SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
การพัฒ นาความสามารถในการเขีย นภาษา
           อัง กฤษของนัก เรีย น
  ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6 โดยใช้ B-SLIM
    ้
                  Model

           (DEVELOPING ENGLISH WRITING ABILITY OF
  MATTHAYOMSUKSA 6 STUDENTS USING B-SLIM MODEL )




01/23/13
ผู้ว ิจ ัย      นายบรรลุ แดนดงยิง
                                ่
สาขาวิช า การสอนภาษาอัง กฤษสำา หรับ ผู้พ ด
                                         ู
   ภาษาอื่น
มหาวิท ยาลัย ราชภัฎ อุด รธานี


          อาจารย์ผ ู้ค วบคุม วิท ยานิพ นธ์
         ดร.วิไ ลลัก ษณ์ ริอ ัค
  ประธานกรรมการ
         รศ.ดร.ประยงค์ กลั่น ฤทธิ์
  กรรมการ
ที่ม าและความสำา คัญ ของปัญ หา
               นัก เรีย นไม่ไ ด้เ รีย นรู้ว ิธ ีก ารเขีย นตามขั้น ความรู้
          ที่ส อดคล้อ งกับ กระบวนการพัฒ นาการทางเชาว์ป ัญ ญา


     นัก เรีย นมีป ัญ หาในการเขีย นภาษาอัง กฤษด้า นการใช้ถ ้อ ยคำา
         การเรีย บเรีย งประโยค และการใช้โ ครงสร้า งไวยากรณ์

สอบโอเน็ต ชั้น ม . 6 ปีก ารศึก ษา 2554 ตำ่า คือ 21.80 จากคะแนนเต็ม


สอบด้า นการเขีย นภาษาอัง กฤษของนัก เรีย นชั้น ม . 6 โดยเฉลี่ย ไม่ถ


      01/23/13
วัต ถุป ระสงค์ข องการวิจ ัย

       1. เพื่อ ศึก ษาและเปรีย บเทีย บความ
สามารถในการเขีย นภาษาอัง กฤษของ
นัก เรีย นชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6 ที่เ รีย นโดยใช้
            ้
B-SLIM Model ระหว่า งก่อ นเรีย นและหลัง
เรีย น
      2. เพื่อ ศึก ษาเจตคติข องนัก เรีย นชัน   ้
มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6 ที่ม ต ่อ การสอนเขีย นภาษา
                          ี
อัง กฤษโดยใช้ B - SLIM Model
  01/23/13
สมมติฐ านของการวิจ ย
                        ั

 นัก เรีย นชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6 ที่ไ ด้ร ับ การ
             ้
                       สอน
เขีย นภาษาอัง กฤษโดยใช้ก ระบวนการแบบ
                B-SLIM Model
 มีค วามสามารถในการเขีย นภาษาอัง กฤษ
          หลัง เรีย นสูง กว่า ก่อ นเรีย น
ขอบเขตของการวิจ ัย
ประชากร          นัก เรีย นชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่
                             ้
 6
            โรงเรีย นหนองหานวิท ยา
 อำา เภอหนองหาน
            จัง หวัด อุด รธานี จำา นวน 299
 คน
กลุ่ม ตัว อย่า ง นัก เรีย นชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่
                             ้
 6/1 จำา นวน 39 คน
            ได้จ ากการ สุ่ม แบบแบ่ง กลุ่ม
ตัว แปรที่ศ ึก ษา
ตัว แปรต้น
   การสอนเขีย นภาษาอัง กฤษโดยใช้ B-SLIM
 Model
ตัว แปรตาม
    1. ความสามารถในการเขีย นภาษาอัง กฤษ
    2. เจตคติต ่อ การสอนเขีย นภาษาอัง กฤษโดย
 ใช้B-SLIM Model
ระยะเวลาที่ใ ช้ใ นการทดลอง

         การวิจ ัย ครั้ง นีใ ช้เ วลาในการทดลอง 30
                           ้
    ชั่ว โมง สัป ดาห์ล ะ 3 ชั่ว โมง รวมเวลา 10
    สัป ดาห์ ในภาคเรีย นที่ 1 ปีก ารศึก ษา 2555


เนือ หาที่น ำา มาทดลองใช้
   ้
    - หนัง สือ Different ของลอว์ล ีแ ละคาโมนา
    (Lawly and Camona, 2007)
    - หนัง สือ พิม พ์
-   - อิน เทอร์เ น็ต
ขั้น ตอนการเรีย นการสอนแบบ B -
                 SLIM Model
        (Bilash’s Second Language
            Instructional Model)
1.  ขั้น วางแผนและเตรีย มการ (Planning and
  Preparation)
2.  ขั้น ทำา ความเข้า ใจตัว ป้อ นหรือ ข้อ ความรู้
  ใหม่ (Comprehensible Input)
3. ขั้น กิจ กรรมเพือ ความเข้า ใจและฝึก
                   ่
  ทัก ษะ (Intake Activity)
4.  ขั้น ผลิต ผลงาน (Output)
5.  ขั้น ประเมิน ผล (Evaluation)
รูป แบบการสอนเขีย นตามแบบ B -
             SLIM Model
   ประกอบไปด้ว ย 4 ส่ว น เรีย ก “Form”
1. ส่ว นเอ (Quadrant A) เรีย กว่า ส่ว น “ศัพ ท์
  น้อ ยกฎน้อ ย” 
2. ส่ว นบี (Quadrant B) เรีย กว่า ส่ว น
  “ศัพ ท์ม ากกฎน้อ ย” 
3. ส่ว นซี (Quadrant C) เรีย กว่า ส่ว น “กฎ
  มากคำา ศัพ ท์น อ ย” 
                 ้
4. ส่ว นดี (Quadrant D) เรีย กว่า ส่ว น “คำา
  ศัพ ท์ม ากกฎเกณฑ์ม าก” 
แผนภาพกรอบแนวคิด ในการวิจ ัย
           ขั้น การสอนแบบ B-SLIM Model

