SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Learning Theory : Behaviorism)
การเรียนรู้เป็ นกระบวนการในการพัฒนาความสามารถ และศักยภาพของมนุษย์ในด้าน ต่าง ๆ อาทิ ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านเจตคติ เป็ น
ต้น ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของมนุษย์ได้รับความสนใจจากนักปรัชญาและนักจิตวิทยามาตั้งแต่ในอดีต ซึ่งต่างก็มีแนวคิดหรือทัศนะที่
หลากหลาย และได้พัฒนาไปเป็ นรากฐานในการจัดการศึกษาในปัจจุบัน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมเน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยอาศัย ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulas) และ การตอบสนอง
(Response) โดยอินทรีย์จะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและ การตอบสนองอันนาไปสู่ ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม คือการ
เรียนรู้นั่นเอง
ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ประกอบด้วยแนวคิดสาคัญ 3 แนวคิด
1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)
2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory)
1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)
ทฤษฎีของธอร์นไดค์เรียกว่าทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectionism Theory) ทฤษฎีนี้กล่าวถึงการเชื่อมโยง
ระหว่างสิ่ง(Stimulus - S) กับการตอบสนอง (Response - R) โดยมีหลักเบื้องต้นว่า “การเรียนรู้เกิดจากการ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยที่การตอบสนองมักจะออกมาเป็นรูปแบบต่าง ๆ หลายรูปแบบ จนกว่าจะพบรูปแบบ
ที่ดี หรือเหมาะสมที่สุด เราเรียกการตอบสนองเช่นนี้ว่าการลองถูกลองผิด (Trial and error) นั่นคือการเลือกตอบสนอง
ของผู้เรียนรู้จะกระทาด้วยตนเองไม่มีผู้ใดมากาหนดหรือชี้ช่องทางในการปฏิบัติให้และเมื่อเกิดการเรียนรู้ขึ้นแล้ว การตอบสนอง
หลายรูปแบบจะหายไปเหลือเพียงการตอบสนองรูปแบบเดียวที่เหมาะสมที่สุด และพยายามทาให้การตอบสนองเช่นนั้นเชื่อมโยง
กับสิ่งเร้าที่ต้องการให้เรียนรู้ต่อไปเรื่อย ๆ
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความ
ภาคภูมิใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
2. การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นที่
ต้องดาเนินการก่อนการเรียนเสมอ
3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจใน
เรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้
5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบความสาเร็จ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
พฤติกรรมเรสปอนเด้นท์ (Respondent behavioral) เป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดย สิ่งเร้า เมื่อ
มีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถสังเกตได้ นิยมเรียกกันว่า ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวาง
เงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classic Conditioning Theory)
จากหลักการข้างต้นสามารถสรุปหลักการเรียนรู้ของพาฟลอฟเป็ นแผนผัง ดังนี้
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค = สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข = การเรียนรู้
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1. ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์มีแบบแผน การตอบสนองได้ไม่เท่ากัน จาเป็นต้อง
คานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร
2. การวางเงื่อนไข เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ด้วย โดยปกติผู้สอนสามารถทาให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่
ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน
3. การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้โดยป้ องกันไม่ให้ผู้สอนทาโทษเขา
4. การสรุปความเหมือนและการแยกความแตกต่าง เช่น การอ่านและการสะกดคา ผู้เรียนที่สามารถสะกดคาว่า
"round" เขาก็ควรจะเรียนคาทุกคาที่ออกเสียง o-u-n-d ไปในขณะเดียวกันได้ เช่นคาว่า found, bound,
sound, ground, แต่คาว่า wound (บาดแผล) นั้นไม่ควรเอาเข้ามารวมกับคาที่ออกเสียง o - u - n - d
และควรฝึกให้รู้จักแยกคานี้ออกจากกลุ่ม
2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Conditioning Theory) ของกัทธรี (Guthrie)
พฤติกรรมโอเปอแรนท์ (Operant behavioral) เป็นพฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมการ
ตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน และพฤติกรรมนี้มีผลต่อสิ่งแวดล้อม นิยมเรียกกันว่า
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์ (Operant Conditioning Theory)
3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory)
