SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
Télécharger pour lire hors ligne
เรี ยงความเรื่ อง เศรษฐศาสตร์ เชิงพุทธ
เสนอ ผศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน                                              วิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพระพุทธศาสนา
                                                  เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ

         พุทธเศรษฐศาสตร์ คือ             การประยุกต์แนวความคิดทางศาสนาพุทธเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์มาใช้อธิบาย
หลักการและแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ เป็ นแนวทางใหม่ในการทาความเข้าใจเศรษฐศาตร์                  ไม่ได้มีขอโต้แย้งมากมาย
                                                                                                    ้
อะไรนักเกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห์ที่นกเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่ในปัจจุบนใช้อยูการนาเอาวิธีการอนุมาณเชิงตรรกะ
                                      ั                           ั      ่
เข้ามาใช้ในวิชาเศรษฐศาสตร์ เช่นเดียวกับการนาไปใช้ในวิชาอื่น ๆ แต่ขอสมมุติข้นพื้นฐานบางประการเกี่ยวกับ
                                                                  ้        ั
ธรรมชาติของมนุษย์ซ่ ึงนักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักใช้ยงไม่ได้รับการตรวจสอบอย่างเพียงพอนักเศรษฐศาสตร์กระแส
                                                 ั
หลักส่ วนมากไม่ได้ให้ความสนใจเท่าที่ควรในประเด็นนี้ส่วนใหญ่จะยอมรับไปโดยปริ ยาย และนักเศรษฐศาสตร์กได้
                                                                                                  ็
สร้างเครื่ องมือการวิเคราะห์ข้ ึนบนรากฐานที่เปราะบาง ผลที่ตามมาคือข้อสรุ ปส่ วนใหญ่ที่ได้จากกระบวนการวิเคราะห์
ทางเศรษฐศาสตร์ไม่สามารถเผชิญกับการท้าทายจากภาวะวิกฤตได้ขอสมมุติพ้นฐานบางส่ วนที่สร้างขึ้นมาจาก
                                                        ้        ื
เศรษฐศาสตร์แบบดั้งเดิมที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของมนุษย์น้ นไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่เป็ นจริ งและ
                                                          ั
บางครั้งก็ขดแย้งกับกฎธรรมชาติ ซึ่งทาให้พลังในการอรรถาธิบายของเศรษฐศาสตร์แบบเดิมอ่อนลงไปมากปัจจุบนนี้
           ั                                                                                    ั
วิชาเศรษฐศาสตร์ที่เรารู ้จกกันอยูเ่ ป็ นวิชาเศรษฐศาสตร์แบบตะวันตกเมื่อพูดถึงเศรษฐศาสตร์และเรื่ องราวเนื้อหาวิชา
                          ั
เศรษฐศาสตร์ เราก็ใช้ภาษาเศรษฐศาสตร์แบบตะวันตก เมื่อคิดถึงเรื่ องเศรษฐศาสตร์ เราก็คิดในกรอบความคิดของ
เศรษฐศาสตร์แบบตะวันตกด้วย ดังนั้น ถ้าจะมาพูดถึงเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ก็ยากที่จะทาตัวเองให้พนออกไปจาก
                                                                                        ้
กรอบความคิดของเศรษฐศาสตร์และภาษาเศรษฐศาสตร์แบบตะวันตกนั้น                   เพราะฉะนั้นการพูดถึงเศรษฐศาสตร์แนว
พุทธก็อาจจะเป็ นการพูดถึงพระพุทธศาสนาด้วยภาษาเศรษฐศาสตร์ตะวันตกภายในกรอบความคิด ของเศรษฐศาสตร์
ตะวันตกนั้นเอง