                          Planning and Preparation


                          Comprehensible Input


                              Intake Activity


                                  Output


                                Evaluation
กรอบแนวคิด ในการวิจ ัย

                       1. ครูเลือกเนื้อหาและออกแบบ
                กิจกรรม ใบงาน หรือแบบทดสอบ ให้
  1. ขั้น       สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
 วางแผน
และการเต
                และความสนใจของผู้เรียน 
   รีย ม               2. ครูจัดเตรียมสื่อและอุปกรณ์
                ที่จำาเป็นเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
                เรียนรู้ เช่น รูปภาพ บัตรคำา
                คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์
  01/23/13             3. ครูเตรียมความหมายของคำา
กรอบแนวคิด ในการวิจ ัย ( ต่อ )

                     1. ครูนำาเสนอเนื้อหาและตัวอย่าง
                   การเขียน
  2. ขั้น
                     2. ครูอธิบายความหมาย ประเภท
 ทำา ความ
 เข้า ใจตัว        และหน้าที่ของคำาศัพท์ และอธิบายรูป
 ป้อ นหรือ         แบบการใช้ไวยากรณ์ โดยเชื่อมโยง
ความรู้ใ หม่
                   ความรู้เดิมที่นักเรียนเคยเรียนมาแล้ว
                     3. นักเรียนและครูช่วยกันวิเคราะห์
                   ความหมายคำาศัพท์และไวยากรณ์ของ
                   เนื้อหาที่เรียน
   01/23/13
                     4. ครูสรุปเนื้อหาบทเรียนเพื่อให้เกิด
กรอบแนวคิด ในการวิจ ัย ( ต่อ )
                       1. ครูจัดกิจกรรมเพื่อความเข้าใจ (Intake
                Getting) โดยจัดนักเรียนเป็นคู่ หรือกลุ่ม ให้เขียน
                เรืองราวตามหัวข้อที่กำาหนด คือ ข้อมูลส่วนตัว
                   ่
                จดหมาย คำาบรรยายบุคคล คำาบรรยายสถานที่ บทพูด
    3. ขั้น     การ์ตูน คำาอธิบายขั้นตอนการทำากิจกรรมบางอย่าง
กิจ กรรมเพื่อ   เขียนเล่าเรื่องราวและบันทึกประจำาวัน
ความเข้า ใจ            2. นักเรียนนำาเสนองานเขียนหน้าชั้นเรียน
   และฝึก       หรืออภิปรายงานเขียนของเพื่อน
    ทัก ษะ             3. นักเรียนทำากิจกรรมฝึกใช้ภาษา (Intake
                Using It) โดยเขียนถึงเรื่องราวในหัวข้อที่ใกล้เคียง
                กับหัวข้อเดิมและใช้ประโยคที่ยากขึ้นและซับซ้อนขึ้น
                โดยการเขียนประวัติคนอื่น เขียนจดหมายประเภทอื่น
                เขียนอธิบายคนที่มีชื่อเสียง เขียนบรรยายเมืองที่อยู่
                เขียนบทพูดการ์ตูนที่สร้างขึ้นเอง เขียนอธิบายขั้นตอน
กรอบแนวคิด ในการวิจ ัย ( ต่อ )

                นักเรียนเขียนภาษาอังกฤษนอกห้องเรียน
 4. ขั้น
 ผลิต ผล     เป็นการบ้านและเป็นกิจกรรมเดี่ยว โดย
  งาน        เขียนเรื่องราวตามหัวข้อทีกำาหนด
                                      ่
                1. ครูรวบรวมข้อมูลต่างๆ จากการสังเกต
             การทำากิจกรรมและการตรวจงานเขียน ของ
  5. ขั้น    นักเรียนแล้วให้ข้อมูลย้อนกลับนักเรียนเป็น
ประเมิน ผล
             รายบุคคล
                2. ครูสอบเก็บคะแนนนักเรียนเป็นระยะ
             โดยใช้แบบทดสอบในบางเรื่องทีเรียนมา
                                            ่
แบบแผนการวิจ ัย

