SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
1
แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา
เทคโนโลยีและสารสนเทศและการสื่อสาร6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
การทางานของระบบสมองและการควบคุมอารมณ์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย นันทพงศ์ พิลัยลาภ เลขที่ 20 ม.6/6
ชื่อ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นาย นันทพงศ์พิลัยลาภ เลขที่ 20ม.6/6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
การทางานของระบบสมองและการควบคุมอารมณ์
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
Brain system and controlled an emotion.
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภททฤษฎี
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย นันทพงศ์พิลัยลาภ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
การจัดทาโครงงานครั้งนี้มีจุดประสงค์สร้างทฤษฎีการควบคุมอารมณ์ โดยการศึกษาการทางานของสมอง
ในชีวิตประจาวันของเรามีสิ่งเกิดขึ้นมากมายหลายๆคนอาจคิดไม่ถึงว่าเราสามารถควบคุมสมองแต่ดันถูกอารมณ์ควบคุม
แทนสิ่งที่เป็นแบบนั้นเพราะสมองมีโครงสร้างที่สลับซับซ้อนอย่างมากที่เกินกว่าเราจะเข้าใจสิ่งที่เราทาได้ก็คือการหยุดยั้งอ
ารมณ์ไม่ให้กระทบต่อผู้อื่นและก่อให้เกิดความขัดแย้ง
ท้ายสุดท้ายนี่ผู้จัดทาหวังว่าอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาเป็นอย่างมาก
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาการทางานของระบบสมอง 2.เพื่อศึกษาการควบคุมอารมณ์
3.อาจนาความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4.สามารถควบคุมอารมณ์ได้
ขอบเขตโครงงาน
1.การทางานของสมอง
2.การควบคุมอารมณ์
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการและทฤษฎีที่สนับสนุนโครงงาน)
สมอง(อังกฤษ: Brain) คืออวัยวะสาคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon
จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาทคาว่า สมอง
นั้นส่วนใหญ่จะเรียกระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คานี้บางทีก็ใช้เรียกอวัยวะในระบบประสาทบริเวณ
หัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกด้วย
สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธารงดุล (homeostasis) เช่น
การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น
หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจา การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning)
และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้
สมองประกอบด้วยเซลล์สองชนิด คือ เซลล์ประสาท และเซลล์เกลีย เกลียมีหน้าที่ในการดูแลและปกป้องนิวรอน
นิวรอนหรือเซลล์ประสาทเป็นเซลล์หลักที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะงาน (action
potential) การติดต่อระหว่างนิวรอนนั้นเกิดขึ้นได้โดยการหลั่งของสารเคมีชนิดต่าง ๆ
ที่รวมเรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter)
ข้ามบริเวณระหว่างนิวรอนสองตัวที่เรียกว่า ไซแนปส์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลงต่าง ๆ
ก็มีนิวรอนอยู่นับล้านในสมอง สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่มักจะมีนิวรอนมากกว่าหนึ่งร้อยล้านตัวในสมอง
สมองของมนุษย์นั้นมีความพิเศษกว่าสัตว์ตรงที่ว่ามีความซับซ้อนและใหญ่กว่าเมื่อเทียบกับขนาดตัวของมนุษย์
แต่ทาให้ชีวิต มีคุณค่า และความหมายทั้งสิ้น
อารมณ์มีความสาคัญเช่นเดียวกับการจูงใจดังได้กล่าวแล้ว อารมณ์คืออะไร? อารมณ์คือ หลายสิ่งหลายอย่าง ในทัศนะหนึ่ง
อารมณ์ คือ สภาวะของร่างกายซึ่งถูกยั่วยุ จนเกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายๆ อย่าง เช่น ใจสั่น,ชีพจรเต้นเร็ว,
การหายใจเร็วและแรงขึ้น, หน้าแดง เป็นต้นในอีกทัศนะหนึ่งอารมณ์
คือความรู้สึกซึ่งเกิดขึ้นเพียงบางส่วนจากสภาวะของร่างกายที่ถูกยั่วยุ อาจเป็นความรู้สึกพอใจ หรือไม่พอใจก็ได้
