนที่พัดผ่าน ส่วนมากเป็น
พายุดีเปรสชั่น แต่บางครั้งก็เป็นพายุโซนร้อนหรือไต้ฝุ่น ทาให้มีฝนตกหนัก
ลมกรรโชกแรงและเกิดสภาวะน้าท่วมฉับพลัน ทาอันตรายแก่ทรัพย์สิน
เรือกสวนไร่นา พายุที่เคยพัดผ่านเข้ามาครั้งร้ายแรงที่สุด คือ พายุไต้ฝุ่นเกย์
เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2532
ทรัพยากรธรรมชาติ
จังหวัดชุมพรมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่ง ทามา
หากินของประชากรในท้องถิ่น รายได้ส่วนใหญ่มาจาก การเกษตรกรรม
ทรัพยากรที่สาคัญของจังหวัดได้แก่
1. ทรัพยากรป่าไม่ มีป่าไม้ 2 ชนิดคือ ป่าดิบชื้น และป่าชายเลน
2. ทรัพยากรน้า แหล่งน้าที่สาคัญได้แก่ คลองท่าแซะ คลอง รับร่อ
แม่น้าชุมพร แม่น้าหลังสวน แม่น้าท่าตะเภา เป็นต้น
3. ทรัพยากรดิน ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนและดินเหนียว ปนทราย
เหมาะแก่การเกษตรกรรม แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
- ดินที่เหมาะแก่การทานา พบในเขตที่ราบของ อาเภอสวี อาเภอ
ทุ่งตะโก อาเภอหลังสวน และอาเภอละแม
- ดินที่เหมาะแก่การปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น เป็นดินที่มีการระบายน้าได้ดี
มีความอุดมสมบูรณ์ พบในพื้นที่มีความลาดชันเล็กน้อย ถึงลาดชันปานกลาง
เหมาะแก่การปลูกทุเรียน เงาะ มังคุด ยางพารา ปาล์มน้ามัน กาแฟ มะพร้าว
เป็นต้น ดินแบบนี้มีอยู่ทั่วไปตามที่ราบชายฝั่งทะเลในเขตอาเภอปะทิว อาเภอ
เมือง อาเภอหลังสวน
- ดินที่ไม่เหมาะสมแก่การเกษตรกรรม หากนาไปใช้ ในการ
เกษตรกรรมต้องลงทุนในการปรับปรุงพื้นที่ ต้องปล่อยให้เป็นพื้นที่ ป่าไม้
เป็นพื้นที่บริเวณทิศตะวันตกของจังหวัดตามแนวเทือกเขาตะนาวศรี
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา
อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา
1. กล้องถ่ายรูป
2. แว่นขยาย
3. หนังสือต่างๆ เกี่ยวกับพืช ผัก ผลไม้
4. สมุดจดบันทึกและปากกา
วิธีดาเนินการศึกษา
1. กาหนดพื้นที่การสารวจชื่อพืช ผัก ผลไม้ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร
โดยการแบ่งให้สมาชิกแต่ละคนสารวจในแต่ละขอบเขตของจังหวัดชุมพร
ครอบคลุมพื้นที่ 8 อาเภอ
2. สารวจข้อมูลจาก
2.1 สารวจ สังเกตด้วยตนเอง
2.2 สัมภาษณ์ซักถามคุณครู ผู้ปกครอง และชาวบ้าน
2.3 ศึกษาจากหนังสือเกี่ยวกับจังหวัดชุมพรประกอบการสารวจ
3. สร้างเครื่องมือสาหรับบันทึกข้อมูล โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อพืช
ผัก ผลไม้ท้องถิ่น ลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ประเภทการใช้ประโยชน์ และ
สิ่งอื่นๆ ที่อาจสังเกตพบ
4. กาหนดวิธีการบันทึกข้อมูล
4.1 บันทึกภาพ
4.2 จดบันทึก
5. นาชื่อพืชที่สารวจได้จากสมาชิกแต่ละคน มาตรวจสอบชนิด ที่
เหมือนกันหรือแตกต่างกัน จาแนกประเภท
6. อภิปราย สรุปข้อมูล
บทที่ 4
ผลการศึกษา และอภิปรายผล
ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง“การสารวจพืชผักผลไม้ท้องถิ่น
ในจังหวัดชุมพร” จากการดาเนินการสารวจตามขั้นตอน ที่กาหนด ได้ข้อมูล
ทั้งสิ้น 339 ชนิด พืชที่สารวจรวบรวมได้เรียงลาดับตามอักษรดังนี้
1. ก้นจ้า
2. กระเจี๊ยบแดง
3. กระแตไต่หิน
4. กระถิน
5. กระท้อน
6. กระท่อม
.
.
339. เฮลิโคเนีย
ในจานวนพืชทั้ง 339 ชนิด แบ่งตามการใช้ประโยชน์ได้ดังนี้
1. พืชเศรษฐกิจ มี 33 ชนิด ได้แก่
กระท้อน กล้วย กาแฟ โกโก้ ชมพู่ม่าเหมี่ยว ทุเรียน นุ่น ปาล์มน้ามัน
มันสาปะหลัง ยางพารา ละมุด ฟักแฟง มะพร้าว ลางสาด
อภิปรายผล
พืชเศรษฐกิจของจังหวัดชุมพรมีหลายชนิด เป็นพืชที่สาคัญเพราะว่า
สามารถสร้างรายได้ให้กับชาวชุมพรเป็นอย่างมาก ได้แก่ ปาล์มน้ามัน กาแฟ
และบางชนิดก็ขึ้นชื่อเป็นที่ต้องการของคนท้องถิ่น เช่น หมาก ใบเหลียง
2. ผัก มี 58 ชนิด ได้แก่
กระเจี๊ยบแดง กระถิน กล้วย กระเพรา กุ่มน้า ขจร ขมิ้น ข่า ข้าวโพด
ขี้เหล็ก ขึ้นฉ่าย แค ชะพลู ชะอม ตะไคร้ ผักหวานบ้าน ไผ่ตง มะเขือ มะเขือขื่น
มะเขือพวง มะเดื่อ พริกชี้ฟ้า พูมเพกา ฟัก ฟักทอง ฟักแฟง มะเขือชุมพร
มะแว้งเครือ มะรุม แมงลัก ยอ ยาสูบ ลาเพ็ง เล็บครุฑใบเฟิร์น สะเดา สะตอ
สะระแหน่ หอมแดง โหรพา
อภิปรายผล
ผักเป็นพืชชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกกันมากในจังหวัดชุมพร ทั้งนี้เนื่องจาก
ชาวชุมพรนิยมรับประทานอาหารที่เผ็ดจัด จึงมักรับประทานผักเป็น
ส่วนประกอบอาหาร เพื่อช่วยลดความเผ็ดจัดของอาหารใช้เป็นเครื่องเคียง
รับประทานกับน้าพริก
3. ผลไม้ มี 52 ชนิดได้แก่
กระท้อน กล้วย ขนุน เงาะ ชา ชมพู่ ชมพู่พลาสติก ชมพู่ม่าเหมี่ยว
ตะลิงปริง ตาล แตงโม ท้อ ทุเรียน นมแมว น้อยหน่า มะกอกน้า มะขาม
มะขามป้อม มะม่วง มะม่วงหิมพานต์ มะละกอ มะสัง มะอึก มังคุด
ส้มเขียวหวาน ส้มแป้น ส้มโอ สระ สังเกียรติ สับปะรด หมาก หมากเขียว
หมากนวล
อภิปรายผล
จังหวัดชุมพรมีผลไม้ต่างๆ มากมาย มีทั้งให้ผลผลิตตลอดทั้งปี และ
บางช่วงฤดูกาล แต่ที่สาคัญคือ ชาวชุมพรสามารถบริโภคผลไม้ ได้ตลอดทั้งปี
เพราะมีผลไม้หลากหลายชนิดนั่นเอง ผลไม้บางชนิดยังมีชื่อเสียงสร้างรายได้
ให้กับจังหวัดเป็นอย่างมาก
4. ไม้ดอกไม้ประดับ มี 176 ชนิดได้แก่
กระแตไต่หิน กระทิง กระเทียมเถา การเวก การเกด กุมาริกา กุหลาบ
กุหลาบเมาะลาเลิง เกล็ดกระโห้ด่าง โกฏจุฬาลัมพา โกสน ขจร ข่อย ข้าวหลาม
ข้าหลวงหลังลาย ไข่ดาว เข็มอินโดนีเซีย คดดินสอ โป๊ยเซียนกุหลาบรามัน
โป๊ยเซียนดาวพระเกตุโป๊ยเซียนคุณหญิงปราณีโป๊ยเซียนเพชรอดิศรโป๊ยเซียน
อู่ทอง พุทธรักษาไทย มะลิซ้อน ลั่นทมขาว ลาเจียก ว่านมหาลาภ สารภี
สาวน้อยปะแป้ง สิบสองปันนา สร้อยอินทนิล เสม็ดขาว แสงจันทร์...แอฟริ
กันไวโอเลต เฮลิโคเนีย
อภิปรายผล
ไม้ดอกไม้ประดับเป็นพืชประเภทหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันชาวชุมพรนิยมนามา
เพาะปลูกเป็นจานวนมาก จะเห็นได้ว่ามีพืชหลายชนิดที่นามาจากท้องถิ่นอื่น
เหตุที่ปัจจุบันคนนิยมปลูกมากอาจเป็นเพราะพืชประเภทนี้มีความสวยงาม แต่
ละพันธุ์ก็ต่างกัน ทาให้คนที่สนใจนิยมปรับปรุงพันธุ์ให้เกิดความหลากหลาย
รวมทั้งไม้ประดับบางชนิด ที่ผู้คนเชื่อว่า เป็นสิริมงคลในการปลูกไว้ประดับ
บ้าน
6. สมุนไพร มี 214 ชนิด ได้แก่
กระเจี๊ยบแดง กระท่อม กระเทียมเถา ชุมเห็ดเล็ก ต้อยติ่ง ตะไคร้หอม
ตะลิงปริง ผักหวานบ้าน ไผ่ป่า ฝิ่นต้น พญาไร้ใบ ฟ้าทลายโจร ว่านกาบหอย
ใหญ่ มะขามแขก มะขามป้อม มะแว้งเครือ มะตูม มะยม ยูคาลิปตัส ราเพย
ละหุ่ง สาวน้อยปะแป้ง เสมา แสงจันทร์ สะเดา สาบแล้งสาบกา หญ้าเจ้าชู้
หญ้าตีนกา หญ้าหนวดแมว หนามแดง หนุมานนั่งแท่น หนุมานประสานกาย
...หอมแดง หางนกยูง หิ่งเม่น หูกวาง โหรพา อ้อยแดง อัญชัน อินทนิลน้า
อุตพิด
อภิปรายผล
สมุนไพรเป็นพืชที่พบมากที่สุดในจังหวัดชุมพรจากการสารวจครั้งนี้
เป็นพืชที่มีมาตั้งแต่สมัยอดีต และผูกพันกับคนในท้องถิ่นมากเพราะสมุนไพร
ส่วนใหญ่จะเป็นพวกพืช ผัก ผลไม้ รวมทั้งไม้ดอก ไม้ประดับบางชนิด คนใน
ท้องถิ่นเข้าใจรู้เรื่องในสรรพคุณดี ได้อาศัยภูมิปัญญาชาวบ้านในการจาแนก
ประเภทของพืชที่เป็นสมุนไพร สมุนไพรเพิ่งได้รับความสนใจเมื่อไม่นานมานี้
ปัจจุบันได้ค้นพบ พืชสมุนไพรอีกมาก ที่ยังไม่มีผู้ใดรู้จักมาก่อน
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษา
สรุปผลการศึกษา
จากการสารวจและรวบรวมชื่อพืช ผัก และผลไม้ท้องถิ่น ในจังหวัด
ชุมพร สามารถรวบรวมได้ 339 ชนิด และจากการศึกษาข้อมูลของพืชแต่ละ
ชนิด จาแนกประเภทตามการใช้ประโยชน์ ได้ 5 ประเภทดังนี้ คือ
1. พืชเศรษฐกิจ 33 ชนิด
2. ผัก 58 ชนิด
3. ผลไม้ 52 ชนิด
4. ไม้ดอกไม้ประดับ 176 ชนิด
5. สมุนไพร 214 ชนิด
ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน
1. ได้ทราบชนิดของพืชท้องถิ่นของจังหวัดชุมพรเพิ่มมากขึ้น
2. ได้ทราบข้อมูลของพืชท้องถิ่นชนิดต่างๆ ที่สารวจได้
3. เป็นการรวบรวมข้อมูลไว้เพื่อประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจเรื่องนี้
4. ช่วยส่งเสริมให้พืชท้องถิ่นของจังหวัดชุมพรแพร่หลาย ให้คนทั่วไป
รู้จักและให้ได้รับการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ให้ดียิ่งขึ้น
ข้อเสนอแนะ
1. พืชท้องถิ่นในจังหวัดชุมพรยังมีอีกมากมายหลายชนิด จึงควรที่จะมี
การสารวจและรวบรวมข้อมูลที่ยังไม่สามารถทาการสารวจ และรวบรวม
ข้อมูลมาได้
2. ผู้ที่สนใจควรจะทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพืชท้องถิ่น
ของจังหวัดชุมพรทุกๆ 2 ปี เพื่อให้ทราบว่ามีพืชชนิดใด เพิ่มหรือลดไปบ้าง
3. ผู้สนใจอาจทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลพืชท้องถิ่นเกี่ยวกับ
สิ่งอื่นๆ ที่น่าสนใจ
เรื่อง แก้กระหายด้วยผลไม้ไทย
ความเป็นมา
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีพืชพันธุ์อุดมสมบูรณ์ และ
ขณะนี้ผลไม้ของไทยส่งขายต่างประเทศได้น้อย จึงทาให้มีผลไม้มากและราคา
ถูก การนาผลไม้แปรรูป จะทาให้สามารถขายได้ราคา ดีขึ้น แต่ผลไม้บาง
ชนิดนอกจากส่งขายไม่ได้แล้ว การนามาถนอมอาหารก็ขายได้ราคาไม่ค่อยดี
เช่นกัน ข้าพเจ้าจึงเห็นว่าการนาผลไม้ดังกล่าว มาทาเป็นอาหารในรูปแบบ
ต่างๆ น่าจะเป็นทางเลือกอีกอย่างหนึ่งสาหรับการแก้ปัญหาผลไม้ล้นตลาดได้
เช่น การทาผลไม้แช่อิ่ม การดอง ผลไม้ตากแห้ง ผลไม้กวน ตาส้มผลไม้
การทาขนม และการทาน้าผลไม้ เป็นต้น และจากการที่ผลไม้ในหมู่บ้านของ
ข้าพเจ้า มีมากซึ่งได้แก่ ฝรั่ง มะละกอ มะม่วง มะยม และสับปะรด
ข้าพเจ้าคิดว่าผลไม้ที่มีในหมู่บ้านน่าจะนามาทาเป็นน้าผลไม้ได้ ข้าพเจ้า
จึงได้จัดทาโครงงานนี้
จุดประสงค์
1. เพื่อทาน้าผลไม้จากผลไม้ 4 ชนิดคือ ฝรั่ง มะม่วง มะยม และ
สับปะรด
2. เพื่อเปรียบเทียบความนิยมดื่มน้าผลไม้ทั้ง 4 ชนิด
การดาเนินงาน
1. วางแผนการทดลอง โดยกาหนดปฏิทินการทดลอง
2. ศึกษาสูตรและวิธีการทาน้าผลไม้ จากเอกสาร หนังสือ
และผู้มีประสบการณ์ในการทาน้าผลไม้ในหมู่บ้าน
3. ออกแบบเก็บข้อมูลความนิยม โดยกาหนดเป็นแบบสอบถามแบบ
เลือกตอบ
4. นาข้อมูลที่ได้มาศึกษา จาแนกและวิเคราะห์
5. นาเสนอผลงานในรูปตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพ ฯลฯ
6. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
7. เขียนรายงาน
การนาเสนอผลงาน
1. นาเสนอรายงานเป็นรูปเล่ม
2. นาเสนอโดยจัดป้ายนิเทศ แล้วนาไปจัดนิทรรศการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทาให้ทราบความนิยมดื่มน้าผลไม้แต่ละประเภท
