SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
                                                                        ่ ั
             “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดารัส
ชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด
วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้า แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ
                    ่
สามารถดารงอยูได้อย่างมันคงและยังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวตน์และความเปลี่ยนแปลง
                                ่      ่                        ั
มีหลักพิจารณา ดังนี้
                                                                  ่
             กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยูและปฏิบติตนในทางที่ควรจะเป็ น
                                                                            ั
โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ น
                                  ิ
การมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อ
                                               ่
ความมันคงและความยังยืนของการพัฒนา
        ่                   ่
                                                                    ั
             คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กบการปฏิบติตนได้ในทุกระดับ
                                                                                 ั
โดยเน้นการปฏิบติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน
                      ั
             คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้
          1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่
                                                         ้
                                                              ่
เบียดเบียนตนเองและผูอื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ
                              ้
          2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็ นไป
อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ
กระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
          3. การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการ
                        ้
เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ
เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
                                                                      ่
             เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนิ นกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย
ทั้งความรุ ้ และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ
          1. เงื่อนไขความรู ้ ประกอบด้วย ความรอบรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่ อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและ
ความระมัดระวังในขั้นปฏิบติ          ั
          2. เงื่อนไขความธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มี
ความชื่อสัตย์สุจริ ต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
          แนวทางปฏิบติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
                          ั
ประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยังยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้าน
                                           ่
เศรษฐกิจ สังคมสิ่ งแวดล้อม ความรู ้และเทคโนโลยี
จุดเริ่มต้ นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
            ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
                                    ่
แก่สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่วาจะเป็ นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและ
สิ่ งแวดล้อม อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิ บายใน
เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดต่างเป็ นปั จจัยเชื่ อมโยงซึ่ งกันและกัน
สาหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ความเจริ ญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่ อสารที่ทนสมัย หรื อการขยายปริ มาณและ
                                                              ั
กระจายการศึกษาอย่างทัวถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท
                           ่
หรื อผูดอยโอกาสในสังคมน้อย
         ้้
       ่
แต่วา กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้า
ไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคน
กลางในการสั่งสิ นค้าทุน ความเสื่ อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครื อ
ญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณี เพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยูแต่เดิมแตกสลายลง ภูมิ
                                                                         ่
ความรู ้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสังสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่ มสู ญหายไป
                              ่
สิ่ งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดารงชี วต ซึ่ งเป็ นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถ
                                          ิ
พึ่งตนเอง และดาเนิ นชีวตไปได้อย่างมีศกดิ์ศรี ภายใต้อานาจและความมีอิสระในการกาหนดชะตา
                         ิ            ั
ชีวตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความ
     ิ
ต้องการต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปั ญหาต่างๆ ได้ดวยตนเอง ซึ่ งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็ น
                                                                  ้
                                                 ่
ศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแต่เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่ งวิกฤต
เศรษฐกิจจากปั ญหาฟองสบู่และปั ญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปั ญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น ล้วน
แต่เป็ นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฎการณ์น้ ีได้เป็ นอย่างดี