อารมณ์ยังเป็นสิ่งที่คนเราแสดงออกมาด้วยน้าเสียง คาพูด สีหน้าหรือท่าทาง ประการสุดท้ายอารมณ์เป็นได้ทั้ง แรงจูงใจ
หรือเป้าประสงค์ ถ้าเป็นอารมณ์ที่น่าพึงพอใจก็เป็นเป้าประสงค์เชิงนิยต(บวก) ถ้าไม่น่าพึงพอใจก็เป็นเป้าประสงค์เชิงนิเสธ
(ลบ) ในแง่ของศัพท์บัญญัติบางท่านใช้คาว่า "อาเวค" หรือ"ความสะเทือนใจ" แทน "อารมณ์"
แรงจูงใจและอารมณ์ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด บ่อยครั้งความโกรธเป็นผู้เร่งเร้าพฤติกรรมทางก้าวร้าว
แม้ว่าพฤติกรรมเช่นนี้ สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่มีความโกรธ อารมณ์สามารถกระตุ้น (activate)และชี้นา (direct) พฤติกรรม
ในทานองเดียวกันกับแรงจูงใจ ทางชีวภาพ หรือทางจิตใจ อารมณ์อาจเกิดร่วมกับพฤติกรรมที่ถูกจูงใจ
ความรู้สึกทางเพศมิได้เป็นแต่เพียงแรงจูงใจที่ทรงอานุภาพเท่านั้น แต่ยังเป็นต้นตอของความพอใจอย่างยิ่งด้วย
อารมณ์สามารถเป็นเป้าประสงค์ เราทากิจกรรมบางอย่าง เพราะเรารู้ว่ามันจะนาความพึงพอใจมาให้
อารมณ์ หมายถึง การแสดงออกของภาวะจิตใจที่ได้รับการกระทบหรือกระตุ้นให้เกิดมีการแสดงออกต่อสิ่งที่มากระตุ้น
อารมณ์สามารถจาแนกออกได้ 2 ประเภทใหญ่
1. อารมณ์สุข คืออารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความสบายใจ หรือ ได้รับความสมหวัง
2. อารมณ์ทุกข์ คือ อารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สบายใจ หรือ ได้รับความไม่สมหวัง
อารมณ์พื้นฐานของคนเราได้แก่โกรธ กลัว รังเกียจแปลกใจ ดีใจและเสียใจ
ซึ่งเป็นอารมณ์พื้นฐานที่มีในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัมพันธ์กับการทางานของระบบลิมบิก (limbic
system)ในสมองส่วนกลาง ในคนเรานั้นพบว่ายังมีการทางานของ สมองส่วนหน้า บริเวณ prefrontal มาเกี่ยวข้องด้วย
โดยมีการเชื่อมโยงกับระบบ ลิมบิกที่ซับซ้อนจึงทาให้คนเรามีลักษณะ อารมณ์ความรู้สึก
ที่หลายหลากมากกว่าในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
อารมณ์จะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 3ประการ คือ
การตอบสนองทางอารมณ์ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1. ปฏิกิริยาทางอารมณ์ เช่น การวิ่งหนีจากสิ่งที่เรากลัว
2. การตอบสนองทางระบบประสาทอิสระ เช่นหัวใจเต้นแรงขึ้นและเหงื่อออกบริเวณฝ่ามือเมื่อตกใจกลัว
3. พฤติกรรมที่แสดงออกมา เช่นการยิ้ม หน้านิ่วคิ้วขมวด
4. ความรู้สึก เช่น ความโกรธ ความปีติ ความเศร้าโศก
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่เกิดขึ้นระหว่างที่อามรณ์รุนแรงเป็นผลจากการกระตุ้น ของระบบประสาทเสรี
เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมสาหรับภาวะฉุกเฉิน
ปัจจุบันเชื่อว่า ระบบประสาทส่วนกลางของการตอบสนองทางอารมณ์ ถูกควบคุมโดย และ ซึ่งประกอบด้วย และ อารมณ์
ยังขึ้นอยู่กับสารส่งต่อ พลังประสาท ในสมองปัจจุบันนี้เป็นที่ยอมรับกันว่า"อาการซึมเศร้าเกี่ยวข้องกับระดับของ ที่ลดลง
ยาที่ทาให้ระดับของ ลดลง จะทาให้เกิดอาการซึมเศร้า ส่วนยาต้านซึมเศร้า ทาให้ระดับของ สูงขึ้น
ลักษณะของอารมณ์ อาจแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ได้3กลุ่ม
1. อารมณ์ด้านบวก เช่น อารมณ์ดีใจ ภูมิใจสุขใจปลาบปลื้ม พึงพอใจ
2. อารมณ์ด้านลบ เช่นอารมณ์โกรธ เกลียดริษยาเศร้า
3. อารมณ์กลาง ๆ เช่น แปลกใจ ยอมรับ
นอกจากแบ่งออกเป็นสามกลุ่มหลักแล้วอารมณ์ยังสามารถแบ่งได้เป็นกลุ่มๆ ตามระดับความรุนแรงของอารมณ์
โดยในแต่ละกลุ่ม เป็นอารมณ์ในกลุ่มเดียวกัน แต่จะมีคาทีใช่แทนระดับของอารมณ์แตกต่างกัน ดังนี้
 กลุ่มอารมณ์โกรธ มีหลายลักษณะ เช่น ไม่ชอบใจ ไม่พอใจไม่สบอารมณ์ ขุ่นเคืองฉุน โกรธ โมโห เดือดดาล
คับแค้น เป็นต้น
 กลุ่มอารมณ์กลัว มีหลายลักษณะ เช่น ไม่กล้าเกรงใจหยาดหวาดกลัว ตระหนกขวัญผวา อกสั่นขวัญแขวน
เป็นต้น
 กลุ่มอารมณ์กังวล มีหลายลักษณะ เช่น ลังเลสองจิตใจสองใจ ไม่แน่ใจไม่มั่นใจห่วงกังวล สับสน อึดอัดใจ
กระวนกระวาย ร้อนใจเป็นต้น
 กลุ่มอารมณ์เกลียด มีหลายลักษณะ เช่นไม่ชอบ รังเกียจเกลียดเหม็นหน้าชิงชัง เป็นต้น