                                                                                                     ็
         เศรษฐศาสตร์น้ นได้กล่าวกันมาว่า เป็ นสังคมศาสตร์ที่เป็ นวิทยาศาสตร์มากที่สุด และเศรษฐศาสตร์กมีความ
                       ั
ภูมิใจในเรื่ องนี้ดวยว่า ตนเป็ นวิทยาการที่เป็ นวิทยาศาสตร์มากที่สุด เอาแต่สิ่งที่วดได้ คานวณได้ จนกระทังมีผกล่าวว่า
                   ้                                                               ั                    ่ ู้
เศรษฐศาสตร์น้ ีเป็ นศาสตร์แห่งตัวเลยมีแต่สมการล้วนๆในการพยายามที่จะเป็ นวิทยาศาสตร์น้ ี          เศรษฐศาสตร์กเ็ ลย
พยายามตัดเรื่ องคุณค่าที่เป็ นนามธรรมออกไปให้หมดเพราะคานวณไม่ได้ จะทาให้ตนเองเป็ น value-free คือเป็ นศาสตร์
                                     ็
ที่เป็ นอิสระ หรื อปลอดจากคุณค่า แต่กมีฝ่ายตรงข้าม ซึ่งเป็ นนักวิจารณ์เศรษฐศาสตร์ หรื อแม้แต่นกเศรษฐศาสตร์เอง
                                                                                              ั
บางคนบอกว่า ความจริ งแล้วเศรษฐศาสตร์น้ ีเป็ นสังคมศาสตร์ที่ข้ ึนต่อ value มากที่สุด เรี ยกว่าเป็ น value-dependent
                                                                                                 ั ่
มากที่สุด ในบรรดาสังคมศาสตร์ท้ งหลาย จะเป็ นวิทยาศาสตร์ได้อย่างไร เพราะจุดเริ่ มของเศรษฐศาสตร์น้ นอยูที่ความ
                               ั
ต้องการของคน ความต้องการของคนนี้เป็ นคุณค่าอยูในจิตใจ แล้วในเวลาเดียวกัน จุดหมายของเศรษฐศาสตร์กเ็ พื่อ
                                              ่
สนองความต้องการให้เกิดความพอใจความพอใจนี้กเ็ ป็ นคุณค่าอยูในจิตใจของคน เศรษฐศาสตร์จึงทั้งขึ้นต้นและลงท้าย
                                                          ่
ด้วยเรื่ องคุณค่าในจิตใจ

โดย นายสุรวุฒิ นิ่มทิม 5310501355 E21
เรี ยงความเรื่ อง เศรษฐศาสตร์ เชิงพุทธ
เสนอ ผศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน                                               วิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพระพุทธศาสนา
           เมื่อประมาณ 18 ปี มาแล้ว นักเศรษฐศาสตร์ฝรั่งคนหนึ่งชื่อว่า นาย อี.เอฟ ชูมาเกอร์ (E.F.Schumacher) ได้พิมพ์
หนังสื อออกมาเล่มหนึ่ง ชื่อว่า Small Is Beautiful มีผแปลเป็ นภาษาไทยดูเหมือนจะใช้ชื่อว่า จิ๋วแต่แจ๋ ว ในหนังสื อเล่มนี้
                                                     ู้
บทหนึ่งคือ บทที่ 4 ได้ต้ งชื่อว่า "Buddhist Economics" แปลว่า เศรษฐศาสตร์ชาวพุทธ หนังสื อเล่มนี้ และโดยเฉพาะ
                         ั
บทความบทนี้ ได้ทาให้คนจานวนมากทั้งในตะวันออก และตะวันตกเกิดความสนใจในเรื่ องพุทธศาสนาด้านที่เกี่ยวข้อง
กับเศรษฐกิจขึ้นมา จึงนับว่าท่านชูมาเกอร์น้ ีเป็ นผูมีอุปการคุณอย่างหนึ่ง ในการที่ทาให้เกิดความสนใจพุทธศาสนาในแง่
                                                   ้
เศรษฐศาสตร์ข้ ึน หันกลับมาพูดถึงเศรษฐศาสตร์ในปัจจุบน เศรษฐศาสตร์ในปัจจุบนนี้ได้แยกเอากิจกรรมทางเศรษฐกิจ
                                                   ั                    ั
อกมาพิจารณาต่างหากโดดเดี่ยวจากกิจกรรมด้านอื่นๆของชีวิตมนุษย์ และจากวิทยาการด้านอื่นๆ เขาเรี ยกว่าเป็ นไปตาม
แนวของ specialization คือ ความชานาญพิเศษในทางวิชาการ หรื อความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ซึ่งเป็ นลักษณะของความ
เจริ ญในยุคอุตสาหกรรม เพราะฉะนั้น ในการพิจารณากิจกรรมของมนุษย์ เศรษฐศาสตร์จึงได้พยายามตัดนัย หรื อแง่
ความหมายอื่นๆ ที่ไม่ใช่เรื่ องทางเศรษฐกิจออกไปเสี ย เมื่อจะพิจารณาเรื่ องกิจกรรมการดาเนินชีวิตอะไรก็ตามของ
มนุษย์ ก็จะพิจารณาในแง่เดียว คือแง่ที่เกี่ยวกับวิชาการของตนเองเท่านั้น การที่เศรษฐศาสตร์แยกตัวออกมาโดดเดี่ยว
อย่างนี้นี่แหละ นับว่าเป็ นสาเหตุสาคัญที่ได้ทาให้เกิดปัญหาขึ้นมา ซึ่งจะต้องมาพิจารณาว่า ทัศนะของพุทธศาสนาเป็ น
อย่างไร?