พระราชดาริว่าด้ วยเศรษฐกิจพอเพียง
         “...การพัฒนาประเทศจาเป็ นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน
พอใช้ของประชาชนส่ วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัดแต่ถูกต้องตาม
                                                ิ
หลักวิชาการ เมื่อได้พ้ืนฐานความมันคงพร้อมพอสมควร และปฏิบติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริ ม
                                   ่                         ั
ความเจริ ญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)
                                                                  ่ ั
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นแนวพระราชดาริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ที่พระราชทานมานาน
                            ั ่
กว่า ๓๐ ปี เป็ นแนวคิดที่ต้ งอยูบนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็ นแนวทางการพัฒนาที่ต้ งบน
                                                                                 ั
พื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้าง
ภูมิคุมกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู ้และคุณธรรม เป็ นพื้นฐานในการดารงชี วต ที่สาคัญจะต้องมี
      ้                                                                 ิ
“สติ ปัญญา และความเพียร” ซึ่ งจะนาไปสู่ “ความสุ ข” ในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริ ง
“...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่
                       ่
สมัยใหม่ แต่เราอยูพอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออยูพอกิน มี       ่
                                                                               ่
ความสงบ และทางานตั้งจิตอธิ ษฐานตั้งปณิ ธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน      ่
ไม่ใช่วาจะรุ่ งเรื องอย่างยอด แต่วามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรี ยบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้า
       ่                               ่           ่
                         ่
เรารักษาความพออยูพอกินนี้ ได้ เราก็จะยอดยิงยวดได้...” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗)
                                                 ่
พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็ น
หลักแต่เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปั ญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่ วนใหญ่
ในเบื้องต้นก่อน เมื่อมีพ้ืนฐานความมันคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริ ญและฐานะทาง
                                           ่
เศรษฐกิจให้สูงขึ้น
                   ซึ่งหมายถึง แทนที่จะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนาการพัฒนาประเทศ
ควรที่จะสร้างความมันคงทางเศรษฐกิจพื้นฐานก่อน นันคือ ทาให้ประชาชนในชนบทส่ วนใหญ่
                           ่                               ่
พอมีพอกินก่อน เป็ นแนวทางการพัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้ เพื่อสร้างพื้นฐานและความมันงคง       ่
ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเน้นการพัฒนาในระดับสู งขึ้นไป
                                         ่
             ทรงเตือนเรื่ องพออยูพอกิน ตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ คือ เมื่อ ๓๐ กว่าปี ที่แล้ว
             แต่ทิศทางการพัฒนามิได้เปลี่ยนแปลง
                             “...เมื่อปี ๒๕๑๗ วันนั้นได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบติให้พอมีพอกิน
                                                                            ั
พอมีพอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนันเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิงถ้าทั้งประเทศ
                                              ่                                     ่
พอมีพอกินก็ยงดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่ มจะเป็ นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มี
                ิ่
เลย...” (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑)

ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง
          เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผผลิต หรื อผูบริ โภค พยายามเริ่ มต้นผลิต หรื อบริ โภคภายใต้
                                      ู้          ้
                                                    ่
ขอบเขต ข้อจากัดของรายได้ หรื อทรัพยากรที่มีอยูไปก่อน ซึ่ งก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีด
ความสามารถในการควบคุมการผลิตได้ดวยตนเอง และลดภาวะการเสี่ ยงจากการไม่สามารถ
                                         ้
ควบคุมระบบตลาดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
เศรษฐกิจพอเพียงมิใช่หมายความถึง การกระเบียดกระเสี ยนจนเกินสมควร หากแต่อาจฟุ่ มเฟื อยได้
เป็ นครั้งคราวตามอัตภาพ แต่คนส่ วนใหญ่ของประเทศ มักใช้จ่ายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได้
               เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาไปสู่ เป้ าหมายของการสร้างความมันคงในทาง ่
เศรษฐกิจได้ เช่น โดยพื้นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึง
ควรเน้นที่เศรษฐกิจการเกษตร เน้นความมันคงทางอาหาร เป็ นการสร้างความมันคงให้เป็ นระบบ
                                           ่                                  ่
เศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเป็ นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลดความเสี่ ยง หรื อความไม่มนคงทางเศรษฐกิจ
                                                                                  ั่
ในระยะยาวได้
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไม่จาเป็ น
จะต้องจากัดเฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรื อภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาคอสังหาริ มทรัพย์ และ
การค้าการลงทุนระหว่างประเทศ โดยมีหลักการที่คล้ายคลึงกันคือ เน้นการเลือกปฏิบติอย่าง
                                                                           ั
พอประมาณ มีเหตุมีผล และสร้างภูมิคุมกันให้แก่ตนเองและสังคม
                                  ้