2. ทราบกลุ่มคนที่ดื่มน้าผลไม้แต่ละชนิด
3. เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพขายน้าผลไม้
เรื่อง ไซจับแมลงสาบ
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
อนามัยในการบริโภคเป็นสิ่งจาเป็นต่อชีวิตและสุขภาพ
การรับประทานอาหารที่ไม่สะอาดจะทาให้เกิดโรคต่างๆ ส่วนหนึ่ง ที่ทาให้
อาหารไม่สะอาดและทาให้เกิดโรคต่างๆ ก็คือตัวพาหะนาโรค เช่น แมลงสาบ
ที่อาศัยอยู่ในห้องครัวและที่ต่างๆ แมลงสาบเป็นสัตว์ที่สกปรกนาเชื้อโรคและ
น่ารังเกียจ มันชอบไต่ตามอุปกรณ์ต่างๆ ในห้องครัว เวลาทาอาหารจะทาให้
อาหารไม่สะอาดและอาจเกิดโรคได้
ดังนั้น เราจึงคิดหาวิธีในการกาจัดแมลงสาบ เพื่อความปลอดภัยในการ
บริโภค จึงได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ดักจับแมลงสาบ ซึ่งได้ความคิด มาจากไซที่ใช้
ดักจับปลา ไซมีคุณสมบัติที่ทาให้ปลาเข้าไปแล้วออกมาไม่ได้ จึงนาวิธีการ
เดียวกันนี้มาใช้ประดิษฐ์อุปกรณ์ดังกล่าว
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ใช้ในการดักจับแมลงสาบ
2. เพื่อศึกษาอาหารที่ใช้ในการดักจับแมลงสาบได้ดี
สมมติฐาน
อุปกรณ์ไซดักจับแมลงสาบ สามารถจับแมลงสาบได้และไม่ทาให้
แมลงสาบหลุดออกมาได้ โดยอาหารที่แมลงสาบชอบและใช้เป็นเหยื่อล่อ
แมลงสาบที่ดีคืออาหารที่มีกลิ่นเหม็นฉุน
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น ได้แก่ ไซดักจับแมลงสาบที่มีอาหารมีกลิ่นเหม็นฉุน
(ปลาหมึกแห้ง) อาหารที่รสจืด(ข้าว) อาหารที่มีรสหวาน (ขนมทองหยอด)
ตัวแปรตาม ได้แก่ การดักจับแมลงสาบของไซ และจานวนของ
แมลงสาบที่เข้ามากินเหยื่อแต่ละชนิด
ตัวแปรควบคุม ได้แก่ อุปกรณ์ที่ใช้ในการดักจับแมลงมีขนาดเท่ากัน
สถานที่ทดลอง เวลาในการทดลอง
ขอบเขตของการศึกษา
สถานที่ในการทดลอง บ้านเลขที่ 299/2 หมู่ 2 ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่
จ.สงขลา
ระยะเวลาของการศึกษา
วันที่ 18 กรกฎาคม 2546 และวันที่ 30 กันยายน 2546
อุปกรณ์ในการศึกษา
1. ขวดน้าโพลาลีส 3 ขวด
2. กล่องปีโป้ 18 กล่อง
3. อาหารประเภทต่างๆ ดังนี้ ปลาหมึกแห้ง ข้าวสวย
ทองหยอด
4. กรรไกร มีด
5. กาวปืน
วิธีการศึกษา
วิธีการดาเนินการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้
1. ประดิษฐ์ไซจับแมลงสาบ
2. ทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบซึ่งการศึกษา
แต่ละขั้นตอนมีรายละเอียดดังนี้
การทดลองที่ 1 ประดิษฐ์ไซจับแมลงสาบ
1. นาขวดโพลาลิสมาเจาะรูด้านข้างซ้ายและขวาข้างละ3 รู
ขนาดเท่ากับกล่องขนมปีโป้
2. นากล่องขนมปีโป้มาตัดให้เป็นฝอยๆ
3. นากล่องขนมปีโป้มาใส่กับขวดน้าโพลาลิสที่เจาะรูไว้แล้ว
4. นาอุปกรณ์ที่ได้ไปดักจับแมลงสาบ โดยวางไว้ในห้องครัว
ในจุดเดียวกันทั้ง 3 ชุดการทดลอง
การทดลองที่ 2 ทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ
1. นาอาหารชนิดต่าง ๆ คืออาหารที่มีกลิ่นเหม็นฉุน (ปลาหมึก
แห้ง) อาหารที่มีรสจืด(ข้าว) อาหารที่มีรสหวาน (ขนมทองหยอด) ใส่ลงใน
ไซจับแมลงสาบที่ประดิษฐ์
2. นาอุปกรณ์ทั้งหมดไปทดลองโดยการวางทิ้งไว้ในห้องครัว
ที่บ้านที่ใช้ในการทดลองเวลา 1 คืน
3. ดูปริมาณของแมลงสาบในไซจับแมลงสาบ ทดลอง 3 ครั้ง
เว้นระยะ 2 วันต่อครั้ง บันทึกผล
ผลการศึกษา
ผลการทดลองที่ 1 ประดิษฐ์ไซดักจับแมลง
ได้อุปกรณ์ที่ใช้ในการดักจับแมลงสาบได้จริง เมื่อแมลงสาบ
เข้าไปอยู่ในไซดักจับแมลงสาบแล้วไม่สามารถออกมาข้างนอกได้อีก และมี
ราคาถูกเพราะใช้อุปกรณ์/วัสดุเหลือใช้
ผลการทดลองที่ 2 ทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ
ตารางบันทึกผลการทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ
อาหารที่ใช้
จานวนแมลงสาบ
ครั้งที่
1
ครั้งที่
2
ครั้งที่
3
เฉลี่ย
อาหารมีกลิ่นเหม็นฉุน(ปลาหมึกแห้ง) 5 ตัว 3 ตัว 4 ตัว 4 ตัว
อาหารมีรสจืด(ข้าวสวย) 1 ตัว - 2 ตัว 1 ตัว
อาหารที่มีรสหวาน(ขนมทองหยอด) 2 ตัว 2 ตัว 1 ตัว 2 ตัว
สรุปผลการศึกษา
จากการทดลองที่ 1 ประดิษฐ์ไซจับแมลงสาบ
จากการทดลองประดิษฐ์ไซดักจับแมลงสาบ พบว่าสามารถ
ดักจับแมลงสาบได้ เพราะแมลงสาบที่เข้าไปแล้วไม่สามารถออกมา
ได้อีก
จากการทดลองที่ 2 ทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ
จากการทดลองพบว่าอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ
ในอุปกรณ์ไซจับแมลงสาบที่สามารถจับแมลงสาบได้จานวนมาก ได้แก่
อาหารที่มีกลิ่นเหม็นฉุน (ปลาหมึกแห้ง) ครั้งที่ 1 จานวน 5 ตัว ครั้งที่ 2
จานวน 3 ตัว ครั้งที่ 3 จานวน 4 ตัว ค่าเฉลี่ย 4 ตัว รองลงมาคืออาหาร
รองลงมาคืออาหารที่มีรสหวาน(ทองหยอด) ครั้งที่ 1 จานวน 2 ตัว ครั้งที่ 2
จานวน 2 ตัว ครั้งที่ 3 จานวน 1 ตัว ค่าเฉลี่ย 2 ตัว และอันดับสุดท้ายคือ
อาหารที่มีรสจืด(ข้าวสวย) ครั้งที่ 1 จานวน 1 ตัว ครั้งที่ 2 ไม่มีเลย ครั้งที่ 3
จานวน 2 ตัว ค่าเฉลี่ย 1 ตัว สรุปได้ว่าอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบได้ดี
คือ อาหารที่มีกลิ่นเหม็น(ปลาหมึกแห้ง)
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ช่วยลดปัญหาแมลงสาบในบ้านได้
2. สามารถใช้อุปกรณ์ไซดักจับแมลงสาบได้ในที่ต่างๆ ที่พบว่า
มีแมลงสาบอาศัยอยู่ได้
3. อุปกรณ์ดังกล่าวประดิษฐ์ขึ้นเองได้ง่าย ราคาถูก เพราะนาวัสดุเหลือ
ใช้มาทา ปราศจากสารเคมี
ข้อเสนอแนะ
ควรมีการเปลี่ยนแปลงอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อบ้าง
เรื่อง วัสดุแปรรูปพาราเรียน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากจังหวัดตาก มีการปลูกไม้ผลมากมายหลายชนิด เช่น
ทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง สับปะรด เมื่อถึงฤดูที่มีผลไม้ เปลือกผลไม้จะ
ถูกทิ้งเป็นขยะอย่างไร้ประโยชน์ และสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อม
โดยเฉพาะทุเรียน ซึ่งเป็นผลไม้ที่มีเปลือกหนาและมีกลิ่นแรง จากการเรียนใน
กลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตได้เรียนรู้เกี่ยวกับการนากระดาษที่ใช้
แล้วมาทาเป็นกระดาษประกอบกับผู้ปกครองมีสวนยางมีความรู้เกี่ยวกับเรื่อง
การทายางแผ่น กลุ่ม ของข้าพเจ้าจึงสนใจที่จะนาเปลือกทุเรียนมาแปรสภาพ
โดยน้ายางพาราเป็นส่วนผสมเพื่อแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และหวังว่าจะได้
วัสดุ แปรรูปที่เป็นประโยชน์ และสามารถนาไปจัดทาเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องใช้
ต่างๆได้ ขึ้นมาแทน จึงได้ทดลองว่ามีความเป็นไปได้หรือไม่ โดยนาเปลือก
ทุเรียนมาปั่นให้ละเอียดแล้วทดลองนาไปผสมกับน้ายางสด ปรากฏว่ามีความ
เป็นไปได้ จึงคิดทาโครงงานนี้ขึ้นมา
วัตถุประสงค์
1.เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากเปลือกทุเรียน
2.เพื่อศึกษาส่วนผสมของเนื้อเยื่อและเส้นใยจากเปลือกทุเรียนกับน้า
ยางพารา ในการจัดทาเป็นวัสดุแปรรูปที่สามารถนาไปจัดทาผลิตภัณฑ์
เครื่องใช้ต่างๆ
สมมติฐานการศึกษา
เนื้อเยื่อหรือเส้นใยจากเปลือกทุเรียนผสมกับน้ายางพารา ในอัตราส่วน
ที่เหมาะสม จะได้วัสดุแปรรูปที่สามารถไปจัดทาผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ได้
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
1. ศึกษาส่วนผสมของเนื้อเยื่อของเปลือกทุเรียนกับน้ายางพารา
1.1 ตัวแปรต้น น้าหนักเนื้อเยื่อของเปลือกทุเรียน
1.2 ตัวแปรควบคุม น้าหนักยางพารา ความละเอียด ของเนื้อเยื่อ
วิธีการทาความเข้มข้นของน้ายางพารา
1.3 ตัวแปรตาม ลักษณะของเนื้อวัสดุ และความคงทนของวัสดุ
1.4 นิยามเชิงปฏิบัติการ
1.4.1. ลักษณะของเนื้อวัสดุ หมายถึง เนื้อวัสดุมีเนื้อเยื่อของ
เปลือกทุเรียนกับน้ายางพาราผสมกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน
1.4.2 ความทนของวัสดุ หมายถึง เมื่อนาวัสดุที่แปรรูปขนาด
กว้าง 1นิ้ว ยาว 5 นิ้ว มาถ่วงด้วยน้าหนัก สามารถรับน้าหนักได้อย่างน้อย
500 กรัม เมื่อจับให้โค้งงอ พับไม่หักหรือฉีกขาด
2. ศึกษาส่วนผสมของเส้นใยจากเปลือกทุเรียนกับน้ายางพารา
2.1 ตัวแปรต้น อัตราส่วนผสมของน้าหนักนายางพารา
2.2 ตัวแปรควบคุม น้าหนักเส้นใยของเปลือกทุเรียนความละเอียด
ของเส้นใย ความเข้มข้นของน้ายางพาราสด
2.3 ตัวแปรตาม ลักษณะของเนื้อวัสดุ และความคงทน
ของวัสดุ
2.4 นิยามเชิงปฏิบัติ
2.4.1 ลักษณะของเนื้อวัสดุ หมายถึง เนื้อวัสดุมีเส้นใยของเปลือก
ทุเรียนกับน้ายางพาราผสมกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน
2.4.2 ความคงทนของวัสดุ หมายถึง เมื่อนาวัสดุที่แปรรูปขนาด
กว้าง 1 นิ้ว ยาว 5 นิ้ว มาถ่วงด้วยน้าหนัก สามารถรับน้าหนักได้อย่างน้อย 500
กรัม เมื่อจับให้โค้งงอพับไม่หักหรือฉีกขาด
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1. เนื้อเยื้อและเส้นใยของเปลือกทุเรียนกับน้ายางพารา
2. ศึกษาส่วนผสมของเนื้อเยื่อและเส้นใยของเปลือกทุเรียนกับน้า
ยางพารา
3. ศึกษาและปฏิบัติ ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนและ
บ้านผู้ปกครอง
4. ระยะเวลาที่ศึกษา 10 กันยายน – พฤศจิกายน 2546
สรุปผลการศึกษา
จากการศึกษาส่วนผสมในการจัดทาวัสดุแปรรูปจากเปลือกทุเรียนกับน้า
ยางพาราสด ซึ่งทาการศึกษาเป็น2 กรณีคือ ใช้เนื้อเยื่อโดยรวมผสมกับน้า
ยางพาราสด และใช้เส้นใยผสมกับน้ายางพาราสด ปรากฏว่า กรณีใช้เนื้อเยื่อ
โดยรวมผสมกับน้ายางพาราสด ส่วนผสม ที่เหมาะสม คือ 4:1 โดยน้าหนัก
และส่วนผสมกรณีใช้เส้นใย กับน้ายางพาราสด คือ น้ายางพาราสด: น้า คือ
5:1:2 โดยน้าหนัก
อภิปรายผลการศึกษา
จากการศึกษานาเนื้อเยื่อและเส้นใยจากเปลือกทุเรียน ซึ่งเป็นวัสดุเหลือ
ใช้ผสมกับน้ายางพาราสดมาจัดทาเป็นวัสดุแปรรูปเพื่อนาไปใช้ทาผลิตภัณฑ์
เครื่องใช้สามารถทาได้เมื่อใช้อัตราส่วน ในการผสมที่เหมาะสม ซึ่งเป็น
ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
ข้อเสนอแนะ
1. เปลือกทุเรียนที่ควรนามาใช้ควรเป็นทุเรียนพันธุ์หมอนทอง
เนื่องจากมีเปลือกหนา
2. การผสมวัสดุควรผสมให้เข้ากันโดยเร็วไม่ควรใช้เวลานาน จะทาให้
น้ายางรวมตัวจับกันเป็นแท่งๆเนื้อเยื่อจะประสานกันได้ไม่ดี
3. การทาให้แห้งควรพลิกทุก 3 ชั่วโมง(สังเกตความร้อนแรงของ
แสงแดด)
4. ควรศึกษาการป้องกันการเกิดราของวัสดุเพิ่มเติม(ระยะ3 เดือน วัสดุ
ที่จัดทาไว้ไม่มีรา)
5. ศึกษาการทาวัสดุให้มีสีต่างๆนอกเหนือจากธรรมชาติ
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ลดขยะที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
2. เพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์และรายได้
3. รู้จักวิธีการนาวัสดุเหลือใช้มาทาให้เป็นประโยชน์
เรื่อง ความลับของน้าซาวข้าว
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ประชากรในภาคเหนือส่วนใหญ่นิยมบริโภคข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก
ก่อนที่จะนาข้าวไปทาให้สุกได้ จะต้องนาข้าวที่แช่ไว้มารินน้าออกก่อน ซึ่งคน
ส่วนใหญ่เรียกขั้นตอนนี้ว่า "การซาวข้าว" และน้า ที่ได้จากการซาวข้าว
เรียกว่า "น้าซาวข้าว" และเมื่อได้น้าซาวข้าวมา ก็จะนามาใช้ประโยชน์ใน
การรดน้าต้นไม้ การล้างผักเพื่อช่วยลดสารเคมีที่ตกค้างในผัก ตลอดจนการ
หมักดองที่ช่วยในการรักษาสภาพของวัตถุดิบและทาให้วัตถุดิบมีรสเปรี้ยว
และจากการที่ได้เห็นการดองฝรั่งของคนในหมู่บ้านจะเติมน้าซาวข้าวลงไปใน
ไหดองด้วยหลังจาก ที่ดองเสร็จก็พบว่า ฝรั่งที่ดองมีรสเปรี้ยวขึ้นมาก ข้าพเจ้า
จึงนามาคุย และปรึกษากับเพื่อนในกลุ่มว่า การใส่น้าซาวข้าวมีผลทาให้ฝรั่งมี
รสเปรี้ยวจริงหรือไม่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณเกลือเท่าใดจึงจะให้การดองด้วย
น้าซาวข้าวเกิดผลดีที่สุดจากข้อสงสัยต่างๆ เหล่านี้ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้
คิดค้นการทาโครงงานนี้ขึ้นมา
ขอบเขตของการทาการศึกษาค้นคว้า
1. ศึกษาเปรียบเทียบค่าความเป็นกรด-เบส ในการดองระหว่างเกลือ
ละลายน้าซาวข้าวและเกลือละลายน้า
2. ศึกษาความสามารถในการดองโดยใช้เกลือในปริมาณต่างๆ ดังนี้
0 กรัม , 5 กรัม , 15 กรัม ,25 กรัม , 35 กรัม ,45 กรัม ,55 กรัม , 65 กรัม และ
75 กรัม ตามลาดับ
3. ศึกษาการดองโดยใช้วัตถุดิบใน คือ ผักกาดแก้ว แตงกวา ฝรั่ง
สมมุติฐานของการศึกษา
ตอนที่ 1 วัตถุดิบทุกชนิดที่ดองด้วยน้าซาวข้าวทิ้งไว้ จะให้รสเปรี้ยวกว่า
น้าเกลือ
ตอนที่ 2 ปริมาณของเกลือที่ใช้ในการดอง ถ้าเกลือลดลงจะมีผลทาให้
วัตถุดิบที่ดองมีความเป็นกลางมากขึ้น
ตัวแปร
ตัวแปรต้น
ตอนที่ 1 ฝรั่ง แตงกวา ผักกาดแก้ว
ตอนที่ 2 เกลือในปริมาณต่าง ๆ ดังนี้ 75 กรัม 65 กรัม 55 กรัม 45 กรัม
35 กรัม 25 กรัม 15 กรัม 5 กรัม และ 0 กรัมตามลาดับ
ตัวแปรตาม ค่า pH (ความเป็นกรด-เบส) ที่วัดได้ในแต่ละครั้ง
ตัวแปรควบคุม
ตอนที่1 ปริมาณเกลือ ปริมาณน้าซาวข้าว และปริมาณ
น้าสะอาด
ตอนที่ 2 วัตถุดิบที่ใช้คือ ฝรั่ง ปริมาณน้าซาวข้าว และปริมาณน้า
สะอาด
อุปกรณ์และวิธีการทดลอง
1. วัสดุ
1.1 น้าสะอาด 1.2 ฝรั่ง 1.3 น้าซาวข้าว
1.4 เกลือ 1.5 ผักกาดแก้ว 1.6 แตงกวา
2. อุปกรณ์
อุปกรณ์เตรียมวัสดุ 1. ตะกร้า 2. มีด
อุปกรณ์ในการดอง 1. ขวดโหล 2 ใบ
2. บีกเกอร์ ขนาด 600 มิลลิลิตร 2 ใบ
3. แท่งแก้วคนสาร
4. ตาชั่ง
5. ช้อนตักสาร
3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ
1. เครื่องวัดค่า pH
2. บีกเกอร์ ขนาด 50 มิลลิลิตร
4. วิธีการทดลอง
1. ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ
1.1 นาผักกาดแก้ว แตงกวา ฝรั่ง มาล้างให้สะอาด
1.2 นาผักกาดแก้ว แตงกวา ฝรั่ง ที่ล้างแล้วมาผึ่งให้น้าแห้ง
1.3 นาผักกาดแก้ว แตงกวา ฝรั่ง มาชั่งเตรียมไว้เป็นส่วนๆ ละ0.5
กิโลกรัม สังเกตลักษณะของ ผักกาดแก้ว แตงกวา และฝรั่ง
2. ขั้นตอนการดอง แบ่งเป็น 2 ตอนดังนี้
ตอนที่ 1 ศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติระหว่าเกลือละลาย
ในน้าสะอาด กับน้าซาวข้าวโดยเปลี่ยนวัตถุดิบ
1. นาผักกาดแก้ว แตงกวา และฝรั่ง 0.5 กิโลกรัม จัดเรียง
ในขวดโหล ซึ่งใบที่ 1 และ 2 คือผักกาดแก้ว ใบที่ 3 และ 4 คือแตงกวา ใบที่ 5
และ 6 คือฝรั่ง
2. นาน้าซาวข้าวมาละลายเกลือ 75 กรัม
3. เทน้าซาวข้าวในขั้นที่ 2 ลงในขวดโหลใบที่ 1,3,5 แล้วปิดฝา
ให้สนิททิ้งไว้ 1 สัปดาห์ สังเกตพร้อมบันทึกผลทุกวัน
4. นาน้าสะอาดมาละลายเกลือ 75 กรัม
5. เทน้าสะอาดในขั้นที่ 4 ลงในขวดโหลใบที่ 2,4,6 แล้วปิดฝา
ให้สนิททิ้งไว้ 1 สัปดาห์ สังเกตพร้อมบันทึกผลทุกวัน
6. เมื่อครบ 1 สัปดาห์ นาน้าดองของขวดโหลแต่ละใบ มาวัดค่า pH
ด้วยเครื่องวัด pH แล้วบันทึกผล
7. สังเกตผลที่ได้แล้ววัดค่า pH ของน้าดองในขวดโหลแต่ละใบมา
บันทึกผลเปรียบเทียบ
ตอนที่ 2 ศึกษาความเป็นกรด-เบส โดยเปลี่ยนปริมาณเกลือครั้งละ
10 กรัม โดยใช้ฝรั่งเป็นตัวควบคุม
1. น้าซาวข้าว 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ละลายเกลือ 65 กรัม เตรียมไว้
2. น้าสะอาด 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ละลายเกลือ 65 กรัม
เตรียมไว้
3. นาฝรั่งที่จัดเตรียมไว้ 0.5 กิโลกรัม จัดเรียงในขวดโหล ใบที่ 1
4. นาฝรั่งที่จัดเตรียมไว้ 0.5 กิโลกรัม จัดเรียงในขวดโหล ใบที่ 2
5. นาน้าซาวข้าวที่ละลายเกลือเตรียมไว้มาเทลงในขวดโหลใบที่
1 ปิดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ สังเกตพร้อมบันทึกทุกวัน
6. นาน้าสะอาดที่ละลายเกลือเตรียมไว้ในขั้นที่ 1 มาเทลง
ในขวดโหลใบที่ 2 ปิดฝาให้สนิททิ้งไว้ 1 สัปดาห์ สังเกตพร้อมบันทึกทุกวัน
7. เมื่อครบ 1 สัปดาห์ นาน้าดองของขวดโหลแต่ละใบ มาวัดค่า pH
แล้วบันทึกผล
8. สังเกตผลที่ได้ แล้วนาค่า pH ของน้าดองในขวดโหล ทั้ง 2 ใบ
มาเปรียบเทียบผล แล้วบันทึกผล
9. ทาตามวิธีการจากข้อ 1-9 แต่ลดปริมาณเกลือ ครั้งละ 10 กรัม
จนไม่ใช้เกลือเลยในการดองครั้งสุดท้าย
10. นาผลที่ได้ในแต่ละครั้งมาเปรียบเทียบค่า pH เพื่อทดสอบความ
เป็นกรด-เบส
สรุปผลการทดลอง
จากผลการทดลอง จะสรุปได้ว่า การดองด้วยเกลือละลาย น้าซาวข้าว
จะได้รสเปรี้ยวกว่าการดองด้วยเกลือละลายน้าสะอาด โดยไม่ต้องใส่สาร
เพิ่มรสชาติความเปรี้ยวลงไปในขณะดองอีก ซึ่ง แม้เราจะเปลี่ยนวัตถุดิบ
จากผักกาดแก้ว เป็นแตงกวาและฝรั่ง ผลที่ได้ น้าซาวข้าวก็ยังให้ความเปรี้ยว
กว่าน้าสะอาดเสมอ และปริมาณเกลือ ที่เหมาะสมในการใช้ดองด้วยน้าซาว
ข้าวให้เกิดรสชาติเปรี้ยวได้ดี และเหมาะสมที่สุดในวัตถุดิบชนิดเดียวกันก็คือ
ปริมาณเกลือ 45-35 กรัม โดยจะให้ค่าความเป็นกรดอยู่ที่ 3.70-3.76 ppm ถือว่า
เป็นความเปรี้ยวที่เหมาะสม ซึ่งไม่เปรี้ยวเกินไปหรือจืดเกินไปที่เป็นเช่นนี้
เนื่องจากการหมักดอง จะมีเชื้อแบคทีเรียอยู่ ซึ่งถ้าหากเราใส่เกลือมากเกินไป
ก็จะทาให้แบคทีเรียตายได้ แต่หากเกลือน้อยไปก็จะทาให้แบคทีเรียมากทาให้
ผักเหี่ยวดูไม่น่ารับประทานหรืออาจติดเชื้อราได้ ดังนั้นเราจึงต้องหาปริมาณ
ของเกลือที่เหมาะสมต่อการดอง
นอกจากนี้การดองด้วยเกลือละลายน้าซาวข้าวยังสามารถรักษาสภาพ
ของวัตถุดิบให้ดูเต่งตึงไม่เหี่ยวไม่ช้าเหมือนการดองด้วยเกลือละลายน้าสะอาด
และไม่นิ่มหรือแข็งจนเกินไป
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถนาไปแก้ไขปัญหาการพบสารเคมีในของดอง
ในชีวิตประจาวันได้
2. สามารถนาภูมิปัญญาชาวบ้านมาเผยแพร่ให้ผู้คนได้รู้
และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
ข้อเสนอแนะ
1. เราอาจนาการทดลองนี้ไปใช้กับข้าวพันธ์อื่นๆ ได้ตามสายพันธุ์ที่มี
อยู่ในบ้านของคุณ
2. เราอาจนาการทดลองนี้ไปใช้ในวัตถุดิบชนิดอื่นๆ ได้
เช่น ดองกระท้อน ดองมะม่วง
เรื่อง พิชิตเหาด้วยลูกตีนเป็ด
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากเหาเป็นปัญหาที่สาคัญมากในกลุ่ม นักเรียนตั้งแต่ ชั้นปฐมวัย
จนถึงประถมศึกษามีนักเรียนติด เหาประมาณ 80-90 % เหาเป็นปรสิตที่ดูด
เลือดคนทาให้เกิดอาการคัน นอกจากนี้ยังทาให้เด็กที่เป็นเหาเสียสมาธิในการ
เรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหะนาไปติดผู้อื่นต่อไป การกาจัดเหา
โดยทั่วไปมักจะ ใช้สารเคมีที่เป็นอันตราย ซึ่งมีผลต่อผิวหนัง เข้าตาอาจจะ
ทาให้ตาอักเสบถึงบอดได้ ถ้ามีอาการแพ้อาจจะมีอันตรายถึงชีวิต
นอกจากนี้กระทรวงสาธารณสุขได้ส่งเสริมให้ประชาชน ใช้สมุนไพร
ในท้องถิ่น ผู้จัดทาจึงได้มองเห็นความสาคัญของปัญหานี้จึงได้คิดค้นหาวิธีที่
จะกาจัดเหาโดยการใช้สมุนไพรซึ่งเป็นทรัพยากร ที่มีอยู่ในท้องถิ่นและมี
สรรพคุณที่จะสามารถกาจัดเหา ได้ทั้งยังไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการ ฆ่าเหาของเมล็ดลูกตีนเป็ดน้า
2. เพื่อให้ได้สารที่มีประสิทธิภาพในการกาจัดเหา ราคา ประหยัดและ
ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้
3. เพื่อส่งเสริมการนาพืชสมุนไพรในท้องถิ่น มาใช้ให้เกิดประโยชน์
และเป็นการส่งเสริม ภูมิปัญญาของคน ไทย
สมมุติฐาน
เมล็ดของลูกตีนเป็ดน้า มีประสิทธิภาพ ในการกาจัดเหาได้
ตัวแปรที่ใช้ในการทดลอง
ตัวแปรต้น เมล็ดลูกตีนเป็ดน้า
ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพในการกาจัดเหา
ตัวแปรควบคุม จานวนสารที่ใช้หยดบนตัวเหา , จานวน ตัวเหาแต่
ละชุด,วิธีการกรองสาร,วิธีการหมักสาร ,วิธีการบดสาร วิธีการชโลม
ผมผู้ทดลอง
วิธีการทดลองและผลการทดลอง
1. ทดสอบคุณสมบัติในการกาจัดเหาของเมล็ด ลูกตีนเป็ดน้าและศึกษา
อัตราส่วนที่เหมาะสมในการ นามากาจัดเหา พบว่า เหาที่หยดสารชุดที่ 1
(เมล็ด+น้าไม่ต้ม) เหาตาย หมดใช้เวลาเฉลี่ย 6 นาที รองลงมาคือ เหาที่หยดสาร
ชุดที่ 3 (น้ามันในเมล็ด) เหาตายหมดใช้เวลาเฉลี่ย 13 นาที และ ตายช้าที่สุดคือ
เหาที่หยดสารชุดที่ 2 (เมล็ด+น้า+ต้ม) ใช้ เวลาทั้งหมด 71 นาที
2. ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกาจัดเหา ของเมล็ด
ลูกตีนเป็ดน้าผลแก่ ผลปานกลาง ผลอ่อน พบว่า เหาที่หยดสารจากเมล็ดลูก
ตีนเป็ดน้าผลแก่จะตายเร็วที่สุดใช้เวลาเฉลี่ย 6 นาที รองลงมาคือ เหาที่หยดด้วย
เมล็ดลูกตีนเป็ดน้าผลปานกลางใช้เวลาเฉลี่ย 11นาที และช้าที่สุดคือ เมล็ดจาก
ผลอ่อนเหาจะตาย ในเวลาเฉลี่ย 21 นาที
3. เพื่อศึกษาปฏิกิริยาของสารที่มีผลต่อผิวหนังของผู้ทดลอง
(อาสาสมัคร) พบว่า เมื่อนามาทดสอบกับผิวหนังของผู้ทดลองบริเวณ
ใต้ท้องแขน จานวน 2 กลุ่มๆ ละ 15 คน เป็นเวลา 2 ชั่วโมง ผลปกติไม่มี
ปฏิกิริยาใดๆต่อผิวหนัง ผู้ทดลอง
4. ศึกษาระยะเวลาการตายของเหา เมื่อนาสารมาชโลมผมของผู้ทดลอง
พบว่า เมื่อชโลมผมผู้ทดลองศึกษาการตายของเหา ทุก 1 ชั่วโมงๆละ 10 ตัว
พบว่าในเวลา 4 ชั่วโมง เหาตายทั้งหมด 10 ตัว คิดเป็น 100 % พบว่า เมื่อ
ชโลมผมผู้ทดลองศึกษาการตายของเหาทุก 1 ชั่วโมงๆ ละ 10 ตัว พบว่า
ในเวลา 4 ชั่วโมง เหาตายทั้งหมด 10 ตัว คิดเป็น 100 %
สรุปผลการทดลอง
1.เมล็ดลูกตีนเป็ดน้าผลแก่บดละเอียดผสมน้า อัตราส่วน เมล็ด :
น้า = 30 g : 30 cm 3 หรือ 1:1 (น้าหนัก : ปริมาตร) ไม่หมัก ฆ่าเหาได้ดีที่สุด