กลุ่ม เดีย วมีก ารวัด ผลก่อ นและหลัง การทดลอง

        T1       X            T2
X    แทน การสอนเขีย นภาษาอัง กฤษ โดยใช้
B-SLIM Model
T1 แทน การทดสอบก่อ นการเรีย น
T2 แทน การทดสอบหลัง การเรีย น
           (พวงรัต น์ ทวีร ัต น์, 2543)
01/23/13
เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการวิจ ัย
    1. แผนการจัดการเรียนรู้จำานวน 10 แผนๆ ละ 3
ชั่วโมง รวม 30 ชั่วโมง ค่า IOC = 0.96
    2. แบบทดสอบวัดความสามารถทางด้านการเขียนภาษา
อังกฤษ ข้อสอบเป็นแบบอัตนัย 2 ข้อ 50 คะแนน ค่า IOC =
+1 และค่าความเชื่อมัน (สก็อต) = 1.00
                     ่
    3. แบบวัดเจตคติต่อกิจกรรมการสอนเขียน โดยใช้ B-
SLM Model โดยใช้การวัดเจตคติตามวิธีการของลิเคิร์ท
(Likert scale) มากทีสุด มาก ปานกลาง น้อยและน้อยทีสุด
                       ่                             ่
โดยปรับเป็น เห็นด้วยอย่างยิง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็น
                             ่
ด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิง ค่า IOC = 0.83
                         ่
  01/23/13
เกณฑ์ท ี่ใ ช้ใ นการประเมิน งานเขีย น
  เกณฑ์การประเมินงานเขียนแบบแยกองค์ประกอบ
ของ ฮีตน (Heaton, 1998) โดยประยุกต์ดังนี้
       ั

 เนื้อ หา (Content)                              5
คะแนน
      ด้า นการเรีย บเรีย งความคิด (Organization)
  5 คะแนน
   คำา ศัพ ท์ (vocabulary)
5 คะแนน
  ด้า นการใช้โ ครงสร้า งทางภาษา (Sentence
Construction)        5 คะแนน
การเก็บ รวบรวมข้อ มูล

 1. ขั้นเตรียมการเก็บรวบรวมข้อมูล
     1.1 เลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
     1.2 กำาหนดตารางระยะเวลาในการทดลองคือ
1 / 55
     1.3 ชี้แจงให้นักเรียนได้ทราบถึงจุดประสงค์
การเรียนรู้และข้อตกลงเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียน
การสอนเขียนโดยใช้ B-SLIM Model พร้อมวิธีการ
วัดผลประเมินผล
 01/23/13
การเก็บ รวบรวมข้อ มูล (ต่อ )
2. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
    2.1 ทดสอบก่อนเรียน (Pretest)
    2.2 สอนตามแผนการจัดเรียนรู้
    2.3 ทดสอบหลังเรียน (Posttest)
    2.4 ดำาเนินการวัดเจตคติ
    2.5 วิเคราะห์ผลทางสถิติ
การวิเ คราะห์ข ้อ มูล
     1. วิเคราะห์ข้อมูลเพือศึกษาความสามารถทางด้านการ
                              ่
เขียนภาษาอังกฤษโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย(Mean) ค่าร้อยละ
(Percentage) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation)
     2. วิเคราะห์ข้อมูลเพือเปรียบเทียบความสามารถในการ
                          ่
เขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดย
ใช้การทดสอบทีแบบไม่อิสระต่อกัน (t-test for
Dependent samples) สำาหรับข้อมูลทางสังคมศาสตร์
     3. วิเคราะห์ข้อมูลเพือศึกษาเจตคติต่อการสอนเขียน
                            ่
ภาษาอังกฤษโดยใช้
B-SLIM Model ใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
   01/23/13
ผลการวิจ ัย

            การศึก ษาและเปรีย บเทีย บความสามารถใน
   การเขีย นภาษาอัง กฤษของนัก เรีย นชั้น มัธ ยมศึก ษา
   ปีท ี่ 6 ระหว่า งก่อ นเรีย นและหลัง เรีย น




* มีน ย สำา คัญ ทางสถิต ิ ทีร ะดับ .01
      ั                     ่
ผลการวิจ ย (ต่อ )
                           ั
    ผลการวิเ คราะห์ข ้อ มูล เพื่อ ศึก ษาเจตคติต ่อ
การสอนเขีย นภาษาอัง กฤษโดยใช้ B - SLIM Model




      สรุป ว่า นัก เรีย นมีเ จตคติต ่อ การสอนเขีย น
ภาษาอัง กฤษโดยใช้
B - SLIM Model โดยภาพรวมอยูใ นระดับ ดี ่
อภิป รายผล


       1. คะแนนความสามารถในการเขียนภาษา
อังกฤษของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำานวน 39
                       ้
คน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมุตฐานที่ตงไว้ ทั้งนี้อาจ
                                 ิ       ั้
มาจากเหตุผลดังต่อไปนี้
       - นักเรียนมีโอกาสเรียนนอกตำาราเรียน
      - ภาษาอังกฤษจากง่ายไปหายาก ลดความซับซ้อนของ
เนือหา
   ้
      - ตามหลักพัฒนาการของเพียเจต์ ไวก็อตสกี้ และ
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์
อภิป รายผล (ต่อ )
      - กิจกรรมดังกล่าวมีรูปแบบ ขั้นตอนและการวัด
และประเมินผลชัดเจน
      - กิจกรรมหลากลาย เน้นการปฏิบติ    ั
      - มีการชำ้าถามหรือประโยคนำา
      - ผูเรียนมีสวนร่วมในกระบวนการเรียนการ
          ้       ่
สอน การประเมินผล และการลงมือปฏิบติจริง เช่น
                                      ั
การจับคู่ การเข้ากลุ่มทำากิจกรรม การนำาเสนอหน้า
ชันเรียน การใช้ข้อมูลของตนเองหรือสมาชิกในกลุ่ม
  ้
ในการทำากิจกรรม
อภิป รายผล (ต่อ )
       2. การศึกษาเจตคติของผู้เรียนต่อกิจกรรมการสอนเขียน
ภาษาอังกฤษ โดยใช้
B-SLIM Model อยู่ในระดับ ดี
       - กิจกรรมมีเนื้อหาที่ส่งเสริมให้นักเรียนเขียนภาษาอังกฤษ
ผ่านกระบวนการคิดจากการอ่านหรือตัวอย่างการเขียน
       - แสดงตัวอย่างหรือการสร้างรูปแบบก่อนจะให้ทำา
กิจกรรมกลุ่มหรือคู่ เป็นกิจกรรมเดี่ยว ทำาให้นักเรียนตื่นตัวอยู่
ตลอดเวลา
       - เนื้อหามีความทันสมัย ใกล้ตัวและน่าสนใจผู้เรียน
       - นักเรียนมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น อภิปราย
สรุป เรื่องที่จะเขียน มีการนำาเสนอหน้าชั้นเรียน วิพากษ์วิจารณ์
และประเมินผลงานเขียนของเพื่อน สนุก นักเรียนจึงเห็นคุณค่า
อภิป รายผล (ต่อ )


ผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับผลงานวิจัย
    - วิชย ศรีมหันต์ (2552: 85 - 86) การพัฒนาบุคลากรใน
         ั
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษแบบ B-SLIM
 โรงเรียนบ้านปะอาว อำาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
    - พิชญา สารภี (2553: 79 - 81) การศึกษาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่
ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบ B-SLIM โรงเรียนวัดสระแก้ว
อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
    - หลิน ปัง (Lin Pang, 2012: 550 - 551) การประยุกต์ใช้
และการวิจัยหัวข้อ
B - SLIM สำาหรับการสอนภาษาอังกฤษในวิทยาลัยอาชีพชั้นสูง-
ข้อ เสนอแนะในการนำา ผลการวิจ ย ไป
                                   ั
                    ใช้

          1. ขั้นวางแผน ครูผสอนควรเลือกเนื้อหาในการสอนเขียนภาษา
                              ู้
อังกฤษตามหลักการพัฒนาการ ทำาให้เรียนได้ดี ลดความวิตกกังวลจาก
เรื่องทีเรียน
        ่
          2. (Intake Activity) ควรให้นักเรียนทำากิจกรรมจากกิจกรรมที่เป็น
กิจกรรมกลุ่มหรือกิจกรรมคู่ ก่อนจะให้ทำากิจกรรมเดียว ทำาให้นักเรียนมี
                                                    ่
ความมันใจและกล้าแสดงออกมากขึ้น
          ่
          3. ครูผสอนควรใช้คำาถามนำาหรือประโยคนำา เพือให้นักเรียนได้คำา
                  ู้                                  ่
ตอบและแนวทางสำาหรับในการเขียนภาษาอังกฤษ
          4. ในขันผลิตผลงาน (Output) ของผูเรียน ถ้ามีเวลาเพียงพอให้ผู้
                     ้                        ้
เรียนผลิตผลงานจากเรื่องทีเรียนมาหลังเรียนจบเนื้อหานั้น โดยให้เป็นการ
                            ่
บ้าน หรือสามารถประยุกต์ให้ผเรียนสร้างสรรค์ชิ้นงาน โครงการ โครงงาน
                                 ู้
ป้ายนิทรรศการ
ข้อ เสนอแนะสำา หรับ การทำา วิจ ย ครั้ง ต่อ
                               ั
                ไป
       1. ควรใช้กระบวนการเรียนการสอนแบบ
B-SLIM Model ในการพัฒนาทักษะด้านอื่น ๆ
หรือกลุ่มตัวอย่างในระดับอื่น ๆ โดยปรับเนื้อหา
ให้เหมาะสมกับวัย ระดับชันและความสนใจของ
                        ้
ผู้เรียน
       2. ควรมีการวิจยเพื่อการพัฒนาความ
                     ั
สามารถในการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้ B-
SLIM Model ร่วมกับทักษะอื่น เช่น ทักษะการ
อ่าน เพราะมีความสัมพันธ์กบทักษะการเขียน
                           ั
Olenka Bilash




- Professor, Department of Secondary Education
- Coordinator of Second Languages and International Education
- Former Associate Dean, Faculty of Graduate Studies and Research,
University of Alberta, Edmonton, Canada
01/23/13

Contenu connexe

Tendances

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
Tharinee Japhimai
 
Speaking lesson plan
Speaking lesson planSpeaking lesson plan
Speaking lesson plan
Belinda Bow
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
Milmilk
 
แผน B-slim Unit: Shopping Topic: Price P6
แผน B-slim Unit: Shopping Topic: Price P6 แผน B-slim Unit: Shopping Topic: Price P6
แผน B-slim Unit: Shopping Topic: Price P6
Tharinee Japhimai
 

Tendances (19)

Task-based Learning (TBL)
Task-based Learning (TBL) Task-based Learning (TBL)
Task-based Learning (TBL)
 
Task-based Language Teaching (TBL)
Task-based Language Teaching (TBL)Task-based Language Teaching (TBL)
Task-based Language Teaching (TBL)
 
B slim ครั้งที่ 3
B slim ครั้งที่ 3B slim ครั้งที่ 3
B slim ครั้งที่ 3
 
Tbl ครั้งที่ 4
Tbl ครั้งที่ 4Tbl ครั้งที่ 4
Tbl ครั้งที่ 4
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tbl
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tblแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tbl
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Tbl
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
 
Speaking Lesson Plan by ETM
Speaking Lesson Plan by ETMSpeaking Lesson Plan by ETM
Speaking Lesson Plan by ETM
 