ทฤษฎีใหม่
       ความสาคัญของทฤษฎีใหม่
๑. มีการบริ หารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็กออกเป็ นสัดส่ วนที่ชดเจน เพื่อประโยชน์สูงสุ ดของ
                                                           ั
เกษตรกร ซึ่ งไม่เคยมีใครคิดมาก่อน
๒. มีการคานวณโดยใช้หลักวิชาการเกี่ยวกับปริ มาณน้ าที่จะกักเก็บให้พอเพียงต่อการเพาะปลูกได้
อย่างเหมาะสมตลอดปี
๓. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบสาหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีถึง ๓ ขั้นตอน

ทฤษฎีใหม่ข้ นต้นั
                  ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็ น ๔ ส่ วน ตามอัตราส่ วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง
                  พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขดสระเก็บกักน้ าเพื่อใช้เก็บกักน้ าฝนในฤดูฝน
                                                          ุ
และใช้เสริ มการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้ าต่างๆ
                  พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็ นอาหารประจาวัน
สาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้
                  พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร
                                                                        ื
ฯลฯ เพื่อใช้เป็ นอาหารประจาวัน หากเหลือบริ โภคก็นาไปจาหน่าย
                  พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็ นที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรื อน
                                                              ่
อื่นๆ
         ทฤษฎีใหม่ข้ นที่สอง
                         ั
                  เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ตองเริ่ ม
                                                                ั                               ้
ขั้นที่สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรู ป กลุ่ม หรื อ สหกรณ์ ร่ วมแรงร่ วมใจกันดาเนินการใน
ด้าน
                            (๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรี ยมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
                            - เกษตรกรจะต้องร่ วมมือในการผลิต โดยเริ่ ม ตั้งแต่ข้ นเตรี ยมดิน การหา
                                                                                 ั
พันธุ์พืช ปุ๋ ย การจัดหาน้ า และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก
                            (๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุง เครื่ องสี ขาว การจาหน่ายผลผลิต)
                                                            ้         ้
- เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรี ยมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้
ประโยชน์สูงสุ ด เช่น การเตรี ยมลานตากข้าวร่ วมกัน การจัดหายุงรวบรวมข้าว เตรี ยมหาเครื่ องสี ขาว
                                                                  ้                           ้
ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดีและลดค่าใช้จ่ายลงด้วย
                        (๓) การเป็ นอยู่ (กะปิ น้ าปลา อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ฯลฯ)
                                                                         ่
                        - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็ นอยูที่ดีพอสมควร โดยมี
ปั จจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้ าปลา เสื้ อผ้า ที่พอเพียง
                        (๔) สวัสดิการ (สาธารณสุ ข เงินกู) ้
                        - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริ การที่จาเป็ น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อ
                                ู้ ื
ยามป่ วยไข้ หรื อมีกองทุนไว้กยมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
                        (๕) การศึกษา (โรงเรี ยน ทุนการศึกษา)
                        - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่ งเสริ มการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษา
เล่าเรี ยนให้แก่เยาวชนของชมชนเอง
                        (๖) สังคมและศาสนา
                        - ชุมชนควรเป็ นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็ นที่ยด   ึ
เหนี่ยว
                 โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายที่
เกี่ยวข้อง ไม่วาส่ วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็ นสาคัญ
               ่

ทฤษฎีใหม่ข้ นที่สาม
             ั
                   เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรื อกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนา
ก้าวหน้าไปสู่ ข้ นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรื อแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรื อ
                 ั
บริ ษท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวต
     ั                                                                  ิ
                   ทั้งนี้ ทั้งฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคาร หรื อบริ ษทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน
                                                                      ั
กล่าวคือ
                               - เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสู ง (ไม่ถูกกดราคา)
                               - ธนาคารหรื อบริ ษทเอกชนสามารถซื้ อข้าวบริ โภคในราคาต่า (ซื้ อ
                                                      ั
ข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสี เอง)
                               - เกษตรกรซื้ อเครื่ องอุปโภคบริ โภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้ อเป็ น
จานวนมาก (เป็ นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ ง)
                               - ธนาคารหรื อบริ ษทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการ
                                                    ั
ในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียงขึ้น      ิ่