และดีกว่าอัตราส่วนอื่นใช้เวลาเฉลี่ยประมาณ 5 นาที เหาจะตายทั้งหมด
2. เมล็ดลูกตีนเป็ดน้าไม่มีปฏิกิริยาใดๆ ต่อผิวหนังของผู้ทดลอง
3. เมล็ดลูกตีนเป็ดน้าอัตราส่วนเมล็ด:น้า = 1:1 เมื่อนาไปฆ่าเหา
ผู้ทดลองใช้เวลาชโลมผมนาน 6 ชั่วโมง เท่านั้นเหาจะตายทั้งหมด และไข่
จะฝ่อ ทั้งหมด
4. เมล็ดลูกตีนเป็ดน้ามีประสิทธิภาพในการ กาจัดเหาดีกว่า ยาฆ่าเหา
ที่เป็นสารเคมีที่วางขาย ตามท้องตลาด และดีกว่าการกาจัดเหาโดยใช้
ใบน้อยหน่า คือ ใช้ระยะเวลาในการชโลมผม น้อยกว่า และมีความปลอดภัย
สูงกว่า
5. ศึกษาระยะเวลาในการหมักสาร จากเมล็ดลูกตีนเป็ดน้า ที่เหมาะสม
ในการกาจัดเหา พบว่า สารชุดที่หมักไว้ 0 ชั่วโมง (ไม่หมักสาร) ฆ่าเหาได้ดี
ที่สุดใช้เวลา 5 นาที รองลงมาคือ หมักไว้ ในเวลา 1,2,3 ชั่วโมง คือฆ่าเหาตาย
ในระยะเวลา 7,8,10 นาที ตามลาดับ

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดstampmin
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 

Tendances (20)

แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 

Similaire à เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์

หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรJaae Watcharapirak
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)Araya Toonton
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูนteryberry
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 

Similaire à เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ (20)

ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
Sweet
SweetSweet
Sweet
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
04 017 p51
04 017 p5104 017 p51
04 017 p51
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 

เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์

  • 2. ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. โครงงานประเภทการสารวจ ได้แก่ - การศึกษาการเจริญเติบโตของลูกอ๊อด - การศึกษาการเจริญเติบโตของผีเสื้อ - การศึกษาการกินอาหารของนกแก้ว - การศึกษาลักษณะพืชอาหารของแมลงแคง - การศึกษาพฤติกรรมระหว่างมดกับหนอนชอนเปลือกต้นลองกอง - การศึกษาวัสดุที่ใช้ล่อและไล่แมลงวันทอง - ศึกษาความสว่างของแสงภายในห้องเรียนของโรงเรียนปัญญาวรคุณ - การสารวจความหลากหลายของแมลงกลางคืนในท้องที่ อาเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา - การสารวจหอยโข่งที่มีพยาธิแองจิโอสตรองไจรัสบริเวณแหล่งน้า ชุมชน อ.เมือง จ.มหาสารคาม - การสารวจสัตว์ในท้องถิ่น - การสารวจพืชสมุนไพรในท้องถิ่น 2. โครงงานประเภทการทดลอง ได้แก่ - การเปลี่ยนเพศปลาหางนกยูงโดยใช้ไรแดง - การใช้เม็ดโฟมป้องกันหนอนผีเสื้อกินใบส้ม - การใช้สารสกัดจากใบมันสาปะหลังเพื่อป้องกันและกาจัดศัตรูพืช - ถุงเพาะชาจากน้าตะโก - ขิงชะลอการบูด - การทากระดาษจากกาบกล้วย
  • 3. - เซลล์ไฟฟ้าพลังดิน - การลดปริมาณคาร์บอนมอนนอกไชด์ - การเจริญเติบโตของพืชโดยใช้แสงไฟนีออน - การศึกษาอุณหภูมิของน้าที่ได้รับแสงสีต่าง ๆ - การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นบานชื่นเมื่อใช้ สารละลายแบบต่าง ๆ - ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเปลือกไข่ชะลอการสุกของผลไม้ - Wallpaper จากเศษวัสดุธรรมชาติช่วยลดความร้อนภายในบ้าน 3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ได้แก่ - เตาอบพลังงานแสงอาทิตย์ - เครื่องกันขโมย - แนวคิดในการจัดระบบจราจรบริเวณทางแยก - เครื่องหยอดปุ๋ยเพื่อสุขภาพ - การประดิษฐ์เครื่องห่อผลไม้ - การสร้างหรือพัฒนาระเบียบวิธีจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์หรือผลิตผล - เครื่องกลั่นน้าพลังแสงอาทิตย์ - การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน - การประดิษฐ์เครื่องสูบน้าพลังลม - เทคนิคการถนอมอาหารจากพื้นบ้าน - เทคนิคการปลูกพืชสมุนไพร - เทคนิคการย้อมสีผ้าโดยใช้ภูมิปัญญาไทย 4. โครงงานทฤษฎี เนื่องจากโครงงานประเภทนี้ผู้ทาโครงงานจะต้อง มีพื้นฐานความรู้ ทางวิทยาศาสตร์เป็นอย่างดีและต้องทาการศึกษาค้นคว้าเรื่องราวที่เกี่ยวข้อง
  • 4. เป็นอย่างมากจนมีความรู้อย่างกว้างขวาง และลึกซึ้งในเรื่องที่เกี่ยวข้องดังนั้น จึงยังไม่เคยมีผู้ทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ประเภทนี้ส่งเข้าประกวดกับสมาคมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศึกษาไทย ตัวอย่างโครงงานต่อไปนี้จึงมิได้ เป็นโครงงานที่นักเรียนเป็นผู้ทา ไว้ได้แก่ - การกาเนิดของทวีปและมหาสมุทรซึ่งเป็นการสร้างแบบจาลอง ทางทฤษฎี อธิบายการเกิดของทวีปและมหาสมุทร - การศึกษาค้นคว้าตารายาแผนโบราณ - การกาเนิดของแผ่นดินไหวในประเทศไทย - การอธิบายเรื่องราวการดารงชีวิตในอวกาศของมนุษย์ - ทฤษฎีสัมพันธภาพ ( ฯลฯ
  • 5. ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา หัวข้อโครงงาน การสารวจพืชผักผลไม้ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร ผู้จัดทา พัชรพร พัฒนาภารตี, กฤษณ์ ทิพย์คีรี, ศิริวัฒน์ คงเพชรพันธ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์วัชรี มุขประเสริฐ, อาจารย์มาฆะ ทิพย์คีรี, อาจารย์วิมลศรี สุวรรณรัตน์ โรงเรียน โรงเรียนสหศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร ปีการศึกษา 2542 บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “การสารวจพืชผักผลไม้ท้องถิ่น ในจังหวัด ชุมพร” จัดทาขึ้นเนื่องจากจังหวัดชุมพรที่สมาชิกในกลุ่มอาศัยอยู่ มีผืนดินอุดม สมบูรณ์ ฝนตกชุกตลอดปี พืชพันธุ์มีมากมาย ซึ่งอาจจะมีเหมือนกันหรือ แตกต่างกันกับท้องถิ่นอื่น และอาจจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงในปีต่อๆ ไปก็ได้ ดังนั้นเพื่อต้องการสารวจและรวบรวมพืชผักผลไม้ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร มาศึกษาข้อมูลของพืชชนิดนั้นๆ จึงทาการสารวจซึ่งมีวิธีดาเนินการดังนี้คือ กาหนดพื้นที่แบ่งเขตการสารวจบริเวณจังหวัดชุมพร รวบรวมข้อมูลจากการ สังเกตด้วยตนเอง จากการสัมภาษณ์ ซักถามชาวบ้านและศึกษาจากหนังสือ ประกอบการสารวจ นาข้อมูลที่ได้มาจาแนกประเภท บันทึกภาพ บันทึก รายละเอียดเกี่ยวกับพืชชนิดนั้นๆ ผลการดาเนินการพบว่า มีพืชผักผลไม้ ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร ที่สามารถรวบรวมได้จานวน 339 ชนิด จาแนก
  • 6. การใช้ประโยชน์ได้เป็น 5 ประเภท คือ พืชเศรษฐกิจ 33 ชนิด ผัก 58 ชนิด ผลไม้ 52 ชนิด ไม้ดอกไม้ประดับ 176 ชนิด และสมุนไพร 214 ชนิด ทาให้ได้ ทราบชนิดของพืชในท้องถิ่นแพร่หลาย ให้คนทั่วไปได้รู้จัก และให้ได้รับการ ปรับปรุงพัฒนาพันธุ์พืชต่อไป กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “การสารวจพืชผักผลไม้ท้องถิ่น ในจังหวัด ชุมพร” คณะผู้จัดทาขอขอบคุณอาจารย์วัชรี มุขประเสริฐ อาจารย์มาฆะ ทิพย์คีรีและอาจารย์วิมลศรี สุวรรณรัตน์ อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้คาปรึกษา แนะนา ขอขอบคุณอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสหศึกษา และผู้ปกครองของสมาชิก กลุ่มทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือสนับสนุน ตลอดทั้งชาวบ้านในท้องถิ่นและ ผู้รู้หลายท่านที่คณะผู้จัดทาได้สัมภาษณ์ ซักถาม จนกระทั่งงานสาเร็จด้วยดี คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณทุกท่านที่กล่าวไว้ ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 7. สารบัญ บทคัดย่อ................................................................................................. กิตติกรรมประกาศ.................................................................................. สารบัญภาพประกอบ.............................................................................. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน.............................................. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า................................................ สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า................................................. นิยามเชิงปฏิบัติการ..................................................................... ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า..................................................... ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ......................................................... บทที่ 2 เอกสาร....................................................................................... สภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดชุมพร........................................ ลักษณะภูมิประเทศ..................................................................... ลักษณะพื้นที่............................................................................... ลักษณะภูมิอากาศ....................................................................... ทรัพยากรธรรมชาติ..................................................................... บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา................................................. อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา............................................................ วิธีดาเนินการศึกษา.....................................................................
  • 8. บทที่ 4 ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา...................................... บาทที่ 5 สรุปผลการศึกษา...................................................................... สรุปผลการศึกษา........................................................................ ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน....................................................... ข้อเสนอแนะ...............................................................................