           ถ้ามองในแง่ของพุทธศาสนา เศรษฐศาสตร์แนวพุทธไม่แยกโดดเดี่ยวจากความรู ้และความจัดเจนด้านอื่นๆของ
มนุษย์        กิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่แยกโดดเดี่ยวจากกิจกรรมด้านอื่นๆในการแก้ปัญหาของมนุษย์                  เพราะฉะนั้น
เศรษฐศาสตร์ไม่เป็ นศาสตร์ที่เสร็ จสิ้ นในตัวโดยลาพัง แต่อิงอาศัยกันกับวิทยาการด้านอื่นๆ ในระบบความสัมพันธ์ของ
ชีวิตและสังคม ถ้ามีกิจกรรมอันใดอันหนึ่งขึ้นมา เราก็สามารถมองได้หลายแง่ ยกตัวอย่างเช่น การโฆษณา การโฆษณา
เป็ นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่ปรากฏในสังคม และเป็ นกิจกรรมที่เป็ นเรื่ องของเศรษฐกิจได้แน่นอน ในแง่ของเศรษฐกิจนั้น
การโฆษณาเป็ นการชักจูงใจให้คนมาซื้อของ ซึ่งจะทาให้ขายของได้ดีข้ ึน แต่ในเวลาเดียวกัน ก็เป็ นการเพิ่มต้นทุนทาให้
ของนั้นแพงขึ้นไปด้วย

           ถ้าพิจารณาในแง่สงคม การโฆษณาก็เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับค่านิยมของสังคมด้วย โดยที่วาคนที่จะโฆษณานั้นเขา
                           ั                                                                ่
มักจะอาศัยค่านิยมของสังคมนั้นเอง                                                                                ั
                                           มาเป็ นเครื่ องช่วยในการที่จะจัดวิธีการโฆษณาให้ดึงดูดใจคนโดยสัมพันธ์กบ
จิตวิทยา      คือใช้จิตวิทยาสังคมเป็ นเครื่ องมือเอาค่านิยมไปใช้ในทางเศรษฐกิจ      ในทางจริ ยธรรม       การโฆษณาก็มี
ความหมายเหมือนกัน เช่น อาจจะต้องคิดว่า วิธีการโฆษณาของบริ ษท หรื อกิจการ หรื อธุรกิจนั้น เป็ นการชักจูงให้คน
                                                           ั
มัวเมาในวัตถุมากขึ้นหรื อไม่ อาจจะมีผลไม่ดีทางจิตใจอะไรบ้าง หรื ออาจจะใช้ภาพที่ไม่เหมาะไม่ควร ทาให้เกิดผลเสี ย
ทางศีลธรรมอย่างไร หรื อทางฝ่ ายการเมืองก็มีเรื่ องต้องพิจารณาว่า จะมีนโยบายอย่างไรเกี่ยวกับการโฆษณานี้ เช่นว่า จะ
ควรควบคุมหรื อไม่อย่างไร เพื่อผลดีในทางเศรษฐกิจก็ตาม หรื อในทางศีลธรรมก็ตามแม้แต่ในทางการศึกษาก็ตอง
                                                                                                 ้

โดย นายสุรวุฒิ นิ่มทิม 5310501355 E21
เรี ยงความเรื่ อง เศรษฐศาสตร์ เชิงพุทธ
เสนอ ผศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน                                                 วิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพระพุทธศาสนา
เกี่ยวข้อง เพราะอาจจะต้องพยายามหาทางสอนคนให้รู้เท่าทัน ให้พจารณาการโฆษณาอย่างมีวิจารณญาณว่า ควรจะเชื่อ
                                                           ิ
คาโฆษณาแค่ไหน ซึ่งเมื่อให้การศึกษาดีแล้ว ก็มีผลย้อนกลับมาทางเศรษฐกิจอีก ทาให้คนนั้นมีการตัดสิ นใจที่ดีข้ ึนใน
การที่จะซื้อข้าวของ เป็ นต้น อันนี้กเ็ ป็ นเรื่ องที่วา กิจกรรมต่างๆ ในสังคมมนุษย์น้ นมีแง่พิจารณาหลายแง่ ซึ่งสัมพันธ์โยง
                                                      ่                              ั
กันไปหมด จะพิจารณาแง่หนึ่งแง่เดียวไม่ได้