ข้อเด่นของทฤษฎีนี้
1. ใช้ในการคิดหาความสามารถในการสัมผัสและการรับรู้
2. ใช้ในการแก้พฤติกรรมที่เป็นปัญหา
3. ใช้ในการวางเงื่อนไขเกี่ยวกับอารมณ์ และเจตคติ
ข้อจากัด
สรุป ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ ธรรมชาติของมนุษย์ ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การ
กระทาต่างของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับพฤติกรรมมาก
เพราะ พฤติกรรมเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัด สามารถวัดและทดสอบได้
นักการศึกษาสาคัญ
ผู้นาที่สาคัญของ กลุ่มนี้คือ พาฟลอฟ (Ivan
Pavlov)
ธอร์นไดร์ (Edward Thorndike) และสกินเนอร์
(B.F.Skinner)
การปรับใช้กับการสอนภาษาไทย
1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจากการ
เรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง เช่น ในการเรียนวรรณคดี โดยให้นักศึกษาแสดงละครในเรื่องต่าง
2. การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องดาเนินการในการแสดงละครในทุกๆด้าน
3. ผู้สอนให้ความในเรื่องราววรรณคดีในเรื่องต่างๆ เพื่อผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง
และสม่าเสมอ
4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้ โดยนาเสนอการการหน้าชั้นเรียน
5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบความสาเร็จ โดยการติชม และแสดงความคิดเห็นการแสดงของนักเรียน
สรุป
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ ธรรมชาติของมนุษย์ ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การกระทาต่างของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของ
สิ่งแวดล้อม ภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่ม
หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
กลุ่มพุทธนิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจหรือกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด นักคิดกลุ่มนี้เริ่มขยาย
ขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรมออกไปสู่กระบวนการทางความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิด
กลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของ
มนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจาการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และ
ความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทาง
สติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ตนเอง
ทฤษฎีในกลุ่มนี้ที่สาคัญๆ มี 5 ทฤษฎี คือ
1. ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จะ
เน้นกระบวนการคิด การสอนโดยเสนอภาพรวมก่อนการเสนอส่วนย่อย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีประสบการณ์มากและหลากหลายซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามรถคิดแก้ปัญหา คิดริเริ่มและเกิด
การเรียนรู้แบบหยั่งเห็นได้
2. ทฤษฎีสนาม(Field Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ
การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทาให้ไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการเข้าไปอยู่ใน “โลก” ของ
ผู้เรียน การสร้างแรงจูงใจหรือแรงขับโดยการจัดสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและจิตวิทยาให้ดึงดูดความสนใจและสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นในการช่วยให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้
3.ทฤษฎีเครื่องหมาย(Sign Theory) ของทอลแมน(Tolman) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ
การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการสร้างแรงขับและหรือแรงจูงใจให้ผู้เรียน
บรรลุจุดมุ่งหมายใดๆ โดยใช้เครื่องหมาย สัญลักษณ์หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป็นเครื่องชี้ทางควบคู่ไปด้วย
4. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory)
นักคิดคนสาคัญของทฤษฏีนี้มีอยู่ 2 ท่าน ได้แก่ เพียเจต์(Piaget) และบรุนเนอร์(Bruner) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เน้นเรื่อง
พัฒนาการทางสติปัญญญาของบุคคลที่เป็นไปตามวัยและเชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากระบวนการการค้นพบด้วยตนเอง
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้
5.ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล(Ausubel)
การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้คือ มีการ
นาเสนอความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรือกรอบแนวคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นๆ จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาสาระนั้น
อย่างมีความหมาย
นักการศึกษาคนสาคัญ