  • 9. สารบัญภาพประกอบ @ การเก็บข้อมูลจากชาวบ้าน @ การเดินทางสารวจรวบรวมข้อมูล @ การเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ในจังหวัดชุมพร @ การบันทึกภาพเก็บข้อมูล @ การจาแนกข้อมูล @ ตัวอย่างพืชในท้องถิ่น
  • 10. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน จังหวัดชุมพร ตั้งอยู่ทางภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย บนแหลม มลายู บริเวณคอคอดกระ มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก กล่าวคือ ขนาบด้วยทะเลและภูเขาทาให้มีฝนตกชุกตลอด ทั้งปี พื้นดินจึงอุดม สมบูรณ์มีพืชพันธุ์ต่างๆ ขึ้นอย่างมากมาย ประชากร จึงประกอบอาชีพ ทางการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนั้นวัฒนธรรมการบริโภคอาหารของ ชาวชุมพรเหมือนกับคนปักษ์ใต้ทั่วๆ ไปที่นิยมอาหารเผ็ดจัด จึงต้อง รับประทานพืชผักหลายชนิดเพื่อลดความเผ็ด ของอาหาร ในบรรดาพืชผัก ทั้งหลาย พบว่า มีพืชบางชนิดพบเฉพาะบริเวณจังหวัดชุมพรและจังหวัด ระนอง คือ ต้นเหรียง และต้นพูม ซึ่งเมื่อไปที่อื่นจะไม่พบพืชชนิดนี้ เนื่องจากการที่พบว่า จังหวัดชุมพรมีพืชที่แตกต่างจากที่อื่น เราจึงควร ศึกษา สารวจรวบรวม จะได้ทราบว่ามีพืชชนิดใดบ้างที่มี ในบริเวณจังหวัด ชุมพร ซึ่งพืชบางชนิดที่สารวจได้อาจจะไม่พบ ในบริเวณอื่นก็ได้ อีกทั้งจะได้ ทราบชนิด ลักษณะต่างๆ ของพืชที่สารวจได้มากขึ้น ซึ่งบางชนิดชาวชุมพร อาจจะไม่เคยได้ยินชื่อ หรือรู้จักมาก่อน จากการทาการสารวจรวบรวม จะทาให้ได้ทราบชนิดของพืช ในจังหวัดชุมพร ที่มีในปี พ.ศ.2542 ซึ่งไม่แน่ว่าต่อไปอีก 2–3 ปีข้างหน้า อาจจะมีพืชชนิดใหม่เกิดขึ้นจากฝีมือของเกษตรกรในจังหวัด ก็ไก้ และพืชที่ สารวจได้บางชนิดที่ไม่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป จะทาให้พืชเหล่านั้นเป็นที่รู้จัก กันอย่างแพร่หลายเพื่อผลที่ได้คือ การปรับปรุงพันธุ์ชนิดนั้น ให้สร้างรายได้ และเป็นที่ต้องการของท้องถิ่นอื่น เมื่อจังหวัดเราเป็นจังหวัดเกษตรกรรมแล้ว
  • 11. เราก็ควรที่จะช่วยพัฒนาด้านเกษตรกรรม ให้เจริญรุดหน้า และเป็นที่ยอมรับ ของจังหวัดอื่นๆ จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “การสารวจพืชผักผลไม้ ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร จัดทาขึ้นเพื่อสารวจและรวบรวมพืช ผัก ผลไม้ ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพรบางชนิดเท่าที่จะสารวจได้ และเพื่อนาพืชผัก ผลไม้ ท้องถิ่นที่สารวจได้ มาศึกษาข้อมูลของพืชชนิดนั้นๆ สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า จังหวัดชุมพรมีพืช ผัก ผลไม้ท้องถิ่นมากมายหลายชนิด และพืชชนิดต่างๆ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ นิยามเชิงปฏิบัติการ 1. พืชท้องถิ่นหมายถึง พืชที่ขึ้นมากในจังหวัดชุมพร 2. พืชเศรษฐกิจหมายถึง พืชที่ผลิตเพื่อการค้า เช่น มะพร้าว ปาล์ม กาแฟ 3. ผัก หมายถึง พืชที่ใช้เป็นอาหาร เช่น มะเขือ พริก 4. ผลไม้ หมายถึง พืชที่นาผลมารับประทาน เช่น ส้ม เงาะ 5. สมุนไพร หมายถึง พืชที่นามาใช้ประโยชน์ในการเป็นยารักษาโรค เช่น ต้นฟ้าทลายโจร 6. ไม้ดอกไม้ประดับ หมายถึง พืชที่ปลูกไว้เพื่อประดับตกแต่ง เช่น กุหลาบ 7. ท้องถิ่น หมายถึง บริเวณพื้นที่จังหวัดชุมพร
  • 12. ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. สถานที่ทาการสารวจ บริเวณจังหวัดชุมพร 2. ระยะเวลา วันที่ 1 มกราคม – 30 เมษายน 2542 3. พืชที่ศึกษา พืชที่ขึ้นในจังหวัดชุมพรและเป็นพืช ที่มีประโยชน์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบข้อมูลของพืชท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร 2. เป็นประโยชน์ทางการศึกษาค้นคว้าของคณะผู้จัดทาและผู้ที่สนใจ พืชท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร 3. พืชท้องถิ่นของจังหวัดชุมพรจะได้รับการส่งเสริม พัฒนา มากขึ้น กว่าเดิม 4. ทาให้ทราบว่าหลังจากการสารวจมีพืชต่างถิ่นอะไรบ้าง
  • 13. บทที่ 2 เอกสาร สภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดชุมพร จังหวัดชุมพรเป็นจังหวัดหนึ่งของภาคใต้ มีพื้นที่ 6,009,008 ตาราง กิโลเมตร ตั้งอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ 463 กิโลเมตร โดยทางรถยนต์ มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัด สุราษฎร์ธานี ทิศตะวันออกติดกับอ่าวไทยทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัด ระนองและประเทศพม่า ลักษณะภูมิประเทศ ทางทิศตะวันตกมีลักษณะเป็นที่สูง ประกอบด้วยภูเขา และป่าไม้ ทาง ทิศตะวันออกเป็นที่ราบ มีความอุดมสมบูรณ์มาก เหมาะ แก่การทาสวนผลไม้ เช่น มะพร้าว เงาะ ทุเรียน มังคุด กล้วย สับปะรด กาแฟ เป็นต้น จังหวัดชุมพร มีป่าสงวน 26 แห่ง มีแม่น้าสายสั้นๆ ไหลผ่าน หลายสาย ที่สาคัญได้แก่ แม่ น้าท่าตะเภา แม่น้าสวี และแม่น้าหลังสวน ลักษณะพื้นที่ จังหวัดชุมพรแบ่งสภาพพื้นที่ออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ๆ ดังนี้ 1. เขตพื้นที่ราบชายฝั่งทะเล ประกอบด้วยพื้นที่หาดทราย และสันหาด มีความยาวตลอดบริเวณชายฝั่งด้านตะวันออกของชายฝั่ง ตั้งแต่อาเภอปะทิวถึง อาเภอละแม ลักษณะดินเป็นดินทราย มีที่ราบน้าทะเล ขึ้นถึงที่ราบชายฝั่ง ทะเล เนื้อดินเป็นดินตะกอนพื้นที่บางส่วน เป็นป่าชายเลน 2. เขตที่ราบลอนลาด เป็นพื้นที่บริเวณตอนกลางของจังหวัด ประกอบด้วยพื้นที่บริเวณริมฝั่งแม่น้าและที่ดอนที่อยู่ติดบริเวณที่ราบชายฝั่ง
  • 14. ทะเล เนื้อดินส่วนใหญ่เป็นดินเนื้อหยาบ ดินปนทราย อาจพบลูกรังปน ใช้ใน การปลูกยางพารา ไม้ผล ปาล์มน้ามัน และพืชไร่ได้ดี 3. เขตพื้นที่ลาดเชิงเขาและเทือกเขา เป็นบริเวณด้านตะวันตกของ จังหวัด ประกอบด้วยเทือกเขาด้านตะวันตก มีสภาพเป็นลูกคลื่นลอนชัน เป็นแนวยาวตลอดเหนือจดใต้ ดินมีการระบายน้าได้ดี ใช้ปลูกยางพารา ปาล์ม น้ามัน กาแฟและพืชไร่ต่างๆ บริเวณทิวเขาในอาเภอ หลังสวน อาเภอพะโต๊ะ มีแร่ดีบุกที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ พื้นที่ดังกล่าว เมื่อก่อนมีสภาพเป็นป่าดงดิบ เป็นต้นกาเนิดแม่น้าลาธารของจังหวัด ปัจจุบันสภาพป่าได้ถูกทาลายลงมาก มีผลกระทบต่อเกษตรกรรมทาให้เกิดสภาวะแห้งแล้งและความแปรปรวน ของสภาพอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ เนื่องจากจังหวัดชุมพรตั้งอยู่บนคาบสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจากมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือและมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ทาให้ฝนตกชุกตลอดปี ประกอบกับอยู่ใกล้ทะเลจึงได้รับไอน้าและความชื้นจากทะเลอย่างเต็มที่ ทาให้ อากาศไม่ร้อนมากในฤดูร้อน มีลมพายุหมุน เขตร้อนที่พัดผ่าน ส่วนมากเป็น พายุดีเปรสชั่น แต่บางครั้งก็เป็นพายุโซนร้อนหรือไต้ฝุ่น ทาให้มีฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรงและเกิดสภาวะน้าท่วมฉับพลัน ทาอันตรายแก่ทรัพย์สิน เรือกสวนไร่นา พายุที่เคยพัดผ่านเข้ามาครั้งร้ายแรงที่สุด คือ พายุไต้ฝุ่นเกย์ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2532 ทรัพยากรธรรมชาติ จังหวัดชุมพรมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่ง ทามา หากินของประชากรในท้องถิ่น รายได้ส่วนใหญ่มาจาก การเกษตรกรรม ทรัพยากรที่สาคัญของจังหวัดได้แก่
  • 15. 1. ทรัพยากรป่าไม่ มีป่าไม้ 2 ชนิดคือ ป่าดิบชื้น และป่าชายเลน 2. ทรัพยากรน้า แหล่งน้าที่สาคัญได้แก่ คลองท่าแซะ คลอง รับร่อ แม่น้าชุมพร แม่น้าหลังสวน แม่น้าท่าตะเภา เป็นต้น 3. ทรัพยากรดิน ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนและดินเหนียว ปนทราย เหมาะแก่การเกษตรกรรม แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ - ดินที่เหมาะแก่การทานา พบในเขตที่ราบของ อาเภอสวี อาเภอ ทุ่งตะโก อาเภอหลังสวน และอาเภอละแม - ดินที่เหมาะแก่การปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น เป็นดินที่มีการระบายน้าได้ดี มีความอุดมสมบูรณ์ พบในพื้นที่มีความลาดชันเล็กน้อย ถึงลาดชันปานกลาง เหมาะแก่การปลูกทุเรียน เงาะ มังคุด ยางพารา ปาล์มน้ามัน กาแฟ มะพร้าว เป็นต้น ดินแบบนี้มีอยู่ทั่วไปตามที่ราบชายฝั่งทะเลในเขตอาเภอปะทิว อาเภอ เมือง อาเภอหลังสวน - ดินที่ไม่เหมาะสมแก่การเกษตรกรรม หากนาไปใช้ ในการ เกษตรกรรมต้องลงทุนในการปรับปรุงพื้นที่ ต้องปล่อยให้เป็นพื้นที่ ป่าไม้ เป็นพื้นที่บริเวณทิศตะวันตกของจังหวัดตามแนวเทือกเขาตะนาวศรี
  • 16. บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา 1. กล้องถ่ายรูป 2. แว่นขยาย 3. หนังสือต่างๆ เกี่ยวกับพืช ผัก ผลไม้ 4. สมุดจดบันทึกและปากกา วิธีดาเนินการศึกษา 1. กาหนดพื้นที่การสารวจชื่อพืช ผัก ผลไม้ท้องถิ่นในจังหวัดชุมพร โดยการแบ่งให้สมาชิกแต่ละคนสารวจในแต่ละขอบเขตของจังหวัดชุมพร ครอบคลุมพื้นที่ 8 อาเภอ 2. สารวจข้อมูลจาก 2.1 สารวจ สังเกตด้วยตนเอง 2.2 สัมภาษณ์ซักถามคุณครู ผู้ปกครอง และชาวบ้าน 2.3 ศึกษาจากหนังสือเกี่ยวกับจังหวัดชุมพรประกอบการสารวจ 3. สร้างเครื่องมือสาหรับบันทึกข้อมูล โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อพืช ผัก ผลไม้ท้องถิ่น ลักษณะทั่วไป ลักษณะเด่น ประเภทการใช้ประโยชน์ และ สิ่งอื่นๆ ที่อาจสังเกตพบ 4. กาหนดวิธีการบันทึกข้อมูล 4.1 บันทึกภาพ 4.2 จดบันทึก 5. นาชื่อพืชที่สารวจได้จากสมาชิกแต่ละคน มาตรวจสอบชนิด ที่ เหมือนกันหรือแตกต่างกัน จาแนกประเภท 6. อภิปราย สรุปข้อมูล