 กลุ่มอารมณ์ดี มีหลายลักษณะ เช่น ดีใจ สบายใจ ชื่นใจร่าเริง สนุกสนาน คึกคัก อิ่มเอิบใจ เป็นสุขปิติตื้นตันใจ
ปลาบปลื้ม ซาบซึ้ง เป็นต้น
ปัจจัยที่เกี่ยวกับอารมณ์
1. พันธุกรรมพันธุกรรมนอกจากมีส่วนในการกาหนดคนเราทางด้านร่างกายแล้ว ยังมีผลต่อลักษณะอุปนิสัยด้วย
เด็กจะมีลักษณะอุปนิสัยและอารมณ์ของเด็กที่มีมาแต่กานิด ซึ่งเรียกว่าพื้นอารมณ์
2. การเลี้ยงดูและสภาพแวดล้อมสภาพแวดล้อมและการเลี้ยงดูก็มีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางด้านอารมณ์ของเด็กในระ
ยะต่อไปเช่นกัน พ่อแม่จึงมีบทบาทอย่างมากต่อพัฒนาการทางอารมณ์ของเด็ก โดยเฉพาะในช่วงต้นของชีวิต
เด็กที่โยเยเลี้ยงยากหากพ่อแม่ให้ความรัก ความอบอุ่น
ยอมรับเด็กอย่างที่เด็กเป็นก็ย่อมจะทาให้พื้นอารมณ์ที่รุนแรงนี้เบาบางลงได้ แต่หากพ่อแม่ไม่อดกลั้น
มีการใช้อารมณ์กับเด็ก ก็จะยิ่งทาให้เด็กมีปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่รุนแรงมากขึ้น
3. การทางานของสมองส่วนของสมองที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์มีอยู่หลายแห่งเช่น ระบบลิมบิก (limbic
system) ทาหน้าที่รับรู้และประเมินสถานการณ์ต่างๆ บริเวณที่เรียกว่าอะมิกดาลา (amygdala)
เป็นจุดเชื่อมโยงที่สาคัญระหว่างการประเมินข้อมูลจากประสาทรับรู้ต่างๆ ของสมองบริวเณคอร์ติคัล คอร์เท็ก
(Cortical cortex) กับ
4. สภาวะจิตปัจจัยที่กล่าวทั้ง 4ประการข้างต้น
ทาให้ดูเสมือนว่าอารมณ์เป็นเพียงปฏิกิริยาตอบสนองตามธรรมชาติที่คนเรามีต่อสิ่งต่างๆ ที่มากระตุ้น
แต่ในความเป็นจริงแล้ว มนุษย์เรามีความสามารถในการกลั่นกรองจัดลาดับความสาคัญของข้อมูลต่างๆ
และนอกจากการรับรู้และการประเมินแล้ว
การแสดงออกซึ่งอารมณ์ก็ยังไม่ได้เป็นไปในแบบอัตโนมัติตามสัญชาตญาณไปเสียทั้งหมด
หาแต่ยังมีปัจจัยด้านสภาวะจิตเช่นความเหนี่ยวรั้งคุณธรรม จริยธรรม มาประกอบด้วย
ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่ามีการกากับด้วย "ปัญญา" ตัวอย่าง เช่น
มีคนชักชวนให้เราร่วมมือในการโกงการสอบโดยจะให้ค่าตอบแทน
เรารู้สึกว่าค่าตอบแทนเป็นเงินจานวนมากและอยากได้เงินมาใช้คนชักชวนยังบอกว่าโอกาสถูกจับได้น้อยมาก
และถ้าหากจับได้เขาจะไม่ชัดทอด
ความรู้สึกอยากอย่างนี้หากไม่มีปัญญาช่วยกากับจะทาให้มีพฤติกรรมตอบสนองไปตามความต้องการ
แต่หากใช้ปัญญาไตร่ตรองจะเห็นผลที่ตามมาโดยเฉพาะสภาวะจิตใจของเราเองที่ทาความผิดแม้ไม่มีใครรู้ก็ตาม
การพัฒนาสภาวะจิตให้มีปัญญากากับจึงช่วยให้การดาเนินชีวิตพ้นจากความทุกข์จากการยึดติดยึดมั่นในสิ่งต่างๆ
ผลกระทบของอารมณ์
ผลกระทบของอารมณ์ต่อร่างกายที่เห็นได้ชัดคือรบกวนการทางานของความคิด ในขณะที่สภาวะจิตใจเต็มไปด้วยอารมณ์
ประสิทธิภาพในการคิดจะลดลง ไม่ว่าจะเป็นความคิดด้วยเหตุผล
หรือการใช้ความสามารถของสมองเพื่อความคิดในด้านต่างๆ เช่น คานวณ ความจา เป็นต้นจะสังเกตว่าในสภาพที่มีอารมณ์
การรับรู้ข้อมูลต่างๆ จะแย่ลงเป็นลักษณะของการขาดสมาธิ
อันเป็นผลจากประสิทธิภาพการทางานของสมองลดลงผลกระทบประการต่อมา
ด้านร่างกายจะกระทบต่อระบบการทางานของอวัยวะอื่นๆ
โดยเฉพาะอวัยวะที่อยู่ภายใต้การทางานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร
แต่ถ้าตกอยู่ภายใต้ภาวะอารมณ์ที่กดดันเป็นเวลานานจะส่งผลต่อระบบภูมิคุ้มกันของร่ากาย ทาให้ร่างกายอ่อนแอลง
มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย
ผลกระทบของอารมณ์ต่อจิตใจและพฤติกรรม เมื่อเกิดอารมณ์ทางลบทาให้สภาพจิตใจของคนคนนั้นไม่แจ่มใสไม่เบิกบาน
ส่งผลต่อวิธีคิดและการแสดงออกทางพฤติกรรมตามมา เช่นในคนที่มีความโกรธแค้นอย่างมาก
อาจแสดงพฤติกรรมรุนแรงโดยไม่สามารถพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบได้
ผลกระทบต่อจิตใจอีกประการหนึ่งเป็นผลจากการตกอยู่ภายใต้อารมณ์ทางลบเป็นเวลานานจนไม่สามารถปรับตัวได้
อาจนาไปสู่สภาวะการเจ็บป่วยทางจิต โดยเฉพาะการเกิดโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็น
ผลจากความกดดันทางอารมณ์เป็นเวลานานจนรู้สึกว่าไม่สามารถหารทางออกได้