1.ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญของทฤษฎีนี้คือ แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์ (Max Wertheimer) วุล์แกงค์ โคห์เลอร์ (Wolfgang Kohler)
เคริ์ท คอฟฟ์ กา (Kurt Koffka) และเคริ์ท เลวิน (Kurt Lewin)
2.ทฤษฎีสนาม (Field Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญ คือ เคริ์ท เลวินซึ่งได้แยกตัวจากกลุ่มทฤษฎีเกสตัลท์ ในระยะหลัง
3.ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน (Tolman)
4.ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Inlellectual Development Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญคือ เพียเจต์ (Piaget) และบรุนเนอร์ (Bruner)
5.ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ( A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล (Ausubel)
ข้อเด่น-ข้อจากัด
ข้อเด่น ของกลุ่มพุทธนิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจหรือกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด
คือนักคิดกลุ่มนี้เริ่มขยายขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรมออกไปสู่กระบวนกาทางความคิด ซึ่ง
เป็นกระบวนการภายในของสมอง
ข้อจากัด ของกลุ่มพุทธินิยมคือความคิด ซึ่งความคิดแต่ละความคิดย่อมแตกต่างกัน
การนาไปประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนการสอนภาษาไทย
1. กระบวนการค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดีมีความหมายสาหรับผู้เรียน ผู้สอนต้องสอนให้ผู้เรียน
ศึกษาค้นเนื้อหาภาษาไทยที่ผู้เรียนชอบด้วยตนเอง
2. การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสม เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องทาก่อนการสอน คือ วิชาภาษาไทย
มีเนื้อหาที่ยากและหลากหลายเนื้อหา ผู้สอนต้องพิจารณาว่าผู้เรียนเหมาะสมกับเนื้อหาที่จะสอนหรือไม่
3. การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum) ช่วยให้สามารถสอนเนื้อหาหรือความคิดรวบยอดเดียวกันใน
วิชาภาษาไทยแก่ผู้เรียนทุกวัยได้โดยต้องจัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอน ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการของผู้เรียน
4. ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระให้มาก เพื่อช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน เช่น
ในวิชาวรรณคดีผู้สอนให้อิสระในการเลือกศึกษาวรรรคดีที่สนใจ
5. การสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน คือ ผู้สอนต้องทราบว่าผู้เรียนชอบภาษาไทยในเรื่องใด เพื่อนามาสอนให้
ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการอยากเรียน ทาให้ผู้เรียนสนใจในการเรียนมากขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นในการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
ทฤษฎีสร้างสรรค์นิยม
ทฤษฎีสร้างสรรค์นิยม (Constructivist Learning Theory) เกิดจากการทางานและการค้นพบของ เพียเจต์ ที่เชื่อว่า
คนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และพร้อมที่จะเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมให้เข้ากับ
ประสบการณ์ใหม่ จนเกิดการเรียนรู้และ เกิดการพัฒนาทางสติปัญญา เมื่อประสบกับปัญหาบุคคลจะพยายามปรับตัวให้อยู่
ในสภาวะสมดุล ด้วยกระบวนการ 2 ประการคือ การจัดและรวบรวม (Oganization) และ การปรับตัว (Adaptation) ซึ่ง
พัฒนาการทางสติปัญญาของคนมีลักษณะแตกต่างกันตามช่วงอายุที่แตกต่างกัน เป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามลาดับขั้น
ผู้เรียนในวัยช่วงชั้นที่ 3 (อายุ 12 ปีขึ้นไป) มีพัฒนาการเริ่มเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ และมีความสามารถคิดหาเหตุผลในเชิงนามธรรม
ได้
ลักษณะการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม
การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่นักเรียนแก้ปัญหาหรือสืบสอบเพิ่มเติม เพื่อลดความขัดแย้งทางความคิดของตนเอง
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสังคม นักการศึกษาหลายท่าน อธิบายการเรียนรู้ตามแนวคิดนี้ว่า เกิดจากการปฏิสัมพันธ์กัน
ทางสังคมซึ่งอธิบายผลจากการร่วมมือกันทางสังคมไว้ว่า ความรู้สามารถถ่ายโอนจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคลหนึ่งได้
การเรียนรู้เป็นกระบวนการกากับตนเองของนักเรียน นักการศึกษาเชื่อว่าการกากับตนเองเป็นองค์ประกอบสาคัญของการ
เรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎี Constructivism
เนื่องจากทฤษฎีสรรคนิยม ไม่ใช่วิธีสอน จึงใช้การตีความทฤษฎีแล้วจึงนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ดังนั้น
แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม จึงมีหลากหลาย สามารถประมวลได้ดังนี้
1. กระตุ้นให้นักเรียนใช้มุมมองที่หลากหลายในการนาเสนอความหมายของมโนทัศน์