  • 17. บทที่ 4 ผลการศึกษา และอภิปรายผล ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง“การสารวจพืชผักผลไม้ท้องถิ่น ในจังหวัดชุมพร” จากการดาเนินการสารวจตามขั้นตอน ที่กาหนด ได้ข้อมูล ทั้งสิ้น 339 ชนิด พืชที่สารวจรวบรวมได้เรียงลาดับตามอักษรดังนี้ 1. ก้นจ้า 2. กระเจี๊ยบแดง 3. กระแตไต่หิน 4. กระถิน 5. กระท้อน 6. กระท่อม . . 339. เฮลิโคเนีย ในจานวนพืชทั้ง 339 ชนิด แบ่งตามการใช้ประโยชน์ได้ดังนี้ 1. พืชเศรษฐกิจ มี 33 ชนิด ได้แก่ กระท้อน กล้วย กาแฟ โกโก้ ชมพู่ม่าเหมี่ยว ทุเรียน นุ่น ปาล์มน้ามัน มันสาปะหลัง ยางพารา ละมุด ฟักแฟง มะพร้าว ลางสาด อภิปรายผล พืชเศรษฐกิจของจังหวัดชุมพรมีหลายชนิด เป็นพืชที่สาคัญเพราะว่า สามารถสร้างรายได้ให้กับชาวชุมพรเป็นอย่างมาก ได้แก่ ปาล์มน้ามัน กาแฟ และบางชนิดก็ขึ้นชื่อเป็นที่ต้องการของคนท้องถิ่น เช่น หมาก ใบเหลียง
  • 18. 2. ผัก มี 58 ชนิด ได้แก่ กระเจี๊ยบแดง กระถิน กล้วย กระเพรา กุ่มน้า ขจร ขมิ้น ข่า ข้าวโพด ขี้เหล็ก ขึ้นฉ่าย แค ชะพลู ชะอม ตะไคร้ ผักหวานบ้าน ไผ่ตง มะเขือ มะเขือขื่น มะเขือพวง มะเดื่อ พริกชี้ฟ้า พูมเพกา ฟัก ฟักทอง ฟักแฟง มะเขือชุมพร มะแว้งเครือ มะรุม แมงลัก ยอ ยาสูบ ลาเพ็ง เล็บครุฑใบเฟิร์น สะเดา สะตอ สะระแหน่ หอมแดง โหรพา อภิปรายผล ผักเป็นพืชชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกกันมากในจังหวัดชุมพร ทั้งนี้เนื่องจาก ชาวชุมพรนิยมรับประทานอาหารที่เผ็ดจัด จึงมักรับประทานผักเป็น ส่วนประกอบอาหาร เพื่อช่วยลดความเผ็ดจัดของอาหารใช้เป็นเครื่องเคียง รับประทานกับน้าพริก 3. ผลไม้ มี 52 ชนิดได้แก่ กระท้อน กล้วย ขนุน เงาะ ชา ชมพู่ ชมพู่พลาสติก ชมพู่ม่าเหมี่ยว ตะลิงปริง ตาล แตงโม ท้อ ทุเรียน นมแมว น้อยหน่า มะกอกน้า มะขาม มะขามป้อม มะม่วง มะม่วงหิมพานต์ มะละกอ มะสัง มะอึก มังคุด ส้มเขียวหวาน ส้มแป้น ส้มโอ สระ สังเกียรติ สับปะรด หมาก หมากเขียว หมากนวล อภิปรายผล จังหวัดชุมพรมีผลไม้ต่างๆ มากมาย มีทั้งให้ผลผลิตตลอดทั้งปี และ บางช่วงฤดูกาล แต่ที่สาคัญคือ ชาวชุมพรสามารถบริโภคผลไม้ ได้ตลอดทั้งปี เพราะมีผลไม้หลากหลายชนิดนั่นเอง ผลไม้บางชนิดยังมีชื่อเสียงสร้างรายได้ ให้กับจังหวัดเป็นอย่างมาก
  • 19. 4. ไม้ดอกไม้ประดับ มี 176 ชนิดได้แก่ กระแตไต่หิน กระทิง กระเทียมเถา การเวก การเกด กุมาริกา กุหลาบ กุหลาบเมาะลาเลิง เกล็ดกระโห้ด่าง โกฏจุฬาลัมพา โกสน ขจร ข่อย ข้าวหลาม ข้าหลวงหลังลาย ไข่ดาว เข็มอินโดนีเซีย คดดินสอ โป๊ยเซียนกุหลาบรามัน โป๊ยเซียนดาวพระเกตุโป๊ยเซียนคุณหญิงปราณีโป๊ยเซียนเพชรอดิศรโป๊ยเซียน อู่ทอง พุทธรักษาไทย มะลิซ้อน ลั่นทมขาว ลาเจียก ว่านมหาลาภ สารภี สาวน้อยปะแป้ง สิบสองปันนา สร้อยอินทนิล เสม็ดขาว แสงจันทร์...แอฟริ กันไวโอเลต เฮลิโคเนีย อภิปรายผล ไม้ดอกไม้ประดับเป็นพืชประเภทหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันชาวชุมพรนิยมนามา เพาะปลูกเป็นจานวนมาก จะเห็นได้ว่ามีพืชหลายชนิดที่นามาจากท้องถิ่นอื่น เหตุที่ปัจจุบันคนนิยมปลูกมากอาจเป็นเพราะพืชประเภทนี้มีความสวยงาม แต่ ละพันธุ์ก็ต่างกัน ทาให้คนที่สนใจนิยมปรับปรุงพันธุ์ให้เกิดความหลากหลาย รวมทั้งไม้ประดับบางชนิด ที่ผู้คนเชื่อว่า เป็นสิริมงคลในการปลูกไว้ประดับ บ้าน 6. สมุนไพร มี 214 ชนิด ได้แก่ กระเจี๊ยบแดง กระท่อม กระเทียมเถา ชุมเห็ดเล็ก ต้อยติ่ง ตะไคร้หอม ตะลิงปริง ผักหวานบ้าน ไผ่ป่า ฝิ่นต้น พญาไร้ใบ ฟ้าทลายโจร ว่านกาบหอย ใหญ่ มะขามแขก มะขามป้อม มะแว้งเครือ มะตูม มะยม ยูคาลิปตัส ราเพย ละหุ่ง สาวน้อยปะแป้ง เสมา แสงจันทร์ สะเดา สาบแล้งสาบกา หญ้าเจ้าชู้ หญ้าตีนกา หญ้าหนวดแมว หนามแดง หนุมานนั่งแท่น หนุมานประสานกาย ...หอมแดง หางนกยูง หิ่งเม่น หูกวาง โหรพา อ้อยแดง อัญชัน อินทนิลน้า อุตพิด
  • 20. อภิปรายผล สมุนไพรเป็นพืชที่พบมากที่สุดในจังหวัดชุมพรจากการสารวจครั้งนี้ เป็นพืชที่มีมาตั้งแต่สมัยอดีต และผูกพันกับคนในท้องถิ่นมากเพราะสมุนไพร ส่วนใหญ่จะเป็นพวกพืช ผัก ผลไม้ รวมทั้งไม้ดอก ไม้ประดับบางชนิด คนใน ท้องถิ่นเข้าใจรู้เรื่องในสรรพคุณดี ได้อาศัยภูมิปัญญาชาวบ้านในการจาแนก ประเภทของพืชที่เป็นสมุนไพร สมุนไพรเพิ่งได้รับความสนใจเมื่อไม่นานมานี้ ปัจจุบันได้ค้นพบ พืชสมุนไพรอีกมาก ที่ยังไม่มีผู้ใดรู้จักมาก่อน
  • 21. บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา จากการสารวจและรวบรวมชื่อพืช ผัก และผลไม้ท้องถิ่น ในจังหวัด ชุมพร สามารถรวบรวมได้ 339 ชนิด และจากการศึกษาข้อมูลของพืชแต่ละ ชนิด จาแนกประเภทตามการใช้ประโยชน์ ได้ 5 ประเภทดังนี้ คือ 1. พืชเศรษฐกิจ 33 ชนิด 2. ผัก 58 ชนิด 3. ผลไม้ 52 ชนิด 4. ไม้ดอกไม้ประดับ 176 ชนิด 5. สมุนไพร 214 ชนิด ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน 1. ได้ทราบชนิดของพืชท้องถิ่นของจังหวัดชุมพรเพิ่มมากขึ้น 2. ได้ทราบข้อมูลของพืชท้องถิ่นชนิดต่างๆ ที่สารวจได้ 3. เป็นการรวบรวมข้อมูลไว้เพื่อประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจเรื่องนี้ 4. ช่วยส่งเสริมให้พืชท้องถิ่นของจังหวัดชุมพรแพร่หลาย ให้คนทั่วไป รู้จักและให้ได้รับการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ให้ดียิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ 1. พืชท้องถิ่นในจังหวัดชุมพรยังมีอีกมากมายหลายชนิด จึงควรที่จะมี การสารวจและรวบรวมข้อมูลที่ยังไม่สามารถทาการสารวจ และรวบรวม ข้อมูลมาได้ 2. ผู้ที่สนใจควรจะทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพืชท้องถิ่น ของจังหวัดชุมพรทุกๆ 2 ปี เพื่อให้ทราบว่ามีพืชชนิดใด เพิ่มหรือลดไปบ้าง 3. ผู้สนใจอาจทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลพืชท้องถิ่นเกี่ยวกับ สิ่งอื่นๆ ที่น่าสนใจ
  • 22. เรื่อง แก้กระหายด้วยผลไม้ไทย ความเป็นมา ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีพืชพันธุ์อุดมสมบูรณ์ และ ขณะนี้ผลไม้ของไทยส่งขายต่างประเทศได้น้อย จึงทาให้มีผลไม้มากและราคา ถูก การนาผลไม้แปรรูป จะทาให้สามารถขายได้ราคา ดีขึ้น แต่ผลไม้บาง ชนิดนอกจากส่งขายไม่ได้แล้ว การนามาถนอมอาหารก็ขายได้ราคาไม่ค่อยดี เช่นกัน ข้าพเจ้าจึงเห็นว่าการนาผลไม้ดังกล่าว มาทาเป็นอาหารในรูปแบบ ต่างๆ น่าจะเป็นทางเลือกอีกอย่างหนึ่งสาหรับการแก้ปัญหาผลไม้ล้นตลาดได้ เช่น การทาผลไม้แช่อิ่ม การดอง ผลไม้ตากแห้ง ผลไม้กวน ตาส้มผลไม้ การทาขนม และการทาน้าผลไม้ เป็นต้น และจากการที่ผลไม้ในหมู่บ้านของ ข้าพเจ้า มีมากซึ่งได้แก่ ฝรั่ง มะละกอ มะม่วง มะยม และสับปะรด ข้าพเจ้าคิดว่าผลไม้ที่มีในหมู่บ้านน่าจะนามาทาเป็นน้าผลไม้ได้ ข้าพเจ้า จึงได้จัดทาโครงงานนี้ จุดประสงค์ 1. เพื่อทาน้าผลไม้จากผลไม้ 4 ชนิดคือ ฝรั่ง มะม่วง มะยม และ สับปะรด 2. เพื่อเปรียบเทียบความนิยมดื่มน้าผลไม้ทั้ง 4 ชนิด การดาเนินงาน 1. วางแผนการทดลอง โดยกาหนดปฏิทินการทดลอง 2. ศึกษาสูตรและวิธีการทาน้าผลไม้ จากเอกสาร หนังสือ และผู้มีประสบการณ์ในการทาน้าผลไม้ในหมู่บ้าน 3. ออกแบบเก็บข้อมูลความนิยม โดยกาหนดเป็นแบบสอบถามแบบ เลือกตอบ
  • 23. 4. นาข้อมูลที่ได้มาศึกษา จาแนกและวิเคราะห์ 5. นาเสนอผลงานในรูปตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพ ฯลฯ 6. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 7. เขียนรายงาน การนาเสนอผลงาน 1. นาเสนอรายงานเป็นรูปเล่ม 2. นาเสนอโดยจัดป้ายนิเทศ แล้วนาไปจัดนิทรรศการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทาให้ทราบความนิยมดื่มน้าผลไม้แต่ละประเภท 2. ทราบกลุ่มคนที่ดื่มน้าผลไม้แต่ละชนิด 3. เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพขายน้าผลไม้
  • 24. เรื่อง ไซจับแมลงสาบ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน อนามัยในการบริโภคเป็นสิ่งจาเป็นต่อชีวิตและสุขภาพ การรับประทานอาหารที่ไม่สะอาดจะทาให้เกิดโรคต่างๆ ส่วนหนึ่ง ที่ทาให้ อาหารไม่สะอาดและทาให้เกิดโรคต่างๆ ก็คือตัวพาหะนาโรค เช่น แมลงสาบ ที่อาศัยอยู่ในห้องครัวและที่ต่างๆ แมลงสาบเป็นสัตว์ที่สกปรกนาเชื้อโรคและ น่ารังเกียจ มันชอบไต่ตามอุปกรณ์ต่างๆ ในห้องครัว เวลาทาอาหารจะทาให้ อาหารไม่สะอาดและอาจเกิดโรคได้ ดังนั้น เราจึงคิดหาวิธีในการกาจัดแมลงสาบ เพื่อความปลอดภัยในการ บริโภค จึงได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ดักจับแมลงสาบ ซึ่งได้ความคิด มาจากไซที่ใช้ ดักจับปลา ไซมีคุณสมบัติที่ทาให้ปลาเข้าไปแล้วออกมาไม่ได้ จึงนาวิธีการ เดียวกันนี้มาใช้ประดิษฐ์อุปกรณ์ดังกล่าว วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ใช้ในการดักจับแมลงสาบ 2. เพื่อศึกษาอาหารที่ใช้ในการดักจับแมลงสาบได้ดี สมมติฐาน อุปกรณ์ไซดักจับแมลงสาบ สามารถจับแมลงสาบได้และไม่ทาให้ แมลงสาบหลุดออกมาได้ โดยอาหารที่แมลงสาบชอบและใช้เป็นเหยื่อล่อ แมลงสาบที่ดีคืออาหารที่มีกลิ่นเหม็นฉุน ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
  • 25. ตัวแปรต้น ได้แก่ ไซดักจับแมลงสาบที่มีอาหารมีกลิ่นเหม็นฉุน (ปลาหมึกแห้ง) อาหารที่รสจืด(ข้าว) อาหารที่มีรสหวาน (ขนมทองหยอด) ตัวแปรตาม ได้แก่ การดักจับแมลงสาบของไซ และจานวนของ แมลงสาบที่เข้ามากินเหยื่อแต่ละชนิด ตัวแปรควบคุม ได้แก่ อุปกรณ์ที่ใช้ในการดักจับแมลงมีขนาดเท่ากัน สถานที่ทดลอง เวลาในการทดลอง ขอบเขตของการศึกษา สถานที่ในการทดลอง บ้านเลขที่ 299/2 หมู่ 2 ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ระยะเวลาของการศึกษา วันที่ 18 กรกฎาคม 2546 และวันที่ 30 กันยายน 2546 อุปกรณ์ในการศึกษา 1. ขวดน้าโพลาลีส 3 ขวด 2. กล่องปีโป้ 18 กล่อง 3. อาหารประเภทต่างๆ ดังนี้ ปลาหมึกแห้ง ข้าวสวย ทองหยอด 4. กรรไกร มีด 5. กาวปืน วิธีการศึกษา วิธีการดาเนินการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ประดิษฐ์ไซจับแมลงสาบ 2. ทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบซึ่งการศึกษา แต่ละขั้นตอนมีรายละเอียดดังนี้