Contenu connexe

Tendances

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
jo
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
jo
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
Ultraman Sure
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
pentanino
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Suriyakan Yunin
 

Tendances (12)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 
183356
183356183356
183356
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 

En vedette

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
GGreat
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
e_toey
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
krupornpana55
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sombat nirund
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
Daungthip Pansomboon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Witayanun Sittisomboon
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
kima203
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
ploymhud
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
thekop2528
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
Intrapan Suwan
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Chanon Mala
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พัน พัน
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
wilai2510
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
พัน พัน
 

En vedette (18)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sapay
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
Ultraman Sure
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
jo
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
sudza
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02
sapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
narudon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Wongduean Phumnoi
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
Pornthip Tanamai
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Chanon Mala
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
jaebarae
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
Sufficiency
SufficiencySufficiency
Sufficiency
 
1111
11111111
1111
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
Crumu
CrumuCrumu
Crumu
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ่ ั “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดารัส ชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้า แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ ่ สามารถดารงอยูได้อย่างมันคงและยังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวตน์และความเปลี่ยนแปลง ่ ่ ั มีหลักพิจารณา ดังนี้ ่ กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยูและปฏิบติตนในทางที่ควรจะเป็ น ั โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ น ิ การมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อ ่ ความมันคงและความยังยืนของการพัฒนา ่ ่ ั คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กบการปฏิบติตนได้ในทุกระดับ ั โดยเน้นการปฏิบติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน ั คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่ ้ ่ เบียดเบียนตนเองและผูอื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ ้ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็ นไป อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3. การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการ ้ เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล ่ เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนิ นกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย ทั้งความรุ ้ และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ 1. เงื่อนไขความรู ้ ประกอบด้วย ความรอบรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่ อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและ ความระมัดระวังในขั้นปฏิบติ ั 2. เงื่อนไขความธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มี ความชื่อสัตย์สุจริ ต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต แนวทางปฏิบติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ั ประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยังยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้าน ่ เศรษฐกิจ สังคมสิ่ งแวดล้อม ความรู ้และเทคโนโลยี