2. ครูแสดงบทบาทเป็นผู้ชี้แนะ ผู้กากับ ผู้ฝึกฝน
3. ให้นักเรียนได้เรียนรู้งานที่ซับซ้อน ทักษะ และความรู้ที่จาเป็นจากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
วัดผลการเรียนรู้ของนักเรียนตามสภาพที่เป็นจริงขณะดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
นักคิดที่สาคัญ
Von Glasersfeld เสนอเกี่ยวกับการเรียนรู้ในมุมมองของ ทฤษฎีสรรคนิยม (Constructivist) ว่านักเรียนสร้างความรู้โดยกระบวนการคิดของตนเอง
Piaget เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมามีความพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และโดยธรรมชาติมนุษย์เป็นผู้พร้อมที่จะมีกริยากรรม หรือเริ่มกระทาก่อน
Bruner เชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นต่อเมื่อ ผู้เรียนได้ประมวลข้อมูลข่าวสาร จากการที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และสารวจสิ่งแวดล้อม การรับรู้ของมนุษย์ขึ้นกับ
สิ่งที่เลือกจะรับรู้ โดยอยู่กับความสนใจของผู้เรียน มีความอยากรู้อยากเห็นเป็นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมสารวจสภาพสิ่งแวดล้อม และเกิดการเรียนรู้โดยการค้นพบ
Fosnot อธิบายว่าความรู้เป็นสิ่งชั่วคราวมีการเปลี่ยนแปลงได้และมีการพัฒนาอาศัยสื่อกลางทางสังคมและวัฒนธรรม ส่วนการเรียนรู้เป็นกระบวนการ
ที่สามารถ ควบคุมได้ด้วยตนเอง โดยต้องต่อสู้กับความขัดแย้งระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ที่แตกต่างกับความรู้เดิม ซึ่งเป็นการสร้างความรู้ใหม่ โดยมี
หัวใจสาคัญ 4 ข้อ คือ
1. ความรู้ คือรูปธรรม ที่สร้างโดยผู้เรียน ผู้ซึ่งเอาใจใส่กระตือรือร้นในการเรียน
2. ความรู้คือสัญลักษณ์ ที่สร้างโดยผู้เรียน ผู้ซึ่งสร้างบทบาทการแสดงออกด้วยตัวเอง
3. ความรู้คือสังคมที่ถูกสร้างโดยผู้เรียน ผู้ซึ่งคอยส่งความหมายที่สร้างขึ้นสู่บุคคลอื่น
4. ความรู้คือเหตุผลที่ถูกสร้างโดยผู้เรียน ผู้ซึ่งพยายามอธิบายสิ่งที่ยังไม่เข้าใจทั้งหมด
ข้อเด่น-ข้อจาากัด
ข้อเด่น เน้นความสาาคัญของกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน และความสาาคัญของความรู้เดิม
ข้อจากัด ผู้เรียนควรจะเรียนเนื้อหาสาระไปพร้อมกับ กระบวนการเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนการสอน
แบบสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพราะถ้าผู้เรียนไม่เรียน เนื้อหาสาระ อาจจะได้ความรู้ด้วยตนเองที่ไม่ถูกต้อง
ทฤษฎีการเรียนรู้สร้างสรรค์นิยมกับการเรียนการสอนภาษาไทย
มีการเชื่อมโยงความรู้เข้ากับความรู้ในวิชาภาษาไทย ด้วยการกระตุ้นผู้เรียนด้วยการหากิจกรรมต่างมาช่วยในการสอน
มีการยกตัวอย่างประสบการณ์ที่พบเห็นมาแลกเปลี่ยนมุมมองทางความคิด
มีการบูรณาการเนื้อหาเข้าด้วยกันโดยจัดให้ ผู้เรียนมีพื้นฐานหรือประสบการณ์ของเนื้อหามาเป็น อย่างดี มีแหล่งข้อมูล
ที่รวบรวมข้อมูลเนื้อหาสารสนเทศโดยมีผู้อาจาย์ผู้สอนคอยช่วยให้คาาแนะนากับผู้เรียน
น.ส.ดาริญญา ลักษณะกุลบุตร รหัสนักศึกษา 56115200022
น.ส.ขจีพรรณ กล่อมโกมล รหัสนักศึกษา 56115200027
น.ส.พิสชา กาญจนวิวิญ รหัสนักศึกษา 56115200033
น.ส.ธัญญา รักสัจจา รหัสนักศึกษา 56115200060
คณะผู้จัดทา

Contenu connexe

Tendances

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
การจัดการชั้นเรียน
การจัดการชั้นเรียน การจัดการชั้นเรียน
การจัดการชั้นเรียน Arinee Yusuf
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreePattie Pattie
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีMuhamadkamae Masae
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 

Tendances (20)

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
การจัดการชั้นเรียน
การจัดการชั้นเรียน การจัดการชั้นเรียน
การจัดการชั้นเรียน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 

Similaire à ทฤษฎีการเรียนรู้

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sarawut Tikummul
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015juthamat fuangfoo
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pattarawadee Dangkrajang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Kanny Redcolor
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
อาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อกอาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อกchuensumon
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 

Similaire à ทฤษฎีการเรียนรู้ (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
อาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อกอาจารย์ก๊อก
อาจารย์ก๊อก
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 

ทฤษฎีการเรียนรู้

  • 1.