B slim
B slimB slim
B slim
 
B slim from PAD
B slim from PADB slim from PAD
B slim from PAD
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
Speaking lesson plan
Speaking lesson planSpeaking lesson plan
Speaking lesson plan
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
 
Tbl
TblTbl
Tbl
 
Speaking plan
Speaking planSpeaking plan
Speaking plan
 
PPP Lesson Plan
PPP Lesson PlanPPP Lesson Plan
PPP Lesson Plan
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟังแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
 
Speaking lesson plan
Speaking lesson planSpeaking lesson plan
Speaking lesson plan
 
แผน B-slim Unit: Shopping Topic: Price P6
แผน B-slim Unit: Shopping Topic: Price P6 แผน B-slim Unit: Shopping Topic: Price P6
แผน B-slim Unit: Shopping Topic: Price P6
 
แผนเขียน ครั้งที่ 5
แผนเขียน ครั้งที่ 5แผนเขียน ครั้งที่ 5
แผนเขียน ครั้งที่ 5
 

En vedette

เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
arunrat bamrungchit
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
Jutatip Ni
 
นำเสนอหัวข้องานวิจัย
นำเสนอหัวข้องานวิจัยนำเสนอหัวข้องานวิจัย
นำเสนอหัวข้องานวิจัย
Nongtato Thailand
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
khuwawa2513
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
kanyarat chinwong
 

En vedette (11)

เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
Presentation Skills
Presentation Skills Presentation Skills
Presentation Skills
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
นำเสนอหัวข้องานวิจัย
นำเสนอหัวข้องานวิจัยนำเสนอหัวข้องานวิจัย
นำเสนอหัวข้องานวิจัย
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
งานนำเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์
งานนำเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์งานนำเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์
งานนำเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 

Similaire à Thesis oral presentaton

ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
krupornpana55
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
NDuangkaew
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
krupornpana55
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
JeeraJaree Srithai
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
phonon701
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
thebeerbeersk
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
Aon Narinchoti
 

Similaire à Thesis oral presentaton (20)

Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
Infor
InforInfor
Infor
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 