          เราสามารถทาให้กิจกรรมในทางเศรษฐกิจทุกอย่าง เป็ นกิจกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตลอดเวลา และนี่
เป็ นทางหนึ่งที่จะทาให้เศรษฐศาสาตร์มีคุณค่าที่แท้จริ ง ในการที่จะแก้ปัญหาของมนุษย์ คือ ให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจทุก
อย่าง เป็ นกิจกรรมในการเสริ มสร้างคุณภาพชีวตไปด้วยพร้อมกัน เมื่อว่าให้ถกแท้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ปฏิบติอย่าง
                                              ิ                           ู                              ั
                                                                              ่
ถูกต้องย่อมเป็ นกิจกรรมที่เป็ นไปเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาศักยภาพอยูแล้วในตัวอันนี้ถือว่าเป็ นสาระสาคัญ
ของเรื่ องเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ




โดย นายสุรวุฒิ นิ่มทิม 5310501355 E21

Contenu connexe

Tendances

ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
Gawewat Dechaapinun
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
Anchalee BuddhaBucha
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 

Tendances (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 

En vedette

พุทธเศรษฐศาสตร์ แก้จนด้วยธรรมะ
พุทธเศรษฐศาสตร์ แก้จนด้วยธรรมะพุทธเศรษฐศาสตร์ แก้จนด้วยธรรมะ
พุทธเศรษฐศาสตร์ แก้จนด้วยธรรมะ
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_03. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
Kaka619
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
kruudompcccr
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
Makiya Khompong
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
teerachon
 

En vedette (8)

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
 
พุทธเศรษฐศาสตร์ แก้จนด้วยธรรมะ
พุทธเศรษฐศาสตร์ แก้จนด้วยธรรมะพุทธเศรษฐศาสตร์ แก้จนด้วยธรรมะ
พุทธเศรษฐศาสตร์ แก้จนด้วยธรรมะ
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_03. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 

Similaire à เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
jo
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
sunisasa
 
Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2
ratthirod
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
Daungthip Pansomboon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ENooilada
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
banlangkhao
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
Pornthip Tanamai
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Wongduean Phumnoi
 

Similaire à เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Plus de Kasetsart University

การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
Kasetsart University
 
Hw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateHw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing update
Kasetsart University
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
Kasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
Kasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
Kasetsart University
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Kasetsart University
 

Plus de Kasetsart University (20)

ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
 
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUสรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
 
Report stell2
Report stell2Report stell2
Report stell2
 
Soil triaxial data Group 1-3
Soil triaxial data Group 1-3 Soil triaxial data Group 1-3
Soil triaxial data Group 1-3
 
Triaxcial test
Triaxcial testTriaxcial test
Triaxcial test
 
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
 
Calender2555
Calender2555Calender2555
Calender2555
 
Hw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateHw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing update
 
Applied hydrology
Applied hydrologyApplied hydrology
Applied hydrology
 
Applied hydrology nsn
Applied hydrology nsnApplied hydrology nsn
Applied hydrology nsn
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 
Wave 1
Wave 1Wave 1
Wave 1
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Compaction test
Compaction testCompaction test
Compaction test
 
Compaction test data sheet
Compaction test data sheetCompaction test data sheet
Compaction test data sheet
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
 
Grain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.NimtimGrain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.Nimtim
 
Compaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.NimtimCompaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.Nimtim
 

เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ

  • 1. เรี ยงความเรื่ อง เศรษฐศาสตร์ เชิงพุทธ เสนอ ผศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน วิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพระพุทธศาสนา เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ พุทธเศรษฐศาสตร์ คือ การประยุกต์แนวความคิดทางศาสนาพุทธเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์มาใช้อธิบาย หลักการและแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ เป็ นแนวทางใหม่ในการทาความเข้าใจเศรษฐศาตร์ ไม่ได้มีขอโต้แย้งมากมาย ้ อะไรนักเกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห์ที่นกเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่ในปัจจุบนใช้อยูการนาเอาวิธีการอนุมาณเชิงตรรกะ ั ั ่ เข้ามาใช้ในวิชาเศรษฐศาสตร์ เช่นเดียวกับการนาไปใช้ในวิชาอื่น ๆ แต่ขอสมมุติข้นพื้นฐานบางประการเกี่ยวกับ ้ ั ธรรมชาติของมนุษย์ซ่ ึงนักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักใช้ยงไม่ได้รับการตรวจสอบอย่างเพียงพอนักเศรษฐศาสตร์กระแส ั หลักส่ วนมากไม่ได้ให้ความสนใจเท่าที่ควรในประเด็นนี้ส่วนใหญ่จะยอมรับไปโดยปริ ยาย และนักเศรษฐศาสตร์กได้ ็ สร้างเครื่ องมือการวิเคราะห์ข้ ึนบนรากฐานที่เปราะบาง ผลที่ตามมาคือข้อสรุ ปส่ วนใหญ่ที่ได้จากกระบวนการวิเคราะห์ ทางเศรษฐศาสตร์ไม่สามารถเผชิญกับการท้าทายจากภาวะวิกฤตได้ขอสมมุติพ้นฐานบางส่ วนที่สร้างขึ้นมาจาก ้ ื เศรษฐศาสตร์แบบดั้งเดิมที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของมนุษย์น้ นไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่เป็ นจริ งและ ั บางครั้งก็ขดแย้งกับกฎธรรมชาติ ซึ่งทาให้พลังในการอรรถาธิบายของเศรษฐศาสตร์แบบเดิมอ่อนลงไปมากปัจจุบนนี้ ั ั วิชาเศรษฐศาสตร์ที่เรารู ้จกกันอยูเ่ ป็ นวิชาเศรษฐศาสตร์แบบตะวันตกเมื่อพูดถึงเศรษฐศาสตร์และเรื่ องราวเนื้อหาวิชา ั เศรษฐศาสตร์ เราก็ใช้ภาษาเศรษฐศาสตร์แบบตะวันตก เมื่อคิดถึงเรื่ องเศรษฐศาสตร์ เราก็คิดในกรอบความคิดของ เศรษฐศาสตร์แบบตะวันตกด้วย ดังนั้น ถ้าจะมาพูดถึงเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ก็ยากที่จะทาตัวเองให้พนออกไปจาก ้ กรอบความคิดของเศรษฐศาสตร์และภาษาเศรษฐศาสตร์แบบตะวันตกนั้น เพราะฉะนั้นการพูดถึงเศรษฐศาสตร์แนว พุทธก็อาจจะเป็ นการพูดถึงพระพุทธศาสนาด้วยภาษาเศรษฐศาสตร์ตะวันตกภายในกรอบความคิด ของเศรษฐศาสตร์ ตะวันตกนั้นเอง ็ เศรษฐศาสตร์น้ นได้กล่าวกันมาว่า เป็ นสังคมศาสตร์ที่เป็ นวิทยาศาสตร์มากที่สุด และเศรษฐศาสตร์กมีความ ั ภูมิใจในเรื่ องนี้ดวยว่า ตนเป็ นวิทยาการที่เป็ นวิทยาศาสตร์มากที่สุด เอาแต่สิ่งที่วดได้ คานวณได้ จนกระทังมีผกล่าวว่า ้ ั ่ ู้ เศรษฐศาสตร์น้ ีเป็ นศาสตร์แห่งตัวเลยมีแต่สมการล้วนๆในการพยายามที่จะเป็ นวิทยาศาสตร์น้ ี เศรษฐศาสตร์กเ็ ลย พยายามตัดเรื่ องคุณค่าที่เป็ นนามธรรมออกไปให้หมดเพราะคานวณไม่ได้ จะทาให้ตนเองเป็ น value-free คือเป็ นศาสตร์ ็ ที่เป็ นอิสระ หรื อปลอดจากคุณค่า แต่กมีฝ่ายตรงข้าม ซึ่งเป็ นนักวิจารณ์เศรษฐศาสตร์ หรื อแม้แต่นกเศรษฐศาสตร์เอง ั บางคนบอกว่า ความจริ งแล้วเศรษฐศาสตร์น้ ีเป็ นสังคมศาสตร์ที่ข้ ึนต่อ value มากที่สุด เรี ยกว่าเป็ น value-dependent ั ่ มากที่สุด ในบรรดาสังคมศาสตร์ท้ งหลาย จะเป็ นวิทยาศาสตร์ได้อย่างไร เพราะจุดเริ่ มของเศรษฐศาสตร์น้ นอยูที่ความ ั ต้องการของคน ความต้องการของคนนี้เป็ นคุณค่าอยูในจิตใจ แล้วในเวลาเดียวกัน จุดหมายของเศรษฐศาสตร์กเ็ พื่อ ่ สนองความต้องการให้เกิดความพอใจความพอใจนี้กเ็ ป็ นคุณค่าอยูในจิตใจของคน เศรษฐศาสตร์จึงทั้งขึ้นต้นและลงท้าย ่ ด้วยเรื่ องคุณค่าในจิตใจ โดย นายสุรวุฒิ นิ่มทิม 5310501355 E21
  • 2. เรี ยงความเรื่ อง เศรษฐศาสตร์ เชิงพุทธ เสนอ ผศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน วิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพระพุทธศาสนา เมื่อประมาณ 18 ปี มาแล้ว นักเศรษฐศาสตร์ฝรั่งคนหนึ่งชื่อว่า นาย อี.เอฟ ชูมาเกอร์ (E.F.Schumacher) ได้พิมพ์ หนังสื อออกมาเล่มหนึ่ง ชื่อว่า Small Is Beautiful มีผแปลเป็ นภาษาไทยดูเหมือนจะใช้ชื่อว่า จิ๋วแต่แจ๋ ว ในหนังสื อเล่มนี้ ู้ บทหนึ่งคือ บทที่ 4 ได้ต้ งชื่อว่า "Buddhist Economics" แปลว่า เศรษฐศาสตร์ชาวพุทธ หนังสื อเล่มนี้ และโดยเฉพาะ ั บทความบทนี้ ได้ทาให้คนจานวนมากทั้งในตะวันออก และตะวันตกเกิดความสนใจในเรื่ องพุทธศาสนาด้านที่เกี่ยวข้อง กับเศรษฐกิจขึ้นมา จึงนับว่าท่านชูมาเกอร์น้ ีเป็ นผูมีอุปการคุณอย่างหนึ่ง ในการที่ทาให้เกิดความสนใจพุทธศาสนาในแง่ ้ เศรษฐศาสตร์ข้ ึน หันกลับมาพูดถึงเศรษฐศาสตร์ในปัจจุบน เศรษฐศาสตร์ในปัจจุบนนี้ได้แยกเอากิจกรรมทางเศรษฐกิจ ั ั อกมาพิจารณาต่างหากโดดเดี่ยวจากกิจกรรมด้านอื่นๆของชีวิตมนุษย์ และจากวิทยาการด้านอื่นๆ เขาเรี ยกว่าเป็ นไปตาม แนวของ specialization คือ ความชานาญพิเศษในทางวิชาการ หรื อความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ซึ่งเป็ นลักษณะของความ เจริ ญในยุคอุตสาหกรรม เพราะฉะนั้น ในการพิจารณากิจกรรมของมนุษย์ เศรษฐศาสตร์จึงได้พยายามตัดนัย หรื อแง่ ความหมายอื่นๆ ที่ไม่ใช่เรื่ องทางเศรษฐกิจออกไปเสี ย เมื่อจะพิจารณาเรื่ องกิจกรรมการดาเนินชีวิตอะไรก็ตามของ มนุษย์ ก็จะพิจารณาในแง่เดียว คือแง่ที่เกี่ยวกับวิชาการของตนเองเท่านั้น การที่เศรษฐศาสตร์แยกตัวออกมาโดดเดี่ยว อย่างนี้นี่แหละ นับว่าเป็ นสาเหตุสาคัญที่ได้ทาให้เกิดปัญหาขึ้นมา ซึ่งจะต้องมาพิจารณาว่า ทัศนะของพุทธศาสนาเป็ น อย่างไร? ถ้ามองในแง่ของพุทธศาสนา เศรษฐศาสตร์แนวพุทธไม่แยกโดดเดี่ยวจากความรู ้และความจัดเจนด้านอื่นๆของ มนุษย์ กิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่แยกโดดเดี่ยวจากกิจกรรมด้านอื่นๆในการแก้ปัญหาของมนุษย์ เพราะฉะนั้น เศรษฐศาสตร์ไม่เป็ นศาสตร์ที่เสร็ จสิ้ นในตัวโดยลาพัง