  • 2.
  • 3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Learning Theory : Behaviorism) การเรียนรู้เป็ นกระบวนการในการพัฒนาความสามารถ และศักยภาพของมนุษย์ในด้าน ต่าง ๆ อาทิ ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านเจตคติ เป็ น ต้น ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของมนุษย์ได้รับความสนใจจากนักปรัชญาและนักจิตวิทยามาตั้งแต่ในอดีต ซึ่งต่างก็มีแนวคิดหรือทัศนะที่ หลากหลาย และได้พัฒนาไปเป็ นรากฐานในการจัดการศึกษาในปัจจุบัน ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมเน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยอาศัย ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulas) และ การตอบสนอง (Response) โดยอินทรีย์จะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและ การตอบสนองอันนาไปสู่ ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม คือการ เรียนรู้นั่นเอง
  • 4. ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ประกอบด้วยแนวคิดสาคัญ 3 แนวคิด 1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory) 2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) 3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory)
  • 5. 1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory) ทฤษฎีของธอร์นไดค์เรียกว่าทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectionism Theory) ทฤษฎีนี้กล่าวถึงการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่ง(Stimulus - S) กับการตอบสนอง (Response - R) โดยมีหลักเบื้องต้นว่า “การเรียนรู้เกิดจากการ เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยที่การตอบสนองมักจะออกมาเป็นรูปแบบต่าง ๆ หลายรูปแบบ จนกว่าจะพบรูปแบบ ที่ดี หรือเหมาะสมที่สุด เราเรียกการตอบสนองเช่นนี้ว่าการลองถูกลองผิด (Trial and error) นั่นคือการเลือกตอบสนอง ของผู้เรียนรู้จะกระทาด้วยตนเองไม่มีผู้ใดมากาหนดหรือชี้ช่องทางในการปฏิบัติให้และเมื่อเกิดการเรียนรู้ขึ้นแล้ว การตอบสนอง หลายรูปแบบจะหายไปเหลือเพียงการตอบสนองรูปแบบเดียวที่เหมาะสมที่สุด และพยายามทาให้การตอบสนองเช่นนั้นเชื่อมโยง กับสิ่งเร้าที่ต้องการให้เรียนรู้ต่อไปเรื่อย ๆ
  • 6. การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน 1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความ ภาคภูมิใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง 2. การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นที่ ต้องดาเนินการก่อนการเรียนเสมอ 3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจใน เรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ 4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้ 5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบความสาเร็จ
  • 7. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) พฤติกรรมเรสปอนเด้นท์ (Respondent behavioral) เป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดย สิ่งเร้า เมื่อ มีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถสังเกตได้ นิยมเรียกกันว่า ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวาง เงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classic Conditioning Theory) จากหลักการข้างต้นสามารถสรุปหลักการเรียนรู้ของพาฟลอฟเป็ นแผนผัง ดังนี้ การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค = สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข = การเรียนรู้
  • 8. การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน 1. ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์มีแบบแผน การตอบสนองได้ไม่เท่ากัน จาเป็นต้อง คานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร 2. การวางเงื่อนไข เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ด้วย โดยปกติผู้สอนสามารถทาให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน 3. การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้โดยป้ องกันไม่ให้ผู้สอนทาโทษเขา 4. การสรุปความเหมือนและการแยกความแตกต่าง เช่น การอ่านและการสะกดคา ผู้เรียนที่สามารถสะกดคาว่า "round" เขาก็ควรจะเรียนคาทุกคาที่ออกเสียง o-u-n-d ไปในขณะเดียวกันได้ เช่นคาว่า found, bound, sound, ground, แต่คาว่า wound (บาดแผล) นั้นไม่ควรเอาเข้ามารวมกับคาที่ออกเสียง o - u - n - d และควรฝึกให้รู้จักแยกคานี้ออกจากกลุ่ม