Thesis oral presentaton

  • 1. การพัฒ นาความสามารถในการเขีย นภาษา อัง กฤษของนัก เรีย น ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6 โดยใช้ B-SLIM ้ Model (DEVELOPING ENGLISH WRITING ABILITY OF MATTHAYOMSUKSA 6 STUDENTS USING B-SLIM MODEL ) 01/23/13
  • 2. ผู้ว ิจ ัย นายบรรลุ แดนดงยิง ่ สาขาวิช า การสอนภาษาอัง กฤษสำา หรับ ผู้พ ด ู ภาษาอื่น มหาวิท ยาลัย ราชภัฎ อุด รธานี อาจารย์ผ ู้ค วบคุม วิท ยานิพ นธ์ ดร.วิไ ลลัก ษณ์ ริอ ัค ประธานกรรมการ รศ.ดร.ประยงค์ กลั่น ฤทธิ์ กรรมการ
  • 3. ที่ม าและความสำา คัญ ของปัญ หา นัก เรีย นไม่ไ ด้เ รีย นรู้ว ิธ ีก ารเขีย นตามขั้น ความรู้ ที่ส อดคล้อ งกับ กระบวนการพัฒ นาการทางเชาว์ป ัญ ญา นัก เรีย นมีป ัญ หาในการเขีย นภาษาอัง กฤษด้า นการใช้ถ ้อ ยคำา การเรีย บเรีย งประโยค และการใช้โ ครงสร้า งไวยากรณ์ สอบโอเน็ต ชั้น ม . 6 ปีก ารศึก ษา 2554 ตำ่า คือ 21.80 จากคะแนนเต็ม สอบด้า นการเขีย นภาษาอัง กฤษของนัก เรีย นชั้น ม . 6 โดยเฉลี่ย ไม่ถ 01/23/13
  • 4. วัต ถุป ระสงค์ข องการวิจ ัย 1. เพื่อ ศึก ษาและเปรีย บเทีย บความ สามารถในการเขีย นภาษาอัง กฤษของ นัก เรีย นชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6 ที่เ รีย นโดยใช้ ้ B-SLIM Model ระหว่า งก่อ นเรีย นและหลัง เรีย น 2. เพื่อ ศึก ษาเจตคติข องนัก เรีย นชัน ้ มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6 ที่ม ต ่อ การสอนเขีย นภาษา ี อัง กฤษโดยใช้ B - SLIM Model 01/23/13
  • 5. สมมติฐ านของการวิจ ย ั นัก เรีย นชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6 ที่ไ ด้ร ับ การ ้ สอน เขีย นภาษาอัง กฤษโดยใช้ก ระบวนการแบบ B-SLIM Model มีค วามสามารถในการเขีย นภาษาอัง กฤษ หลัง เรีย นสูง กว่า ก่อ นเรีย น
  • 6. ขอบเขตของการวิจ ัย ประชากร นัก เรีย นชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ้ 6 โรงเรีย นหนองหานวิท ยา อำา เภอหนองหาน จัง หวัด อุด รธานี จำา นวน 299 คน กลุ่ม ตัว อย่า ง นัก เรีย นชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ้ 6/1 จำา นวน 39 คน ได้จ ากการ สุ่ม แบบแบ่ง กลุ่ม
  • 7. ตัว แปรที่ศ ึก ษา ตัว แปรต้น การสอนเขีย นภาษาอัง กฤษโดยใช้ B-SLIM Model ตัว แปรตาม 1. ความสามารถในการเขีย นภาษาอัง กฤษ 2. เจตคติต ่อ การสอนเขีย นภาษาอัง กฤษโดย ใช้B-SLIM Model
  • 8. ระยะเวลาที่ใ ช้ใ นการทดลอง การวิจ ัย ครั้ง นีใ ช้เ วลาในการทดลอง 30 ้ ชั่ว โมง สัป ดาห์ล ะ 3 ชั่ว โมง รวมเวลา 10 สัป ดาห์ ในภาคเรีย นที่ 1 ปีก ารศึก ษา 2555 เนือ หาที่น ำา มาทดลองใช้ ้ - หนัง สือ Different ของลอว์ล ีแ ละคาโมนา (Lawly and Camona, 2007) - หนัง สือ พิม พ์ - - อิน เทอร์เ น็ต
  • 9. ขั้น ตอนการเรีย นการสอนแบบ B - SLIM Model (Bilash’s Second Language Instructional Model) 1.  ขั้น วางแผนและเตรีย มการ (Planning and Preparation) 2.  ขั้น ทำา ความเข้า ใจตัว ป้อ นหรือ ข้อ ความรู้ ใหม่ (Comprehensible Input) 3. ขั้น กิจ กรรมเพือ ความเข้า ใจและฝึก ่ ทัก ษะ (Intake Activity) 4.  ขั้น ผลิต ผลงาน (Output) 5.  ขั้น ประเมิน ผล (Evaluation)
  • 10. รูป แบบการสอนเขีย นตามแบบ B - SLIM Model ประกอบไปด้ว ย 4 ส่ว น เรีย ก “Form” 1. ส่ว นเอ (Quadrant A) เรีย กว่า ส่ว น “ศัพ ท์ น้อ ยกฎน้อ ย”  2. ส่ว นบี (Quadrant B) เรีย กว่า ส่ว น “ศัพ ท์ม ากกฎน้อ ย”  3. ส่ว นซี (Quadrant C) เรีย กว่า ส่ว น “กฎ มากคำา ศัพ ท์น อ ย”  ้ 4. ส่ว นดี (Quadrant D) เรีย กว่า ส่ว น “คำา ศัพ ท์ม ากกฎเกณฑ์ม าก” 
  • 11. แผนภาพกรอบแนวคิด ในการวิจ ัย ขั้น การสอนแบบ B-SLIM Model Planning and Preparation Comprehensible Input Intake Activity Output Evaluation
  • 12. กรอบแนวคิด ในการวิจ ัย 1. ครูเลือกเนื้อหาและออกแบบ กิจกรรม ใบงาน หรือแบบทดสอบ ให้ 1. ขั้น สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร วางแผน และการเต และความสนใจของผู้เรียน  รีย ม 2. ครูจัดเตรียมสื่อและอุปกรณ์ ที่จำาเป็นเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ เช่น รูปภาพ บัตรคำา คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ 01/23/13 3. ครูเตรียมความหมายของคำา