เมื่อเกิดภาวะซึมเศร้าลักษณะอารมณ์จะหดหู่ ไม่สามารถสนุกได้อย่างที่เคย เบื่ออาหาร นอนไม่หลับเก็บตัว
มีความคิดทางลบต่อตนเอง และอาจคิดทาร้ายตนเอง
ผลกระทบของอารมณ์ต่อผู้อื่น การที่สภาวะอารมณ์เป็นบวกหรือเป็นลบส่งผลต่อบุคคลที่อยู่รอบข้าง
โดยเฉพาะอารมณ์ทางลบมีผลต่อความสัมพันธ์ของบุคคล เนื่องจากอารมณ์เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการสื่อสารกับผู้อื่น
ผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจเกิดกับบุคคลใกล้ชิด คนในครอบครัว และคนอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์ทางสังคม ตัวอย่างเช่น
การสื่อสารระหว่างแม่และทารก อารมณ์จะเป็นองค์ประกอบสาคัญของการสื่อสาร ซึ่งนาไปสู่ความสัมพันธ์ที่ดีหรือไม่ดีได้
การรู้จักเข้าใจอารมณ์ผู้อื่น
นอกจากเข้าใจและรู้จักอารมณ์ของตนเองแล้ว
การฝึกสังเกตอารมณ์ผู้อื่นจะทาให้เราสามารถแสดงอารมณ์ของเราตอบสนองผู้อื่นได้เหมาะสม
โดยเฉพาะกับคนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดควรทาความเข้าใจการแสดงออกทางอารมณ์ จะทา
ให้มีความสุขในการใช้ชีวิตร่วมกัน ส่งผลให้สภาพอารมณ์ทั้งของเราและผู้อื่นดีขึ้น
เทคนิคในการรู้จักและเข้าใจอารมณ์ผู้อื่นทาได้ดังนี้
1. ให้ความสนใจการแสดงออกของผู้อื่น โดยการสังเกตสีหน้า แววตา ท่าทาง การพูด น้าเสียง
ตลอดจนการแสดงออกอื่นๆ โดยเฉพาะการออกด้านร่างกายมักบอกอารมณ์ได้โดยตรง
เพราะบางครั้งเขาอาจไม่พูดบอกความรู้สึกของตนเอง เช่นพ่อแม่ อาจมีความเครียดบางเรื่อง แต่ไม่เล่าให้ลูกๆ ฟัง
หากเราสังเกตการณ์แสดงออกจะรับรู้ได้ และถ้าตอบสนองด้วยการเข้าหา ดูแลเอาใจใส่ท่าน
อาจช่วยคลายความตึงเครียดลง ในบ้านจะมีบรรยากาศที่ดีขึ้น
2. อ่านอารมณ์ความรู้สึกผู้อื่น จากการสังเกตสนใจแสดงออกของผู้อื่นจะทาให้พอทราบว่าเขารู้สึกอย่างไรแต่บางสถา
นการณ์อาจต้องถามเพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่เราคิดตรงกับ ความรู้สึกจริงของเขาหรือไม่ เช่น
ใกล้สอบเราเห็นน้องเงียบลงคงจะเครียดเรื่องอ่านหนังสือไม่ทันหากเราเข้าไปปลอบน้องว่าอ่านไปเรื่อยๆ
อาจไม่ตรงกับความรู้สึกของน้องที่กังวลอยู่ ควรใช้วิธีพูดคุยซักถามด้วยความเอาใจใส่
น้องอาจกังวลไม่เข้าใจคณิตศาสตร์ที่จะต้องสอบเราจะได้สามารถหาทางช่วยให้ตรงจุดที่เป็นปัญหา
วิธีการดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน
ลาดั
บ
ขั้นตอน สัปดา
ห์
1 2 3 4 5 6 7 8 9 1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
ผู้รับผิดช
อบ
ที่
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้
อมูล
3 จัดทาโครงร่าง
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารายงา
น
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
แหล่งอ้างอิง(เอกสารหรือแหล่งข้อมูลต่างๆที่นามาใช้โครงงาน)
http://www.stou.ac.th/Offices/rdec/udon/upload/socities3_4.html
https://www.novabizz.com/NovaAce/Brain.htm

Contenu connexe

Tendances

2562 final-project 33.1
2562 final-project 33.12562 final-project 33.1
2562 final-project 33.1Napisa22
 
2562 final-project 33
2562 final-project 332562 final-project 33
2562 final-project 33Napisa22
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyaratthunyaratnatai
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1bernfai_baifern
 
การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคนการสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคนIsaree Kowin
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)sunsumm
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THpattharawan putthong
 
2562 final-project 32-40
2562 final-project 32-402562 final-project 32-40
2562 final-project 32-40Napisx
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ dgnjamez
 

Tendances (16)

Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
2561 project 06
2561 project 062561 project 06