  • 9. 2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Conditioning Theory) ของกัทธรี (Guthrie) พฤติกรรมโอเปอแรนท์ (Operant behavioral) เป็นพฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมการ ตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน และพฤติกรรมนี้มีผลต่อสิ่งแวดล้อม นิยมเรียกกันว่า ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์ (Operant Conditioning Theory) 3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory)
  • 10. ข้อเด่นของทฤษฎีนี้ 1. ใช้ในการคิดหาความสามารถในการสัมผัสและการรับรู้ 2. ใช้ในการแก้พฤติกรรมที่เป็นปัญหา 3. ใช้ในการวางเงื่อนไขเกี่ยวกับอารมณ์ และเจตคติ ข้อจากัด สรุป ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ ธรรมชาติของมนุษย์ ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การ กระทาต่างของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับพฤติกรรมมาก เพราะ พฤติกรรมเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัด สามารถวัดและทดสอบได้
  • 11. นักการศึกษาสาคัญ ผู้นาที่สาคัญของ กลุ่มนี้คือ พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) ธอร์นไดร์ (Edward Thorndike) และสกินเนอร์ (B.F.Skinner)
  • 12. การปรับใช้กับการสอนภาษาไทย 1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจากการ เรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง เช่น ในการเรียนวรรณคดี โดยให้นักศึกษาแสดงละครในเรื่องต่าง 2. การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องดาเนินการในการแสดงละครในทุกๆด้าน 3. ผู้สอนให้ความในเรื่องราววรรณคดีในเรื่องต่างๆ เพื่อผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง และสม่าเสมอ 4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้ โดยนาเสนอการการหน้าชั้นเรียน 5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบความสาเร็จ โดยการติชม และแสดงความคิดเห็นการแสดงของนักเรียน สรุป ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ ธรรมชาติของมนุษย์ ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การกระทาต่างของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อม ภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่ม
  • 13.
  • 14. หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม กลุ่มพุทธนิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจหรือกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด นักคิดกลุ่มนี้เริ่มขยาย ขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรมออกไปสู่กระบวนการทางความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิด กลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของ มนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจาการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และ ความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทาง สติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ตนเอง
  • 15. ทฤษฎีในกลุ่มนี้ที่สาคัญๆ มี 5 ทฤษฎี คือ 1. ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จะ เน้นกระบวนการคิด การสอนโดยเสนอภาพรวมก่อนการเสนอส่วนย่อย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีประสบการณ์มากและหลากหลายซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามรถคิดแก้ปัญหา คิดริเริ่มและเกิด การเรียนรู้แบบหยั่งเห็นได้ 2. ทฤษฎีสนาม(Field Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทาให้ไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการเข้าไปอยู่ใน “โลก” ของ ผู้เรียน การสร้างแรงจูงใจหรือแรงขับโดยการจัดสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและจิตวิทยาให้ดึงดูดความสนใจและสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นในการช่วยให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ 3.ทฤษฎีเครื่องหมาย(Sign Theory) ของทอลแมน(Tolman) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการสร้างแรงขับและหรือแรงจูงใจให้ผู้เรียน บรรลุจุดมุ่งหมายใดๆ โดยใช้เครื่องหมาย สัญลักษณ์หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป็นเครื่องชี้ทางควบคู่ไปด้วย