  • 13. กรอบแนวคิด ในการวิจ ัย ( ต่อ ) 1. ครูนำาเสนอเนื้อหาและตัวอย่าง การเขียน 2. ขั้น 2. ครูอธิบายความหมาย ประเภท ทำา ความ เข้า ใจตัว และหน้าที่ของคำาศัพท์ และอธิบายรูป ป้อ นหรือ แบบการใช้ไวยากรณ์ โดยเชื่อมโยง ความรู้ใ หม่ ความรู้เดิมที่นักเรียนเคยเรียนมาแล้ว 3. นักเรียนและครูช่วยกันวิเคราะห์ ความหมายคำาศัพท์และไวยากรณ์ของ เนื้อหาที่เรียน 01/23/13 4. ครูสรุปเนื้อหาบทเรียนเพื่อให้เกิด
  • 14. กรอบแนวคิด ในการวิจ ัย ( ต่อ ) 1. ครูจัดกิจกรรมเพื่อความเข้าใจ (Intake Getting) โดยจัดนักเรียนเป็นคู่ หรือกลุ่ม ให้เขียน เรืองราวตามหัวข้อที่กำาหนด คือ ข้อมูลส่วนตัว ่ จดหมาย คำาบรรยายบุคคล คำาบรรยายสถานที่ บทพูด 3. ขั้น การ์ตูน คำาอธิบายขั้นตอนการทำากิจกรรมบางอย่าง กิจ กรรมเพื่อ เขียนเล่าเรื่องราวและบันทึกประจำาวัน ความเข้า ใจ 2. นักเรียนนำาเสนองานเขียนหน้าชั้นเรียน และฝึก หรืออภิปรายงานเขียนของเพื่อน ทัก ษะ 3. นักเรียนทำากิจกรรมฝึกใช้ภาษา (Intake Using It) โดยเขียนถึงเรื่องราวในหัวข้อที่ใกล้เคียง กับหัวข้อเดิมและใช้ประโยคที่ยากขึ้นและซับซ้อนขึ้น โดยการเขียนประวัติคนอื่น เขียนจดหมายประเภทอื่น เขียนอธิบายคนที่มีชื่อเสียง เขียนบรรยายเมืองที่อยู่ เขียนบทพูดการ์ตูนที่สร้างขึ้นเอง เขียนอธิบายขั้นตอน
  • 15. กรอบแนวคิด ในการวิจ ัย ( ต่อ ) นักเรียนเขียนภาษาอังกฤษนอกห้องเรียน 4. ขั้น ผลิต ผล เป็นการบ้านและเป็นกิจกรรมเดี่ยว โดย งาน เขียนเรื่องราวตามหัวข้อทีกำาหนด ่ 1. ครูรวบรวมข้อมูลต่างๆ จากการสังเกต การทำากิจกรรมและการตรวจงานเขียน ของ 5. ขั้น นักเรียนแล้วให้ข้อมูลย้อนกลับนักเรียนเป็น ประเมิน ผล รายบุคคล 2. ครูสอบเก็บคะแนนนักเรียนเป็นระยะ โดยใช้แบบทดสอบในบางเรื่องทีเรียนมา ่
  • 16. แบบแผนการวิจ ัย กลุ่ม เดีย วมีก ารวัด ผลก่อ นและหลัง การทดลอง T1 X T2 X แทน การสอนเขีย นภาษาอัง กฤษ โดยใช้ B-SLIM Model T1 แทน การทดสอบก่อ นการเรีย น T2 แทน การทดสอบหลัง การเรีย น (พวงรัต น์ ทวีร ัต น์, 2543) 01/23/13
  • 17. เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการวิจ ัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้จำานวน 10 แผนๆ ละ 3 ชั่วโมง รวม 30 ชั่วโมง ค่า IOC = 0.96 2. แบบทดสอบวัดความสามารถทางด้านการเขียนภาษา อังกฤษ ข้อสอบเป็นแบบอัตนัย 2 ข้อ 50 คะแนน ค่า IOC = +1 และค่าความเชื่อมัน (สก็อต) = 1.00 ่ 3. แบบวัดเจตคติต่อกิจกรรมการสอนเขียน โดยใช้ B- SLM Model โดยใช้การวัดเจตคติตามวิธีการของลิเคิร์ท (Likert scale) มากทีสุด มาก ปานกลาง น้อยและน้อยทีสุด ่ ่ โดยปรับเป็น เห็นด้วยอย่างยิง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็น ่ ด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิง ค่า IOC = 0.83 ่ 01/23/13
  • 18. เกณฑ์ท ี่ใ ช้ใ นการประเมิน งานเขีย น เกณฑ์การประเมินงานเขียนแบบแยกองค์ประกอบ ของ ฮีตน (Heaton, 1998) โดยประยุกต์ดังนี้ ั  เนื้อ หา (Content) 5 คะแนน  ด้า นการเรีย บเรีย งความคิด (Organization) 5 คะแนน  คำา ศัพ ท์ (vocabulary) 5 คะแนน  ด้า นการใช้โ ครงสร้า งทางภาษา (Sentence Construction) 5 คะแนน
  • 19. การเก็บ รวบรวมข้อ มูล 1. ขั้นเตรียมการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.1 เลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย 1.2 กำาหนดตารางระยะเวลาในการทดลองคือ 1 / 55 1.3 ชี้แจงให้นักเรียนได้ทราบถึงจุดประสงค์ การเรียนรู้และข้อตกลงเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียน การสอนเขียนโดยใช้ B-SLIM Model พร้อมวิธีการ วัดผลประเมินผล 01/23/13
  • 20. การเก็บ รวบรวมข้อ มูล (ต่อ ) 2. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 ทดสอบก่อนเรียน (Pretest) 2.2 สอนตามแผนการจัดเรียนรู้ 2.3 ทดสอบหลังเรียน (Posttest) 2.4 ดำาเนินการวัดเจตคติ 2.5 วิเคราะห์ผลทางสถิติ
  • 21. การวิเ คราะห์ข ้อ มูล 1. วิเคราะห์ข้อมูลเพือศึกษาความสามารถทางด้านการ ่ เขียนภาษาอังกฤษโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย(Mean) ค่าร้อยละ (Percentage) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. วิเคราะห์ข้อมูลเพือเปรียบเทียบความสามารถในการ ่ เขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดย ใช้การทดสอบทีแบบไม่อิสระต่อกัน (t-test for Dependent samples) สำาหรับข้อมูลทางสังคมศาสตร์ 3. วิเคราะห์ข้อมูลเพือศึกษาเจตคติต่อการสอนเขียน ่ ภาษาอังกฤษโดยใช้ B-SLIM Model ใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 01/23/13