  • 2. จุดเริ่มต้ นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ่ แก่สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่วาจะเป็ นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและ สิ่ งแวดล้อม อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิ บายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดต่างเป็ นปั จจัยเชื่ อมโยงซึ่ งกันและกัน สาหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริ ญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่ อสารที่ทนสมัย หรื อการขยายปริ มาณและ ั กระจายการศึกษาอย่างทัวถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท ่ หรื อผูดอยโอกาสในสังคมน้อย ้้ ่ แต่วา กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้า ไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคน กลางในการสั่งสิ นค้าทุน ความเสื่ อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครื อ ญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณี เพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยูแต่เดิมแตกสลายลง ภูมิ ่ ความรู ้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสังสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่ มสู ญหายไป ่ สิ่ งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดารงชี วต ซึ่ งเป็ นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถ ิ พึ่งตนเอง และดาเนิ นชีวตไปได้อย่างมีศกดิ์ศรี ภายใต้อานาจและความมีอิสระในการกาหนดชะตา ิ ั ชีวตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความ ิ ต้องการต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปั ญหาต่างๆ ได้ดวยตนเอง ซึ่ งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็ น ้ ่ ศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแต่เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่ งวิกฤต เศรษฐกิจจากปั ญหาฟองสบู่และปั ญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปั ญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น ล้วน แต่เป็ นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฎการณ์น้ ีได้เป็ นอย่างดี พระราชดาริว่าด้ วยเศรษฐกิจพอเพียง “...การพัฒนาประเทศจาเป็ นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่ วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัดแต่ถูกต้องตาม ิ หลักวิชาการ เมื่อได้พ้ืนฐานความมันคงพร้อมพอสมควร และปฏิบติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริ ม ่ ั ความเจริ ญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) ่ ั “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นแนวพระราชดาริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ที่พระราชทานมานาน ั ่ กว่า ๓๐ ปี เป็ นแนวคิดที่ต้ งอยูบนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็ นแนวทางการพัฒนาที่ต้ งบน ั พื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้าง ภูมิคุมกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู ้และคุณธรรม เป็ นพื้นฐานในการดารงชี วต ที่สาคัญจะต้องมี ้ ิ “สติ ปัญญา และความเพียร” ซึ่ งจะนาไปสู่ “ความสุ ข” ในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริ ง
  • 3. “...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่ ่ สมัยใหม่ แต่เราอยูพอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออยูพอกิน มี ่ ่ ความสงบ และทางานตั้งจิตอธิ ษฐานตั้งปณิ ธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ่ ไม่ใช่วาจะรุ่ งเรื องอย่างยอด แต่วามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรี ยบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้า ่ ่ ่ ่ เรารักษาความพออยูพอกินนี้ ได้ เราก็จะยอดยิงยวดได้...” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗) ่ พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็ น หลักแต่เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปั ญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่ วนใหญ่ ในเบื้องต้นก่อน เมื่อมีพ้ืนฐานความมันคงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริ ญและฐานะทาง ่ เศรษฐกิจให้สูงขึ้น ซึ่งหมายถึง แทนที่จะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนาการพัฒนาประเทศ ควรที่จะสร้างความมันคงทางเศรษฐกิจพื้นฐานก่อน นันคือ ทาให้ประชาชนในชนบทส่ วนใหญ่ ่ ่ พอมีพอกินก่อน เป็ นแนวทางการพัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้ เพื่อสร้างพื้นฐานและความมันงคง ่ ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเน้นการพัฒนาในระดับสู งขึ้นไป ่ ทรงเตือนเรื่ องพออยูพอกิน ตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ คือ เมื่อ ๓๐ กว่าปี ที่แล้ว แต่ทิศทางการพัฒนามิได้เปลี่ยนแปลง “...เมื่อปี ๒๕๑๗ วันนั้นได้พูดถึงว่า เราควรปฏิบติให้พอมีพอกิน ั พอมีพอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนันเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิงถ้าทั้งประเทศ ่ ่ พอมีพอกินก็ยงดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่ มจะเป็ นไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มี ิ่ เลย...” (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผผลิต หรื อผูบริ โภค พยายามเริ่ มต้นผลิต หรื อบริ โภคภายใต้ ู้ ้ ่ ขอบเขต ข้อจากัดของรายได้ หรื อทรัพยากรที่มีอยูไปก่อน ซึ่ งก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีด ความสามารถในการควบคุมการผลิตได้ดวยตนเอง และลดภาวะการเสี่ ยงจากการไม่สามารถ ้ ควบคุมระบบตลาดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เศรษฐกิจพอเพียงมิใช่หมายความถึง การกระเบียดกระเสี ยนจนเกินสมควร หากแต่อาจฟุ่ มเฟื อยได้ เป็ นครั้งคราวตามอัตภาพ แต่คนส่ วนใหญ่ของประเทศ มักใช้จ่ายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได้ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาไปสู่ เป้ าหมายของการสร้างความมันคงในทาง ่ เศรษฐกิจได้ เช่น โดยพื้นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึง ควรเน้นที่เศรษฐกิจการเกษตร เน้นความมันคงทางอาหาร เป็ นการสร้างความมันคงให้เป็ นระบบ ่ ่ เศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเป็ นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลดความเสี่ ยง หรื อความไม่มนคงทางเศรษฐกิจ ั่ ในระยะยาวได้