  • 16. 4. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory) นักคิดคนสาคัญของทฤษฏีนี้มีอยู่ 2 ท่าน ได้แก่ เพียเจต์(Piaget) และบรุนเนอร์(Bruner) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เน้นเรื่อง พัฒนาการทางสติปัญญญาของบุคคลที่เป็นไปตามวัยและเชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากระบวนการการค้นพบด้วยตนเอง หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ 5.ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล(Ausubel) การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้คือ มีการ นาเสนอความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรือกรอบแนวคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นๆ จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาสาระนั้น อย่างมีความหมาย
  • 17. นักการศึกษาคนสาคัญ 1.ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญของทฤษฎีนี้คือ แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์ (Max Wertheimer) วุล์แกงค์ โคห์เลอร์ (Wolfgang Kohler) เคริ์ท คอฟฟ์ กา (Kurt Koffka) และเคริ์ท เลวิน (Kurt Lewin) 2.ทฤษฎีสนาม (Field Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญ คือ เคริ์ท เลวินซึ่งได้แยกตัวจากกลุ่มทฤษฎีเกสตัลท์ ในระยะหลัง 3.ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน (Tolman) 4.ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Inlellectual Development Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญคือ เพียเจต์ (Piaget) และบรุนเนอร์ (Bruner) 5.ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ( A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล (Ausubel)
  • 18. ข้อเด่น-ข้อจากัด ข้อเด่น ของกลุ่มพุทธนิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจหรือกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด คือนักคิดกลุ่มนี้เริ่มขยายขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรมออกไปสู่กระบวนกาทางความคิด ซึ่ง เป็นกระบวนการภายในของสมอง ข้อจากัด ของกลุ่มพุทธินิยมคือความคิด ซึ่งความคิดแต่ละความคิดย่อมแตกต่างกัน
  • 19. การนาไปประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนการสอนภาษาไทย 1. กระบวนการค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดีมีความหมายสาหรับผู้เรียน ผู้สอนต้องสอนให้ผู้เรียน ศึกษาค้นเนื้อหาภาษาไทยที่ผู้เรียนชอบด้วยตนเอง 2. การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสม เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องทาก่อนการสอน คือ วิชาภาษาไทย มีเนื้อหาที่ยากและหลากหลายเนื้อหา ผู้สอนต้องพิจารณาว่าผู้เรียนเหมาะสมกับเนื้อหาที่จะสอนหรือไม่ 3. การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum) ช่วยให้สามารถสอนเนื้อหาหรือความคิดรวบยอดเดียวกันใน วิชาภาษาไทยแก่ผู้เรียนทุกวัยได้โดยต้องจัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอน ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการของผู้เรียน 4. ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระให้มาก เพื่อช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน เช่น ในวิชาวรรณคดีผู้สอนให้อิสระในการเลือกศึกษาวรรรคดีที่สนใจ 5. การสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน คือ ผู้สอนต้องทราบว่าผู้เรียนชอบภาษาไทยในเรื่องใด เพื่อนามาสอนให้ ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการอยากเรียน ทาให้ผู้เรียนสนใจในการเรียนมากขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นในการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