2561 project 06
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
2562 final-project 33.1
2562 final-project 33.12562 final-project 33.1
2562 final-project 33.1
 
2562 final-project 33
2562 final-project 332562 final-project 33
2562 final-project 33
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1
 
การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคนการสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคน
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. TH
 
2562 final-project 32-40
2562 final-project 32-402562 final-project 32-40
2562 final-project 32-40
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
 
2562 final-project 5
2562 final-project  52562 final-project  5
2562 final-project 5
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
5
55
5
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Similaire à การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์

Similaire à การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ (20)

Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathida
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศและการสื่อสาร6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การทางานของระบบสมองและการควบคุมอารมณ์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย นันทพงศ์ พิลัยลาภ เลขที่ 20 ม.6/6 ชื่อ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นาย นันทพงศ์พิลัยลาภ เลขที่ 20ม.6/6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) การทางานของระบบสมองและการควบคุมอารมณ์ ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Brain system and controlled an emotion. ประเภทโครงงาน โครงงานประเภททฤษฎี ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย นันทพงศ์พิลัยลาภ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน การจัดทาโครงงานครั้งนี้มีจุดประสงค์สร้างทฤษฎีการควบคุมอารมณ์ โดยการศึกษาการทางานของสมอง ในชีวิตประจาวันของเรามีสิ่งเกิดขึ้นมากมายหลายๆคนอาจคิดไม่ถึงว่าเราสามารถควบคุมสมองแต่ดันถูกอารมณ์ควบคุม แทนสิ่งที่เป็นแบบนั้นเพราะสมองมีโครงสร้างที่สลับซับซ้อนอย่างมากที่เกินกว่าเราจะเข้าใจสิ่งที่เราทาได้ก็คือการหยุดยั้งอ ารมณ์ไม่ให้กระทบต่อผู้อื่นและก่อให้เกิดความขัดแย้ง ท้ายสุดท้ายนี่ผู้จัดทาหวังว่าอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาเป็นอย่างมาก
  • 3. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาการทางานของระบบสมอง 2.เพื่อศึกษาการควบคุมอารมณ์ 3.อาจนาความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4.สามารถควบคุมอารมณ์ได้ ขอบเขตโครงงาน 1.การทางานของสมอง 2.การควบคุมอารมณ์ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการและทฤษฎีที่สนับสนุนโครงงาน) สมอง(อังกฤษ: Brain) คืออวัยวะสาคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาทคาว่า สมอง นั้นส่วนใหญ่จะเรียกระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คานี้บางทีก็ใช้เรียกอวัยวะในระบบประสาทบริเวณ หัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกด้วย สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธารงดุล (homeostasis) เช่น การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจา การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning) และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ สมองประกอบด้วยเซลล์สองชนิด คือ เซลล์ประสาท และเซลล์เกลีย เกลียมีหน้าที่ในการดูแลและปกป้องนิวรอน นิวรอนหรือเซลล์ประสาทเป็นเซลล์หลักที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะงาน (action potential) การติดต่อระหว่างนิวรอนนั้นเกิดขึ้นได้โดยการหลั่งของสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่รวมเรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter) ข้ามบริเวณระหว่างนิวรอนสองตัวที่เรียกว่า