  • 4. เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไม่จาเป็ น จะต้องจากัดเฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรื อภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาคอสังหาริ มทรัพย์ และ การค้าการลงทุนระหว่างประเทศ โดยมีหลักการที่คล้ายคลึงกันคือ เน้นการเลือกปฏิบติอย่าง ั พอประมาณ มีเหตุมีผล และสร้างภูมิคุมกันให้แก่ตนเองและสังคม ้ ทฤษฎีใหม่ ความสาคัญของทฤษฎีใหม่ ๑. มีการบริ หารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็กออกเป็ นสัดส่ วนที่ชดเจน เพื่อประโยชน์สูงสุ ดของ ั เกษตรกร ซึ่ งไม่เคยมีใครคิดมาก่อน ๒. มีการคานวณโดยใช้หลักวิชาการเกี่ยวกับปริ มาณน้ าที่จะกักเก็บให้พอเพียงต่อการเพาะปลูกได้ อย่างเหมาะสมตลอดปี ๓. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบสาหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีถึง ๓ ขั้นตอน ทฤษฎีใหม่ข้ นต้นั ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็ น ๔ ส่ วน ตามอัตราส่ วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขดสระเก็บกักน้ าเพื่อใช้เก็บกักน้ าฝนในฤดูฝน ุ และใช้เสริ มการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้ าต่างๆ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็ นอาหารประจาวัน สาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้ พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ื ฯลฯ เพื่อใช้เป็ นอาหารประจาวัน หากเหลือบริ โภคก็นาไปจาหน่าย พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็ นที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรื อน ่ อื่นๆ ทฤษฎีใหม่ข้ นที่สอง ั เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ตองเริ่ ม ั ้ ขั้นที่สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรู ป กลุ่ม หรื อ สหกรณ์ ร่ วมแรงร่ วมใจกันดาเนินการใน ด้าน (๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรี ยมดิน ชลประทาน ฯลฯ) - เกษตรกรจะต้องร่ วมมือในการผลิต โดยเริ่ ม ตั้งแต่ข้ นเตรี ยมดิน การหา ั พันธุ์พืช ปุ๋ ย การจัดหาน้ า และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก (๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุง เครื่ องสี ขาว การจาหน่ายผลผลิต) ้ ้
  • 5. - เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรี ยมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ ประโยชน์สูงสุ ด เช่น การเตรี ยมลานตากข้าวร่ วมกัน การจัดหายุงรวบรวมข้าว เตรี ยมหาเครื่ องสี ขาว ้ ้ ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดีและลดค่าใช้จ่ายลงด้วย (๓) การเป็ นอยู่ (กะปิ น้ าปลา อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ฯลฯ) ่ - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็ นอยูที่ดีพอสมควร โดยมี ปั จจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้ าปลา เสื้ อผ้า ที่พอเพียง (๔) สวัสดิการ (สาธารณสุ ข เงินกู) ้ - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริ การที่จาเป็ น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อ ู้ ื ยามป่ วยไข้ หรื อมีกองทุนไว้กยมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน (๕) การศึกษา (โรงเรี ยน ทุนการศึกษา) - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่ งเสริ มการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษา เล่าเรี ยนให้แก่เยาวชนของชมชนเอง (๖) สังคมและศาสนา - ชุมชนควรเป็ นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็ นที่ยด ึ เหนี่ยว โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายที่ เกี่ยวข้อง ไม่วาส่ วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็ นสาคัญ ่ ทฤษฎีใหม่ข้ นที่สาม ั เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรื อกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนา ก้าวหน้าไปสู่ ข้ นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรื อแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรื อ ั บริ ษท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวต ั ิ ทั้งนี้ ทั้งฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคาร หรื อบริ ษทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน ั กล่าวคือ - เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสู ง (ไม่ถูกกดราคา) - ธนาคารหรื อบริ ษทเอกชนสามารถซื้ อข้าวบริ โภคในราคาต่า (ซื้ อ ั ข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสี เอง) - เกษตรกรซื้ อเครื่ องอุปโภคบริ โภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้ อเป็ น จานวนมาก (เป็ นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ ง) - ธนาคารหรื อบริ ษทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการ ั ในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียงขึ้น ิ่