แต่อิงอาศัยกันกับวิทยาการด้านอื่นๆ ในระบบความสัมพันธ์ของ ชีวิตและสังคม ถ้ามีกิจกรรมอันใดอันหนึ่งขึ้นมา เราก็สามารถมองได้หลายแง่ ยกตัวอย่างเช่น การโฆษณา การโฆษณา เป็ นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่ปรากฏในสังคม และเป็ นกิจกรรมที่เป็ นเรื่ องของเศรษฐกิจได้แน่นอน ในแง่ของเศรษฐกิจนั้น การโฆษณาเป็ นการชักจูงใจให้คนมาซื้อของ ซึ่งจะทาให้ขายของได้ดีข้ ึน แต่ในเวลาเดียวกัน ก็เป็ นการเพิ่มต้นทุนทาให้ ของนั้นแพงขึ้นไปด้วย ถ้าพิจารณาในแง่สงคม การโฆษณาก็เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับค่านิยมของสังคมด้วย โดยที่วาคนที่จะโฆษณานั้นเขา ั ่ มักจะอาศัยค่านิยมของสังคมนั้นเอง ั มาเป็ นเครื่ องช่วยในการที่จะจัดวิธีการโฆษณาให้ดึงดูดใจคนโดยสัมพันธ์กบ จิตวิทยา คือใช้จิตวิทยาสังคมเป็ นเครื่ องมือเอาค่านิยมไปใช้ในทางเศรษฐกิจ ในทางจริ ยธรรม การโฆษณาก็มี ความหมายเหมือนกัน เช่น อาจจะต้องคิดว่า วิธีการโฆษณาของบริ ษท หรื อกิจการ หรื อธุรกิจนั้น เป็ นการชักจูงให้คน ั มัวเมาในวัตถุมากขึ้นหรื อไม่ อาจจะมีผลไม่ดีทางจิตใจอะไรบ้าง หรื ออาจจะใช้ภาพที่ไม่เหมาะไม่ควร ทาให้เกิดผลเสี ย ทางศีลธรรมอย่างไร หรื อทางฝ่ ายการเมืองก็มีเรื่ องต้องพิจารณาว่า จะมีนโยบายอย่างไรเกี่ยวกับการโฆษณานี้ เช่นว่า จะ ควรควบคุมหรื อไม่อย่างไร เพื่อผลดีในทางเศรษฐกิจก็ตาม หรื อในทางศีลธรรมก็ตามแม้แต่ในทางการศึกษาก็ตอง ้ โดย นายสุรวุฒิ นิ่มทิม 5310501355 E21
  • 3. เรี ยงความเรื่ อง เศรษฐศาสตร์ เชิงพุทธ เสนอ ผศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน วิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพระพุทธศาสนา เกี่ยวข้อง เพราะอาจจะต้องพยายามหาทางสอนคนให้รู้เท่าทัน ให้พจารณาการโฆษณาอย่างมีวิจารณญาณว่า ควรจะเชื่อ ิ คาโฆษณาแค่ไหน ซึ่งเมื่อให้การศึกษาดีแล้ว ก็มีผลย้อนกลับมาทางเศรษฐกิจอีก ทาให้คนนั้นมีการตัดสิ นใจที่ดีข้ ึนใน การที่จะซื้อข้าวของ เป็ นต้น อันนี้กเ็ ป็ นเรื่ องที่วา กิจกรรมต่างๆ ในสังคมมนุษย์น้ นมีแง่พิจารณาหลายแง่ ซึ่งสัมพันธ์โยง ่ ั กันไปหมด จะพิจารณาแง่หนึ่งแง่เดียวไม่ได้ เราสามารถทาให้กิจกรรมในทางเศรษฐกิจทุกอย่าง เป็ นกิจกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตลอดเวลา และนี่ เป็ นทางหนึ่งที่จะทาให้เศรษฐศาสาตร์มีคุณค่าที่แท้จริ ง ในการที่จะแก้ปัญหาของมนุษย์ คือ ให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจทุก อย่าง เป็ นกิจกรรมในการเสริ มสร้างคุณภาพชีวตไปด้วยพร้อมกัน เมื่อว่าให้ถกแท้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ปฏิบติอย่าง ิ ู ั ่ ถูกต้องย่อมเป็ นกิจกรรมที่เป็ นไปเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาศักยภาพอยูแล้วในตัวอันนี้ถือว่าเป็ นสาระสาคัญ ของเรื่ องเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ โดย นายสุรวุฒิ นิ่มทิม 5310501355 E21