  • 22. ผลการวิจ ัย การศึก ษาและเปรีย บเทีย บความสามารถใน การเขีย นภาษาอัง กฤษของนัก เรีย นชั้น มัธ ยมศึก ษา ปีท ี่ 6 ระหว่า งก่อ นเรีย นและหลัง เรีย น * มีน ย สำา คัญ ทางสถิต ิ ทีร ะดับ .01 ั ่
  • 23. ผลการวิจ ย (ต่อ ) ั ผลการวิเ คราะห์ข ้อ มูล เพื่อ ศึก ษาเจตคติต ่อ การสอนเขีย นภาษาอัง กฤษโดยใช้ B - SLIM Model สรุป ว่า นัก เรีย นมีเ จตคติต ่อ การสอนเขีย น ภาษาอัง กฤษโดยใช้ B - SLIM Model โดยภาพรวมอยูใ นระดับ ดี ่
  • 24. อภิป รายผล 1. คะแนนความสามารถในการเขียนภาษา อังกฤษของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำานวน 39 ้ คน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมุตฐานที่ตงไว้ ทั้งนี้อาจ ิ ั้ มาจากเหตุผลดังต่อไปนี้ - นักเรียนมีโอกาสเรียนนอกตำาราเรียน - ภาษาอังกฤษจากง่ายไปหายาก ลดความซับซ้อนของ เนือหา ้ - ตามหลักพัฒนาการของเพียเจต์ ไวก็อตสกี้ และ ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์
  • 25. อภิป รายผล (ต่อ ) - กิจกรรมดังกล่าวมีรูปแบบ ขั้นตอนและการวัด และประเมินผลชัดเจน - กิจกรรมหลากลาย เน้นการปฏิบติ ั - มีการชำ้าถามหรือประโยคนำา - ผูเรียนมีสวนร่วมในกระบวนการเรียนการ ้ ่ สอน การประเมินผล และการลงมือปฏิบติจริง เช่น ั การจับคู่ การเข้ากลุ่มทำากิจกรรม การนำาเสนอหน้า ชันเรียน การใช้ข้อมูลของตนเองหรือสมาชิกในกลุ่ม ้ ในการทำากิจกรรม
  • 26. อภิป รายผล (ต่อ ) 2. การศึกษาเจตคติของผู้เรียนต่อกิจกรรมการสอนเขียน ภาษาอังกฤษ โดยใช้ B-SLIM Model อยู่ในระดับ ดี - กิจกรรมมีเนื้อหาที่ส่งเสริมให้นักเรียนเขียนภาษาอังกฤษ ผ่านกระบวนการคิดจากการอ่านหรือตัวอย่างการเขียน - แสดงตัวอย่างหรือการสร้างรูปแบบก่อนจะให้ทำา กิจกรรมกลุ่มหรือคู่ เป็นกิจกรรมเดี่ยว ทำาให้นักเรียนตื่นตัวอยู่ ตลอดเวลา - เนื้อหามีความทันสมัย ใกล้ตัวและน่าสนใจผู้เรียน - นักเรียนมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น อภิปราย สรุป เรื่องที่จะเขียน มีการนำาเสนอหน้าชั้นเรียน วิพากษ์วิจารณ์ และประเมินผลงานเขียนของเพื่อน สนุก นักเรียนจึงเห็นคุณค่า
  • 27. อภิป รายผล (ต่อ ) ผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับผลงานวิจัย - วิชย ศรีมหันต์ (2552: 85 - 86) การพัฒนาบุคลากรใน ั การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษแบบ B-SLIM โรงเรียนบ้านปะอาว อำาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี - พิชญา สารภี (2553: 79 - 81) การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบ B-SLIM โรงเรียนวัดสระแก้ว อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา - หลิน ปัง (Lin Pang, 2012: 550 - 551) การประยุกต์ใช้ และการวิจัยหัวข้อ B - SLIM สำาหรับการสอนภาษาอังกฤษในวิทยาลัยอาชีพชั้นสูง-
  • 28. ข้อ เสนอแนะในการนำา ผลการวิจ ย ไป ั ใช้ 1. ขั้นวางแผน ครูผสอนควรเลือกเนื้อหาในการสอนเขียนภาษา ู้ อังกฤษตามหลักการพัฒนาการ ทำาให้เรียนได้ดี ลดความวิตกกังวลจาก เรื่องทีเรียน ่ 2. (Intake Activity) ควรให้นักเรียนทำากิจกรรมจากกิจกรรมที่เป็น กิจกรรมกลุ่มหรือกิจกรรมคู่ ก่อนจะให้ทำากิจกรรมเดียว ทำาให้นักเรียนมี ่ ความมันใจและกล้าแสดงออกมากขึ้น ่ 3. ครูผสอนควรใช้คำาถามนำาหรือประโยคนำา เพือให้นักเรียนได้คำา ู้ ่ ตอบและแนวทางสำาหรับในการเขียนภาษาอังกฤษ 4. ในขันผลิตผลงาน (Output) ของผูเรียน ถ้ามีเวลาเพียงพอให้ผู้ ้ ้ เรียนผลิตผลงานจากเรื่องทีเรียนมาหลังเรียนจบเนื้อหานั้น โดยให้เป็นการ ่ บ้าน หรือสามารถประยุกต์ให้ผเรียนสร้างสรรค์ชิ้นงาน โครงการ โครงงาน ู้ ป้ายนิทรรศการ
  • 29. ข้อ เสนอแนะสำา หรับ การทำา วิจ ย ครั้ง ต่อ ั ไป 1. ควรใช้กระบวนการเรียนการสอนแบบ B-SLIM Model ในการพัฒนาทักษะด้านอื่น ๆ หรือกลุ่มตัวอย่างในระดับอื่น ๆ โดยปรับเนื้อหา ให้เหมาะสมกับวัย ระดับชันและความสนใจของ ้ ผู้เรียน 2. ควรมีการวิจยเพื่อการพัฒนาความ ั สามารถในการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้ B- SLIM Model ร่วมกับทักษะอื่น เช่น ทักษะการ อ่าน เพราะมีความสัมพันธ์กบทักษะการเขียน ั
  • 30. Olenka Bilash - Professor, Department of Secondary Education - Coordinator of Second Languages and International Education - Former Associate Dean, Faculty of Graduate Studies and Research, University of Alberta, Edmonton, Canada