ไซแนปส์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลงต่าง ๆ ก็มีนิวรอนอยู่นับล้านในสมอง สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่มักจะมีนิวรอนมากกว่าหนึ่งร้อยล้านตัวในสมอง สมองของมนุษย์นั้นมีความพิเศษกว่าสัตว์ตรงที่ว่ามีความซับซ้อนและใหญ่กว่าเมื่อเทียบกับขนาดตัวของมนุษย์ แต่ทาให้ชีวิต มีคุณค่า และความหมายทั้งสิ้น อารมณ์มีความสาคัญเช่นเดียวกับการจูงใจดังได้กล่าวแล้ว อารมณ์คืออะไร? อารมณ์คือ หลายสิ่งหลายอย่าง ในทัศนะหนึ่ง อารมณ์ คือ สภาวะของร่างกายซึ่งถูกยั่วยุ จนเกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายๆ อย่าง เช่น ใจสั่น,ชีพจรเต้นเร็ว, การหายใจเร็วและแรงขึ้น, หน้าแดง เป็นต้นในอีกทัศนะหนึ่งอารมณ์
  • 4. คือความรู้สึกซึ่งเกิดขึ้นเพียงบางส่วนจากสภาวะของร่างกายที่ถูกยั่วยุ อาจเป็นความรู้สึกพอใจ หรือไม่พอใจก็ได้ อารมณ์ยังเป็นสิ่งที่คนเราแสดงออกมาด้วยน้าเสียง คาพูด สีหน้าหรือท่าทาง ประการสุดท้ายอารมณ์เป็นได้ทั้ง แรงจูงใจ หรือเป้าประสงค์ ถ้าเป็นอารมณ์ที่น่าพึงพอใจก็เป็นเป้าประสงค์เชิงนิยต(บวก) ถ้าไม่น่าพึงพอใจก็เป็นเป้าประสงค์เชิงนิเสธ (ลบ) ในแง่ของศัพท์บัญญัติบางท่านใช้คาว่า "อาเวค" หรือ"ความสะเทือนใจ" แทน "อารมณ์" แรงจูงใจและอารมณ์ มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด บ่อยครั้งความโกรธเป็นผู้เร่งเร้าพฤติกรรมทางก้าวร้าว แม้ว่าพฤติกรรมเช่นนี้ สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่มีความโกรธ อารมณ์สามารถกระตุ้น (activate)และชี้นา (direct) พฤติกรรม ในทานองเดียวกันกับแรงจูงใจ ทางชีวภาพ หรือทางจิตใจ อารมณ์อาจเกิดร่วมกับพฤติกรรมที่ถูกจูงใจ ความรู้สึกทางเพศมิได้เป็นแต่เพียงแรงจูงใจที่ทรงอานุภาพเท่านั้น แต่ยังเป็นต้นตอของความพอใจอย่างยิ่งด้วย อารมณ์สามารถเป็นเป้าประสงค์ เราทากิจกรรมบางอย่าง เพราะเรารู้ว่ามันจะนาความพึงพอใจมาให้ อารมณ์ หมายถึง การแสดงออกของภาวะจิตใจที่ได้รับการกระทบหรือกระตุ้นให้เกิดมีการแสดงออกต่อสิ่งที่มากระตุ้น อารมณ์สามารถจาแนกออกได้ 2 ประเภทใหญ่ 1. อารมณ์สุข คืออารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความสบายใจ หรือ ได้รับความสมหวัง 2. อารมณ์ทุกข์ คือ อารมณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สบายใจ หรือ ได้รับความไม่สมหวัง อารมณ์พื้นฐานของคนเราได้แก่โกรธ กลัว รังเกียจแปลกใจ ดีใจและเสียใจ ซึ่งเป็นอารมณ์พื้นฐานที่มีในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัมพันธ์กับการทางานของระบบลิมบิก (limbic system)ในสมองส่วนกลาง ในคนเรานั้นพบว่ายังมีการทางานของ สมองส่วนหน้า บริเวณ prefrontal มาเกี่ยวข้องด้วย โดยมีการเชื่อมโยงกับระบบ ลิมบิกที่ซับซ้อนจึงทาให้คนเรามีลักษณะ อารมณ์ความรู้สึก ที่หลายหลากมากกว่าในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อารมณ์จะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 3ประการ คือ การตอบสนองทางอารมณ์ประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. ปฏิกิริยาทางอารมณ์ เช่น การวิ่งหนีจากสิ่งที่เรากลัว 2. การตอบสนองทางระบบประสาทอิสระ เช่นหัวใจเต้นแรงขึ้นและเหงื่อออกบริเวณฝ่ามือเมื่อตกใจกลัว 3. พฤติกรรมที่แสดงออกมา เช่นการยิ้ม หน้านิ่วคิ้วขมวด 4. ความรู้สึก เช่น ความโกรธ ความปีติ ความเศร้าโศก การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่เกิดขึ้นระหว่างที่อามรณ์รุนแรงเป็นผลจากการกระตุ้น ของระบบประสาทเสรี เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมสาหรับภาวะฉุกเฉิน ปัจจุบันเชื่อว่า ระบบประสาทส่วนกลางของการตอบสนองทางอารมณ์ ถูกควบคุมโดย และ ซึ่งประกอบด้วย และ อารมณ์ ยังขึ้นอยู่กับสารส่งต่อ พลังประสาท ในสมองปัจจุบันนี้เป็นที่ยอมรับกันว่า"อาการซึมเศร้าเกี่ยวข้องกับระดับของ ที่ลดลง ยาที่ทาให้ระดับของ ลดลง จะทาให้เกิดอาการซึมเศร้า ส่วนยาต้านซึมเศร้า ทาให้ระดับของ สูงขึ้น