  • 26. การทดลองที่ 1 ประดิษฐ์ไซจับแมลงสาบ 1. นาขวดโพลาลิสมาเจาะรูด้านข้างซ้ายและขวาข้างละ3 รู ขนาดเท่ากับกล่องขนมปีโป้ 2. นากล่องขนมปีโป้มาตัดให้เป็นฝอยๆ 3. นากล่องขนมปีโป้มาใส่กับขวดน้าโพลาลิสที่เจาะรูไว้แล้ว 4. นาอุปกรณ์ที่ได้ไปดักจับแมลงสาบ โดยวางไว้ในห้องครัว ในจุดเดียวกันทั้ง 3 ชุดการทดลอง การทดลองที่ 2 ทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ 1. นาอาหารชนิดต่าง ๆ คืออาหารที่มีกลิ่นเหม็นฉุน (ปลาหมึก แห้ง) อาหารที่มีรสจืด(ข้าว) อาหารที่มีรสหวาน (ขนมทองหยอด) ใส่ลงใน ไซจับแมลงสาบที่ประดิษฐ์ 2. นาอุปกรณ์ทั้งหมดไปทดลองโดยการวางทิ้งไว้ในห้องครัว ที่บ้านที่ใช้ในการทดลองเวลา 1 คืน 3. ดูปริมาณของแมลงสาบในไซจับแมลงสาบ ทดลอง 3 ครั้ง เว้นระยะ 2 วันต่อครั้ง บันทึกผล ผลการศึกษา ผลการทดลองที่ 1 ประดิษฐ์ไซดักจับแมลง ได้อุปกรณ์ที่ใช้ในการดักจับแมลงสาบได้จริง เมื่อแมลงสาบ เข้าไปอยู่ในไซดักจับแมลงสาบแล้วไม่สามารถออกมาข้างนอกได้อีก และมี ราคาถูกเพราะใช้อุปกรณ์/วัสดุเหลือใช้ ผลการทดลองที่ 2 ทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ
  • 27. ตารางบันทึกผลการทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ อาหารที่ใช้ จานวนแมลงสาบ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย อาหารมีกลิ่นเหม็นฉุน(ปลาหมึกแห้ง) 5 ตัว 3 ตัว 4 ตัว 4 ตัว อาหารมีรสจืด(ข้าวสวย) 1 ตัว - 2 ตัว 1 ตัว อาหารที่มีรสหวาน(ขนมทองหยอด) 2 ตัว 2 ตัว 1 ตัว 2 ตัว สรุปผลการศึกษา จากการทดลองที่ 1 ประดิษฐ์ไซจับแมลงสาบ จากการทดลองประดิษฐ์ไซดักจับแมลงสาบ พบว่าสามารถ ดักจับแมลงสาบได้ เพราะแมลงสาบที่เข้าไปแล้วไม่สามารถออกมา ได้อีก จากการทดลองที่ 2 ทดลองอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ จากการทดลองพบว่าอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบ ในอุปกรณ์ไซจับแมลงสาบที่สามารถจับแมลงสาบได้จานวนมาก ได้แก่ อาหารที่มีกลิ่นเหม็นฉุน (ปลาหมึกแห้ง) ครั้งที่ 1 จานวน 5 ตัว ครั้งที่ 2 จานวน 3 ตัว ครั้งที่ 3 จานวน 4 ตัว ค่าเฉลี่ย 4 ตัว รองลงมาคืออาหาร รองลงมาคืออาหารที่มีรสหวาน(ทองหยอด) ครั้งที่ 1 จานวน 2 ตัว ครั้งที่ 2 จานวน 2 ตัว ครั้งที่ 3 จานวน 1 ตัว ค่าเฉลี่ย 2 ตัว และอันดับสุดท้ายคือ อาหารที่มีรสจืด(ข้าวสวย) ครั้งที่ 1 จานวน 1 ตัว ครั้งที่ 2 ไม่มีเลย ครั้งที่ 3 จานวน 2 ตัว ค่าเฉลี่ย 1 ตัว สรุปได้ว่าอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงสาบได้ดี คือ อาหารที่มีกลิ่นเหม็น(ปลาหมึกแห้ง)
  • 28. ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ช่วยลดปัญหาแมลงสาบในบ้านได้ 2. สามารถใช้อุปกรณ์ไซดักจับแมลงสาบได้ในที่ต่างๆ ที่พบว่า มีแมลงสาบอาศัยอยู่ได้ 3. อุปกรณ์ดังกล่าวประดิษฐ์ขึ้นเองได้ง่าย ราคาถูก เพราะนาวัสดุเหลือ ใช้มาทา ปราศจากสารเคมี ข้อเสนอแนะ ควรมีการเปลี่ยนแปลงอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อบ้าง
  • 29. เรื่อง วัสดุแปรรูปพาราเรียน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากจังหวัดตาก มีการปลูกไม้ผลมากมายหลายชนิด เช่น ทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง สับปะรด เมื่อถึงฤดูที่มีผลไม้ เปลือกผลไม้จะ ถูกทิ้งเป็นขยะอย่างไร้ประโยชน์ และสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะทุเรียน ซึ่งเป็นผลไม้ที่มีเปลือกหนาและมีกลิ่นแรง จากการเรียนใน กลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตได้เรียนรู้เกี่ยวกับการนากระดาษที่ใช้ แล้วมาทาเป็นกระดาษประกอบกับผู้ปกครองมีสวนยางมีความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การทายางแผ่น กลุ่ม ของข้าพเจ้าจึงสนใจที่จะนาเปลือกทุเรียนมาแปรสภาพ โดยน้ายางพาราเป็นส่วนผสมเพื่อแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และหวังว่าจะได้ วัสดุ แปรรูปที่เป็นประโยชน์ และสามารถนาไปจัดทาเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ ต่างๆได้ ขึ้นมาแทน จึงได้ทดลองว่ามีความเป็นไปได้หรือไม่ โดยนาเปลือก ทุเรียนมาปั่นให้ละเอียดแล้วทดลองนาไปผสมกับน้ายางสด ปรากฏว่ามีความ เป็นไปได้ จึงคิดทาโครงงานนี้ขึ้นมา วัตถุประสงค์ 1.เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากเปลือกทุเรียน 2.เพื่อศึกษาส่วนผสมของเนื้อเยื่อและเส้นใยจากเปลือกทุเรียนกับน้า ยางพารา ในการจัดทาเป็นวัสดุแปรรูปที่สามารถนาไปจัดทาผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ต่างๆ สมมติฐานการศึกษา เนื้อเยื่อหรือเส้นใยจากเปลือกทุเรียนผสมกับน้ายางพารา ในอัตราส่วน ที่เหมาะสม จะได้วัสดุแปรรูปที่สามารถไปจัดทาผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ได้
  • 30. ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 1. ศึกษาส่วนผสมของเนื้อเยื่อของเปลือกทุเรียนกับน้ายางพารา 1.1 ตัวแปรต้น น้าหนักเนื้อเยื่อของเปลือกทุเรียน 1.2 ตัวแปรควบคุม น้าหนักยางพารา ความละเอียด ของเนื้อเยื่อ วิธีการทาความเข้มข้นของน้ายางพารา 1.3 ตัวแปรตาม ลักษณะของเนื้อวัสดุ และความคงทนของวัสดุ 1.4 นิยามเชิงปฏิบัติการ 1.4.1. ลักษณะของเนื้อวัสดุ หมายถึง เนื้อวัสดุมีเนื้อเยื่อของ เปลือกทุเรียนกับน้ายางพาราผสมกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน 1.4.2 ความทนของวัสดุ หมายถึง เมื่อนาวัสดุที่แปรรูปขนาด กว้าง 1นิ้ว ยาว 5 นิ้ว มาถ่วงด้วยน้าหนัก สามารถรับน้าหนักได้อย่างน้อย 500 กรัม เมื่อจับให้โค้งงอ พับไม่หักหรือฉีกขาด 2. ศึกษาส่วนผสมของเส้นใยจากเปลือกทุเรียนกับน้ายางพารา 2.1 ตัวแปรต้น อัตราส่วนผสมของน้าหนักนายางพารา 2.2 ตัวแปรควบคุม น้าหนักเส้นใยของเปลือกทุเรียนความละเอียด ของเส้นใย ความเข้มข้นของน้ายางพาราสด 2.3 ตัวแปรตาม ลักษณะของเนื้อวัสดุ และความคงทน ของวัสดุ 2.4 นิยามเชิงปฏิบัติ 2.4.1 ลักษณะของเนื้อวัสดุ หมายถึง เนื้อวัสดุมีเส้นใยของเปลือก ทุเรียนกับน้ายางพาราผสมกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน
  • 31. 2.4.2 ความคงทนของวัสดุ หมายถึง เมื่อนาวัสดุที่แปรรูปขนาด กว้าง 1 นิ้ว ยาว 5 นิ้ว มาถ่วงด้วยน้าหนัก สามารถรับน้าหนักได้อย่างน้อย 500 กรัม เมื่อจับให้โค้งงอพับไม่หักหรือฉีกขาด ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. เนื้อเยื้อและเส้นใยของเปลือกทุเรียนกับน้ายางพารา 2. ศึกษาส่วนผสมของเนื้อเยื่อและเส้นใยของเปลือกทุเรียนกับน้า ยางพารา 3. ศึกษาและปฏิบัติ ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนและ บ้านผู้ปกครอง 4. ระยะเวลาที่ศึกษา 10 กันยายน – พฤศจิกายน 2546 สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาส่วนผสมในการจัดทาวัสดุแปรรูปจากเปลือกทุเรียนกับน้า ยางพาราสด ซึ่งทาการศึกษาเป็น2 กรณีคือ ใช้เนื้อเยื่อโดยรวมผสมกับน้า ยางพาราสด และใช้เส้นใยผสมกับน้ายางพาราสด ปรากฏว่า กรณีใช้เนื้อเยื่อ โดยรวมผสมกับน้ายางพาราสด ส่วนผสม ที่เหมาะสม คือ 4:1 โดยน้าหนัก และส่วนผสมกรณีใช้เส้นใย กับน้ายางพาราสด คือ น้ายางพาราสด: น้า คือ 5:1:2 โดยน้าหนัก อภิปรายผลการศึกษา จากการศึกษานาเนื้อเยื่อและเส้นใยจากเปลือกทุเรียน ซึ่งเป็นวัสดุเหลือ ใช้ผสมกับน้ายางพาราสดมาจัดทาเป็นวัสดุแปรรูปเพื่อนาไปใช้ทาผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้สามารถทาได้เมื่อใช้อัตราส่วน ในการผสมที่เหมาะสม ซึ่งเป็น ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ข้อเสนอแนะ
  • 32. 1. เปลือกทุเรียนที่ควรนามาใช้ควรเป็นทุเรียนพันธุ์หมอนทอง เนื่องจากมีเปลือกหนา 2. การผสมวัสดุควรผสมให้เข้ากันโดยเร็วไม่ควรใช้เวลานาน จะทาให้ น้ายางรวมตัวจับกันเป็นแท่งๆเนื้อเยื่อจะประสานกันได้ไม่ดี 3. การทาให้แห้งควรพลิกทุก 3 ชั่วโมง(สังเกตความร้อนแรงของ แสงแดด) 4. ควรศึกษาการป้องกันการเกิดราของวัสดุเพิ่มเติม(ระยะ3 เดือน วัสดุ ที่จัดทาไว้ไม่มีรา) 5. ศึกษาการทาวัสดุให้มีสีต่างๆนอกเหนือจากธรรมชาติ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ลดขยะที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม 2. เพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์และรายได้ 3. รู้จักวิธีการนาวัสดุเหลือใช้มาทาให้เป็นประโยชน์
  • 33. เรื่อง ความลับของน้าซาวข้าว ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ประชากรในภาคเหนือส่วนใหญ่นิยมบริโภคข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก ก่อนที่จะนาข้าวไปทาให้สุกได้ จะต้องนาข้าวที่แช่ไว้มารินน้าออกก่อน ซึ่งคน ส่วนใหญ่เรียกขั้นตอนนี้ว่า "การซาวข้าว" และน้า ที่ได้จากการซาวข้าว เรียกว่า "น้าซาวข้าว" และเมื่อได้น้าซาวข้าวมา ก็จะนามาใช้ประโยชน์ใน การรดน้าต้นไม้ การล้างผักเพื่อช่วยลดสารเคมีที่ตกค้างในผัก ตลอดจนการ หมักดองที่ช่วยในการรักษาสภาพของวัตถุดิบและทาให้วัตถุดิบมีรสเปรี้ยว และจากการที่ได้เห็นการดองฝรั่งของคนในหมู่บ้านจะเติมน้าซาวข้าวลงไปใน ไหดองด้วยหลังจาก ที่ดองเสร็จก็พบว่า ฝรั่งที่ดองมีรสเปรี้ยวขึ้นมาก ข้าพเจ้า จึงนามาคุย และปรึกษากับเพื่อนในกลุ่มว่า การใส่น้าซาวข้าวมีผลทาให้ฝรั่งมี รสเปรี้ยวจริงหรือไม่ แล้วจะต้องใช้ปริมาณเกลือเท่าใดจึงจะให้การดองด้วย น้าซาวข้าวเกิดผลดีที่สุดจากข้อสงสัยต่างๆ เหล่านี้ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ คิดค้นการทาโครงงานนี้ขึ้นมา ขอบเขตของการทาการศึกษาค้นคว้า 1. ศึกษาเปรียบเทียบค่าความเป็นกรด-เบส ในการดองระหว่างเกลือ ละลายน้าซาวข้าวและเกลือละลายน้า
  • 34. 2. ศึกษาความสามารถในการดองโดยใช้เกลือในปริมาณต่างๆ ดังนี้ 0 กรัม , 5 กรัม , 15 กรัม ,25 กรัม , 35 กรัม ,45 กรัม ,55 กรัม , 65 กรัม และ 75 กรัม ตามลาดับ 3. ศึกษาการดองโดยใช้วัตถุดิบใน คือ ผักกาดแก้ว แตงกวา ฝรั่ง สมมุติฐานของการศึกษา ตอนที่ 1 วัตถุดิบทุกชนิดที่ดองด้วยน้าซาวข้าวทิ้งไว้ จะให้รสเปรี้ยวกว่า น้าเกลือ ตอนที่ 2 ปริมาณของเกลือที่ใช้ในการดอง ถ้าเกลือลดลงจะมีผลทาให้ วัตถุดิบที่ดองมีความเป็นกลางมากขึ้น ตัวแปร ตัวแปรต้น ตอนที่ 1 ฝรั่ง แตงกวา ผักกาดแก้ว ตอนที่ 2 เกลือในปริมาณต่าง ๆ ดังนี้ 75 กรัม 65 กรัม 55 กรัม 45 กรัม 35 กรัม 25 กรัม 15 กรัม 5 กรัม และ 0 กรัมตามลาดับ ตัวแปรตาม ค่า pH (ความเป็นกรด-เบส) ที่วัดได้ในแต่ละครั้ง ตัวแปรควบคุม ตอนที่1 ปริมาณเกลือ ปริมาณน้าซาวข้าว และปริมาณ น้าสะอาด ตอนที่ 2 วัตถุดิบที่ใช้คือ ฝรั่ง ปริมาณน้าซาวข้าว และปริมาณน้า สะอาด อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 1. วัสดุ
  • 35. 1.1 น้าสะอาด 1.2 ฝรั่ง 1.3 น้าซาวข้าว 1.4 เกลือ 1.5 ผักกาดแก้ว 1.6 แตงกวา 2. อุปกรณ์ อุปกรณ์เตรียมวัสดุ 1. ตะกร้า 2. มีด อุปกรณ์ในการดอง 1. ขวดโหล 2 ใบ 2. บีกเกอร์ ขนาด 600 มิลลิลิตร 2 ใบ 3. แท่งแก้วคนสาร 4. ตาชั่ง 5. ช้อนตักสาร 3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ 1. เครื่องวัดค่า pH 2. บีกเกอร์ ขนาด 50 มิลลิลิตร 4. วิธีการทดลอง 1. ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ 1.1 นาผักกาดแก้ว แตงกวา ฝรั่ง มาล้างให้สะอาด 1.2 นาผักกาดแก้ว แตงกวา ฝรั่ง ที่ล้างแล้วมาผึ่งให้น้าแห้ง 1.3 นาผักกาดแก้ว แตงกวา ฝรั่ง มาชั่งเตรียมไว้เป็นส่วนๆ ละ0.5 กิโลกรัม สังเกตลักษณะของ ผักกาดแก้ว แตงกวา และฝรั่ง 2. ขั้นตอนการดอง แบ่งเป็น 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติระหว่าเกลือละลาย ในน้าสะอาด กับน้าซาวข้าวโดยเปลี่ยนวัตถุดิบ 1. นาผักกาดแก้ว แตงกวา และฝรั่ง 0.5 กิโลกรัม จัดเรียง ในขวดโหล ซึ่งใบที่ 1 และ 2 คือผักกาดแก้ว ใบที่ 3 และ 4 คือแตงกวา ใบที่ 5 และ 6 คือฝรั่ง 2. นาน้าซาวข้าวมาละลายเกลือ 75 กรัม
  • 36. 3. เทน้าซาวข้าวในขั้นที่ 2 ลงในขวดโหลใบที่ 1,3,5 แล้วปิดฝา ให้สนิททิ้งไว้ 1 สัปดาห์ สังเกตพร้อมบันทึกผลทุกวัน 4. นาน้าสะอาดมาละลายเกลือ 75 กรัม 5. เทน้าสะอาดในขั้นที่ 4 ลงในขวดโหลใบที่ 2,4,6 แล้วปิดฝา ให้สนิททิ้งไว้ 1 สัปดาห์ สังเกตพร้อมบันทึกผลทุกวัน 6. เมื่อครบ 1 สัปดาห์ นาน้าดองของขวดโหลแต่ละใบ มาวัดค่า pH ด้วยเครื่องวัด pH แล้วบันทึกผล 7. สังเกตผลที่ได้แล้ววัดค่า pH ของน้าดองในขวดโหลแต่ละใบมา บันทึกผลเปรียบเทียบ ตอนที่ 2 ศึกษาความเป็นกรด-เบส โดยเปลี่ยนปริมาณเกลือครั้งละ 10 กรัม โดยใช้ฝรั่งเป็นตัวควบคุม 1. น้าซาวข้าว 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ละลายเกลือ 65 กรัม เตรียมไว้ 2. น้าสะอาด 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ละลายเกลือ 65 กรัม เตรียมไว้ 3. นาฝรั่งที่จัดเตรียมไว้ 0.5 กิโลกรัม จัดเรียงในขวดโหล ใบที่ 1 4. นาฝรั่งที่จัดเตรียมไว้ 0.5 กิโลกรัม จัดเรียงในขวดโหล ใบที่ 2 5. นาน้าซาวข้าวที่ละลายเกลือเตรียมไว้มาเทลงในขวดโหลใบที่ 1 ปิดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ สังเกตพร้อมบันทึกทุกวัน 6. นาน้าสะอาดที่ละลายเกลือเตรียมไว้ในขั้นที่ 1 มาเทลง ในขวดโหลใบที่ 2 ปิดฝาให้สนิททิ้งไว้ 1 สัปดาห์ สังเกตพร้อมบันทึกทุกวัน 7. เมื่อครบ 1 สัปดาห์ นาน้าดองของขวดโหลแต่ละใบ มาวัดค่า pH แล้วบันทึกผล 8. สังเกตผลที่ได้ แล้วนาค่า pH ของน้าดองในขวดโหล ทั้ง 2 ใบ มาเปรียบเทียบผล แล้วบันทึกผล
  • 37. 9. ทาตามวิธีการจากข้อ 1-9 แต่ลดปริมาณเกลือ ครั้งละ 10 กรัม จนไม่ใช้เกลือเลยในการดองครั้งสุดท้าย 10. นาผลที่ได้ในแต่ละครั้งมาเปรียบเทียบค่า pH เพื่อทดสอบความ เป็นกรด-เบส สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลอง จะสรุปได้ว่า การดองด้วยเกลือละลาย น้าซาวข้าว จะได้รสเปรี้ยวกว่าการดองด้วยเกลือละลายน้าสะอาด โดยไม่ต้องใส่สาร เพิ่มรสชาติความเปรี้ยวลงไปในขณะดองอีก ซึ่ง แม้เราจะเปลี่ยนวัตถุดิบ จากผักกาดแก้ว เป็นแตงกวาและฝรั่ง ผลที่ได้ น้าซาวข้าวก็ยังให้ความเปรี้ยว กว่าน้าสะอาดเสมอ และปริมาณเกลือ ที่เหมาะสมในการใช้ดองด้วยน้าซาว ข้าวให้เกิดรสชาติเปรี้ยวได้ดี และเหมาะสมที่สุดในวัตถุดิบชนิดเดียวกันก็คือ ปริมาณเกลือ 45-35 กรัม โดยจะให้ค่าความเป็นกรดอยู่ที่ 3.70-3.76 ppm ถือว่า เป็นความเปรี้ยวที่เหมาะสม ซึ่งไม่เปรี้ยวเกินไปหรือจืดเกินไปที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากการหมักดอง จะมีเชื้อแบคทีเรียอยู่ ซึ่งถ้าหากเราใส่เกลือมากเกินไป ก็จะทาให้แบคทีเรียตายได้ แต่หากเกลือน้อยไปก็จะทาให้แบคทีเรียมากทาให้ ผักเหี่ยวดูไม่น่ารับประทานหรืออาจติดเชื้อราได้ ดังนั้นเราจึงต้องหาปริมาณ ของเกลือที่เหมาะสมต่อการดอง นอกจากนี้การดองด้วยเกลือละลายน้าซาวข้าวยังสามารถรักษาสภาพ ของวัตถุดิบให้ดูเต่งตึงไม่เหี่ยวไม่ช้าเหมือนการดองด้วยเกลือละลายน้าสะอาด และไม่นิ่มหรือแข็งจนเกินไป ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.สามารถนาไปแก้ไขปัญหาการพบสารเคมีในของดอง
  • 38. ในชีวิตประจาวันได้ 2. สามารถนาภูมิปัญญาชาวบ้านมาเผยแพร่ให้ผู้คนได้รู้ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ข้อเสนอแนะ 1. เราอาจนาการทดลองนี้ไปใช้กับข้าวพันธ์อื่นๆ ได้ตามสายพันธุ์ที่มี อยู่ในบ้านของคุณ 2. เราอาจนาการทดลองนี้ไปใช้ในวัตถุดิบชนิดอื่นๆ ได้ เช่น ดองกระท้อน ดองมะม่วง
  • 39. เรื่อง พิชิตเหาด้วยลูกตีนเป็ด ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากเหาเป็นปัญหาที่สาคัญมากในกลุ่ม นักเรียนตั้งแต่ ชั้นปฐมวัย จนถึงประถมศึกษามีนักเรียนติด เหาประมาณ 80-90 % เหาเป็นปรสิตที่ดูด เลือดคนทาให้เกิดอาการคัน นอกจากนี้ยังทาให้เด็กที่เป็นเหาเสียสมาธิในการ เรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหะนาไปติดผู้อื่นต่อไป การกาจัดเหา โดยทั่วไปมักจะ ใช้สารเคมีที่เป็นอันตราย ซึ่งมีผลต่อผิวหนัง เข้าตาอาจจะ ทาให้ตาอักเสบถึงบอดได้ ถ้ามีอาการแพ้อาจจะมีอันตรายถึงชีวิต นอกจากนี้กระทรวงสาธารณสุขได้ส่งเสริมให้ประชาชน ใช้สมุนไพร ในท้องถิ่น ผู้จัดทาจึงได้มองเห็นความสาคัญของปัญหานี้จึงได้คิดค้นหาวิธีที่ จะกาจัดเหาโดยการใช้สมุนไพรซึ่งเป็นทรัพยากร ที่มีอยู่ในท้องถิ่นและมี สรรพคุณที่จะสามารถกาจัดเหา ได้ทั้งยังไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้ จุดมุ่งหมาย 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการ ฆ่าเหาของเมล็ดลูกตีนเป็ดน้า 2. เพื่อให้ได้สารที่มีประสิทธิภาพในการกาจัดเหา ราคา ประหยัดและ ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้ 3. เพื่อส่งเสริมการนาพืชสมุนไพรในท้องถิ่น มาใช้ให้เกิดประโยชน์ และเป็นการส่งเสริม ภูมิปัญญาของคน ไทย
  • 40. สมมุติฐาน เมล็ดของลูกตีนเป็ดน้า มีประสิทธิภาพ ในการกาจัดเหาได้ ตัวแปรที่ใช้ในการทดลอง ตัวแปรต้น เมล็ดลูกตีนเป็ดน้า ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพในการกาจัดเหา ตัวแปรควบคุม จานวนสารที่ใช้หยดบนตัวเหา , จานวน ตัวเหาแต่ ละชุด,วิธีการกรองสาร,วิธีการหมักสาร ,วิธีการบดสาร วิธีการชโลม ผมผู้ทดลอง วิธีการทดลองและผลการทดลอง 1. ทดสอบคุณสมบัติในการกาจัดเหาของเมล็ด ลูกตีนเป็ดน้าและศึกษา อัตราส่วนที่เหมาะสมในการ นามากาจัดเหา พบว่า เหาที่หยดสารชุดที่ 1 (เมล็ด+น้าไม่ต้ม) เหาตาย หมดใช้เวลาเฉลี่ย 6 นาที รองลงมาคือ เหาที่หยดสาร ชุดที่ 3 (น้ามันในเมล็ด) เหาตายหมดใช้เวลาเฉลี่ย 13 นาที และ ตายช้าที่สุดคือ เหาที่หยดสารชุดที่ 2 (เมล็ด+น้า+ต้ม) ใช้ เวลาทั้งหมด 71 นาที 2. ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกาจัดเหา ของเมล็ด ลูกตีนเป็ดน้าผลแก่ ผลปานกลาง ผลอ่อน พบว่า เหาที่หยดสารจากเมล็ดลูก ตีนเป็ดน้าผลแก่จะตายเร็วที่สุดใช้เวลาเฉลี่ย 6 นาที รองลงมาคือ เหาที่หยดด้วย เมล็ดลูกตีนเป็ดน้าผลปานกลางใช้เวลาเฉลี่ย 11นาที และช้าที่สุดคือ เมล็ดจาก ผลอ่อนเหาจะตาย ในเวลาเฉลี่ย 21 นาที 3. เพื่อศึกษาปฏิกิริยาของสารที่มีผลต่อผิวหนังของผู้ทดลอง
  • 41. (อาสาสมัคร) พบว่า เมื่อนามาทดสอบกับผิวหนังของผู้ทดลองบริเวณ ใต้ท้องแขน จานวน 2 กลุ่มๆ ละ 15 คน เป็นเวลา 2 ชั่วโมง ผลปกติไม่มี ปฏิกิริยาใดๆต่อผิวหนัง ผู้ทดลอง 4. ศึกษาระยะเวลาการตายของเหา เมื่อนาสารมาชโลมผมของผู้ทดลอง พบว่า เมื่อชโลมผมผู้ทดลองศึกษาการตายของเหา ทุก 1 ชั่วโมงๆละ 10 ตัว พบว่าในเวลา 4 ชั่วโมง เหาตายทั้งหมด 10 ตัว คิดเป็น 100 % พบว่า เมื่อ ชโลมผมผู้ทดลองศึกษาการตายของเหาทุก 1 ชั่วโมงๆ ละ 10 ตัว พบว่า ในเวลา 4 ชั่วโมง เหาตายทั้งหมด 10 ตัว คิดเป็น 100 % สรุปผลการทดลอง 1.เมล็ดลูกตีนเป็ดน้าผลแก่บดละเอียดผสมน้า อัตราส่วน เมล็ด : น้า = 30 g : 30 cm 3 หรือ 1:1 (น้าหนัก : ปริมาตร) ไม่หมัก ฆ่าเหาได้ดีที่สุด และดีกว่าอัตราส่วนอื่นใช้เวลาเฉลี่ยประมาณ 5 นาที เหาจะตายทั้งหมด 2. เมล็ดลูกตีนเป็ดน้าไม่มีปฏิกิริยาใดๆ ต่อผิวหนังของผู้ทดลอง 3. เมล็ดลูกตีนเป็ดน้าอัตราส่วนเมล็ด:น้า = 1:1 เมื่อนาไปฆ่าเหา ผู้ทดลองใช้เวลาชโลมผมนาน 6 ชั่วโมง เท่านั้นเหาจะตายทั้งหมด และไข่ จะฝ่อ ทั้งหมด 4. เมล็ดลูกตีนเป็ดน้ามีประสิทธิภาพในการ กาจัดเหาดีกว่า ยาฆ่าเหา ที่เป็นสารเคมีที่วางขาย ตามท้องตลาด และดีกว่าการกาจัดเหาโดยใช้ ใบน้อยหน่า คือ ใช้ระยะเวลาในการชโลมผม น้อยกว่า และมีความปลอดภัย สูงกว่า 5. ศึกษาระยะเวลาในการหมักสาร จากเมล็ดลูกตีนเป็ดน้า ที่เหมาะสม ในการกาจัดเหา พบว่า สารชุดที่หมักไว้ 0 ชั่วโมง (ไม่หมักสาร) ฆ่าเหาได้ดี ที่สุดใช้เวลา 5 นาที รองลงมาคือ หมักไว้ ในเวลา 1,2,3 ชั่วโมง คือฆ่าเหาตาย ในระยะเวลา 7,8,10 นาที ตามลาดับ