  • 5. ลักษณะของอารมณ์ อาจแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ได้3กลุ่ม 1. อารมณ์ด้านบวก เช่น อารมณ์ดีใจ ภูมิใจสุขใจปลาบปลื้ม พึงพอใจ 2. อารมณ์ด้านลบ เช่นอารมณ์โกรธ เกลียดริษยาเศร้า 3. อารมณ์กลาง ๆ เช่น แปลกใจ ยอมรับ นอกจากแบ่งออกเป็นสามกลุ่มหลักแล้วอารมณ์ยังสามารถแบ่งได้เป็นกลุ่มๆ ตามระดับความรุนแรงของอารมณ์ โดยในแต่ละกลุ่ม เป็นอารมณ์ในกลุ่มเดียวกัน แต่จะมีคาทีใช่แทนระดับของอารมณ์แตกต่างกัน ดังนี้  กลุ่มอารมณ์โกรธ มีหลายลักษณะ เช่น ไม่ชอบใจ ไม่พอใจไม่สบอารมณ์ ขุ่นเคืองฉุน โกรธ โมโห เดือดดาล คับแค้น เป็นต้น  กลุ่มอารมณ์กลัว มีหลายลักษณะ เช่น ไม่กล้าเกรงใจหยาดหวาดกลัว ตระหนกขวัญผวา อกสั่นขวัญแขวน เป็นต้น  กลุ่มอารมณ์กังวล มีหลายลักษณะ เช่น ลังเลสองจิตใจสองใจ ไม่แน่ใจไม่มั่นใจห่วงกังวล สับสน อึดอัดใจ กระวนกระวาย ร้อนใจเป็นต้น  กลุ่มอารมณ์เกลียด มีหลายลักษณะ เช่นไม่ชอบ รังเกียจเกลียดเหม็นหน้าชิงชัง เป็นต้น  กลุ่มอารมณ์ดี มีหลายลักษณะ เช่น ดีใจ สบายใจ ชื่นใจร่าเริง สนุกสนาน คึกคัก อิ่มเอิบใจ เป็นสุขปิติตื้นตันใจ ปลาบปลื้ม ซาบซึ้ง เป็นต้น ปัจจัยที่เกี่ยวกับอารมณ์ 1. พันธุกรรมพันธุกรรมนอกจากมีส่วนในการกาหนดคนเราทางด้านร่างกายแล้ว ยังมีผลต่อลักษณะอุปนิสัยด้วย เด็กจะมีลักษณะอุปนิสัยและอารมณ์ของเด็กที่มีมาแต่กานิด ซึ่งเรียกว่าพื้นอารมณ์ 2. การเลี้ยงดูและสภาพแวดล้อมสภาพแวดล้อมและการเลี้ยงดูก็มีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางด้านอารมณ์ของเด็กในระ ยะต่อไปเช่นกัน พ่อแม่จึงมีบทบาทอย่างมากต่อพัฒนาการทางอารมณ์ของเด็ก โดยเฉพาะในช่วงต้นของชีวิต เด็กที่โยเยเลี้ยงยากหากพ่อแม่ให้ความรัก ความอบอุ่น ยอมรับเด็กอย่างที่เด็กเป็นก็ย่อมจะทาให้พื้นอารมณ์ที่รุนแรงนี้เบาบางลงได้ แต่หากพ่อแม่ไม่อดกลั้น มีการใช้อารมณ์กับเด็ก ก็จะยิ่งทาให้เด็กมีปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่รุนแรงมากขึ้น 3. การทางานของสมองส่วนของสมองที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์มีอยู่หลายแห่งเช่น ระบบลิมบิก (limbic system) ทาหน้าที่รับรู้และประเมินสถานการณ์ต่างๆ บริเวณที่เรียกว่าอะมิกดาลา (amygdala) เป็นจุดเชื่อมโยงที่สาคัญระหว่างการประเมินข้อมูลจากประสาทรับรู้ต่างๆ ของสมองบริวเณคอร์ติคัล คอร์เท็ก (Cortical cortex) กับ 4. สภาวะจิตปัจจัยที่กล่าวทั้ง 4ประการข้างต้น ทาให้ดูเสมือนว่าอารมณ์เป็นเพียงปฏิกิริยาตอบสนองตามธรรมชาติที่คนเรามีต่อสิ่งต่างๆ ที่มากระตุ้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว มนุษย์เรามีความสามารถในการกลั่นกรองจัดลาดับความสาคัญของข้อมูลต่างๆ และนอกจากการรับรู้และการประเมินแล้ว การแสดงออกซึ่งอารมณ์ก็ยังไม่ได้เป็นไปในแบบอัตโนมัติตามสัญชาตญาณไปเสียทั้งหมด หาแต่ยังมีปัจจัยด้านสภาวะจิตเช่นความเหนี่ยวรั้งคุณธรรม จริยธรรม มาประกอบด้วย ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่ามีการกากับด้วย "ปัญญา" ตัวอย่าง เช่น มีคนชักชวนให้เราร่วมมือในการโกงการสอบโดยจะให้ค่าตอบแทน
  • 6. เรารู้สึกว่าค่าตอบแทนเป็นเงินจานวนมากและอยากได้เงินมาใช้คนชักชวนยังบอกว่าโอกาสถูกจับได้น้อยมาก และถ้าหากจับได้เขาจะไม่ชัดทอด ความรู้สึกอยากอย่างนี้หากไม่มีปัญญาช่วยกากับจะทาให้มีพฤติกรรมตอบสนองไปตามความต้องการ แต่หากใช้ปัญญาไตร่ตรองจะเห็นผลที่ตามมาโดยเฉพาะสภาวะจิตใจของเราเองที่ทาความผิดแม้ไม่มีใครรู้ก็ตาม การพัฒนาสภาวะจิตให้มีปัญญากากับจึงช่วยให้การดาเนินชีวิตพ้นจากความทุกข์จากการยึดติดยึดมั่นในสิ่งต่างๆ ผลกระทบของอารมณ์ ผลกระทบของอารมณ์ต่อร่างกายที่เห็นได้ชัดคือรบกวนการทางานของความคิด ในขณะที่สภาวะจิตใจเต็มไปด้วยอารมณ์ ประสิทธิภาพในการคิดจะลดลง ไม่ว่าจะเป็นความคิดด้วยเหตุผล หรือการใช้ความสามารถของสมองเพื่อความคิดในด้านต่างๆ เช่น คานวณ ความจา เป็นต้นจะสังเกตว่าในสภาพที่มีอารมณ์ การรับรู้ข้อมูลต่างๆ จะแย่ลงเป็นลักษณะของการขาดสมาธิ อันเป็นผลจากประสิทธิภาพการทางานของสมองลดลงผลกระทบประการต่อมา ด้านร่างกายจะกระทบต่อระบบการทางานของอวัยวะอื่นๆ โดยเฉพาะอวัยวะที่อยู่ภายใต้การทางานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร แต่ถ้าตกอยู่ภายใต้ภาวะอารมณ์ที่กดดันเป็นเวลานานจะส่งผลต่อระบบภูมิคุ้มกันของร่ากาย ทาให้ร่างกายอ่อนแอลง มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ผลกระทบของอารมณ์ต่อจิตใจและพฤติกรรม เมื่อเกิดอารมณ์ทางลบทาให้สภาพจิตใจของคนคนนั้นไม่แจ่มใสไม่เบิกบาน ส่งผลต่อวิธีคิดและการแสดงออกทางพฤติกรรมตามมา เช่นในคนที่มีความโกรธแค้นอย่างมาก อาจแสดงพฤติกรรมรุนแรงโดยไม่สามารถพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบได้ ผลกระทบต่อจิตใจอีกประการหนึ่งเป็นผลจากการตกอยู่ภายใต้อารมณ์ทางลบเป็นเวลานานจนไม่สามารถปรับตัวได้ อาจนาไปสู่สภาวะการเจ็บป่วยทางจิต โดยเฉพาะการเกิดโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็น ผลจากความกดดันทางอารมณ์เป็นเวลานานจนรู้สึกว่าไม่สามารถหารทางออกได้ เมื่อเกิดภาวะซึมเศร้าลักษณะอารมณ์จะหดหู่ ไม่สามารถสนุกได้อย่างที่เคย เบื่ออาหาร นอนไม่หลับเก็บตัว มีความคิดทางลบต่อตนเอง และอาจคิดทาร้ายตนเอง ผลกระทบของอารมณ์ต่อผู้อื่น การที่สภาวะอารมณ์เป็นบวกหรือเป็นลบส่งผลต่อบุคคลที่อยู่รอบข้าง โดยเฉพาะอารมณ์ทางลบมีผลต่อความสัมพันธ์ของบุคคล เนื่องจากอารมณ์เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการสื่อสารกับผู้อื่น ผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจเกิดกับบุคคลใกล้ชิด คนในครอบครัว และคนอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์ทางสังคม ตัวอย่างเช่น การสื่อสารระหว่างแม่และทารก อารมณ์จะเป็นองค์ประกอบสาคัญของการสื่อสาร ซึ่งนาไปสู่ความสัมพันธ์ที่ดีหรือไม่ดีได้ การรู้จักเข้าใจอารมณ์ผู้อื่น นอกจากเข้าใจและรู้จักอารมณ์ของตนเองแล้ว การฝึกสังเกตอารมณ์ผู้อื่นจะทาให้เราสามารถแสดงอารมณ์ของเราตอบสนองผู้อื่นได้เหมาะสม โดยเฉพาะกับคนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดควรทาความเข้าใจการแสดงออกทางอารมณ์ จะทา
  • 7. ให้มีความสุขในการใช้ชีวิตร่วมกัน ส่งผลให้สภาพอารมณ์ทั้งของเราและผู้อื่นดีขึ้น เทคนิคในการรู้จักและเข้าใจอารมณ์ผู้อื่นทาได้ดังนี้ 1. ให้ความสนใจการแสดงออกของผู้อื่น โดยการสังเกตสีหน้า แววตา ท่าทาง การพูด น้าเสียง ตลอดจนการแสดงออกอื่นๆ โดยเฉพาะการออกด้านร่างกายมักบอกอารมณ์ได้โดยตรง เพราะบางครั้งเขาอาจไม่พูดบอกความรู้สึกของตนเอง เช่นพ่อแม่ อาจมีความเครียดบางเรื่อง แต่ไม่เล่าให้ลูกๆ ฟัง หากเราสังเกตการณ์แสดงออกจะรับรู้ได้ และถ้าตอบสนองด้วยการเข้าหา ดูแลเอาใจใส่ท่าน อาจช่วยคลายความตึงเครียดลง ในบ้านจะมีบรรยากาศที่ดีขึ้น 2. อ่านอารมณ์ความรู้สึกผู้อื่น จากการสังเกตสนใจแสดงออกของผู้อื่นจะทาให้พอทราบว่าเขารู้สึกอย่างไรแต่บางสถา นการณ์อาจต้องถามเพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่เราคิดตรงกับ ความรู้สึกจริงของเขาหรือไม่ เช่น ใกล้สอบเราเห็นน้องเงียบลงคงจะเครียดเรื่องอ่านหนังสือไม่ทันหากเราเข้าไปปลอบน้องว่าอ่านไปเรื่อยๆ อาจไม่ตรงกับความรู้สึกของน้องที่กังวลอยู่ ควรใช้วิธีพูดคุยซักถามด้วยความเอาใจใส่ น้องอาจกังวลไม่เข้าใจคณิตศาสตร์ที่จะต้องสอบเราจะได้สามารถหาทางช่วยให้ตรงจุดที่เป็นปัญหา วิธีการดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน ลาดั บ ขั้นตอน สัปดา ห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 ผู้รับผิดช อบ
  • 8. ที่ 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้ อมูล 3 จัดทาโครงร่าง 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารายงา น 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานที่ดาเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง แหล่งอ้างอิง(เอกสารหรือแหล่งข้อมูลต่างๆที่นามาใช้โครงงาน) http://www.stou.ac.th/Offices/rdec/udon/upload/socities3_4.html