  • 21. ทฤษฎีสร้างสรรค์นิยม (Constructivist Learning Theory) เกิดจากการทางานและการค้นพบของ เพียเจต์ ที่เชื่อว่า คนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และพร้อมที่จะเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมให้เข้ากับ ประสบการณ์ใหม่ จนเกิดการเรียนรู้และ เกิดการพัฒนาทางสติปัญญา เมื่อประสบกับปัญหาบุคคลจะพยายามปรับตัวให้อยู่ ในสภาวะสมดุล ด้วยกระบวนการ 2 ประการคือ การจัดและรวบรวม (Oganization) และ การปรับตัว (Adaptation) ซึ่ง พัฒนาการทางสติปัญญาของคนมีลักษณะแตกต่างกันตามช่วงอายุที่แตกต่างกัน เป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามลาดับขั้น ผู้เรียนในวัยช่วงชั้นที่ 3 (อายุ 12 ปีขึ้นไป) มีพัฒนาการเริ่มเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ และมีความสามารถคิดหาเหตุผลในเชิงนามธรรม ได้
  • 22. ลักษณะการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่นักเรียนแก้ปัญหาหรือสืบสอบเพิ่มเติม เพื่อลดความขัดแย้งทางความคิดของตนเอง การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสังคม นักการศึกษาหลายท่าน อธิบายการเรียนรู้ตามแนวคิดนี้ว่า เกิดจากการปฏิสัมพันธ์กัน ทางสังคมซึ่งอธิบายผลจากการร่วมมือกันทางสังคมไว้ว่า ความรู้สามารถถ่ายโอนจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคลหนึ่งได้ การเรียนรู้เป็นกระบวนการกากับตนเองของนักเรียน นักการศึกษาเชื่อว่าการกากับตนเองเป็นองค์ประกอบสาคัญของการ เรียนรู้
  • 23. การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎี Constructivism เนื่องจากทฤษฎีสรรคนิยม ไม่ใช่วิธีสอน จึงใช้การตีความทฤษฎีแล้วจึงนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ดังนั้น แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม จึงมีหลากหลาย สามารถประมวลได้ดังนี้ 1. กระตุ้นให้นักเรียนใช้มุมมองที่หลากหลายในการนาเสนอความหมายของมโนทัศน์ 2. ครูแสดงบทบาทเป็นผู้ชี้แนะ ผู้กากับ ผู้ฝึกฝน 3. ให้นักเรียนได้เรียนรู้งานที่ซับซ้อน ทักษะ และความรู้ที่จาเป็นจากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง วัดผลการเรียนรู้ของนักเรียนตามสภาพที่เป็นจริงขณะดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
  • 24. นักคิดที่สาคัญ Von Glasersfeld เสนอเกี่ยวกับการเรียนรู้ในมุมมองของ ทฤษฎีสรรคนิยม (Constructivist) ว่านักเรียนสร้างความรู้โดยกระบวนการคิดของตนเอง Piaget เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมามีความพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และโดยธรรมชาติมนุษย์เป็นผู้พร้อมที่จะมีกริยากรรม หรือเริ่มกระทาก่อน Bruner เชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นต่อเมื่อ ผู้เรียนได้ประมวลข้อมูลข่าวสาร จากการที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และสารวจสิ่งแวดล้อม การรับรู้ของมนุษย์ขึ้นกับ สิ่งที่เลือกจะรับรู้ โดยอยู่กับความสนใจของผู้เรียน มีความอยากรู้อยากเห็นเป็นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมสารวจสภาพสิ่งแวดล้อม และเกิดการเรียนรู้โดยการค้นพบ Fosnot อธิบายว่าความรู้เป็นสิ่งชั่วคราวมีการเปลี่ยนแปลงได้และมีการพัฒนาอาศัยสื่อกลางทางสังคมและวัฒนธรรม ส่วนการเรียนรู้เป็นกระบวนการ ที่สามารถ ควบคุมได้ด้วยตนเอง โดยต้องต่อสู้กับความขัดแย้งระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ที่แตกต่างกับความรู้เดิม ซึ่งเป็นการสร้างความรู้ใหม่ โดยมี หัวใจสาคัญ 4 ข้อ คือ 1. ความรู้ คือรูปธรรม ที่สร้างโดยผู้เรียน ผู้ซึ่งเอาใจใส่กระตือรือร้นในการเรียน 2. ความรู้คือสัญลักษณ์ ที่สร้างโดยผู้เรียน ผู้ซึ่งสร้างบทบาทการแสดงออกด้วยตัวเอง 3. ความรู้คือสังคมที่ถูกสร้างโดยผู้เรียน ผู้ซึ่งคอยส่งความหมายที่สร้างขึ้นสู่บุคคลอื่น 4. ความรู้คือเหตุผลที่ถูกสร้างโดยผู้เรียน ผู้ซึ่งพยายามอธิบายสิ่งที่ยังไม่เข้าใจทั้งหมด
  • 25. ข้อเด่น-ข้อจาากัด ข้อเด่น เน้นความสาาคัญของกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน และความสาาคัญของความรู้เดิม ข้อจากัด ผู้เรียนควรจะเรียนเนื้อหาสาระไปพร้อมกับ กระบวนการเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนการสอน แบบสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพราะถ้าผู้เรียนไม่เรียน เนื้อหาสาระ อาจจะได้ความรู้ด้วยตนเองที่ไม่ถูกต้อง ทฤษฎีการเรียนรู้สร้างสรรค์นิยมกับการเรียนการสอนภาษาไทย มีการเชื่อมโยงความรู้เข้ากับความรู้ในวิชาภาษาไทย ด้วยการกระตุ้นผู้เรียนด้วยการหากิจกรรมต่างมาช่วยในการสอน มีการยกตัวอย่างประสบการณ์ที่พบเห็นมาแลกเปลี่ยนมุมมองทางความคิด มีการบูรณาการเนื้อหาเข้าด้วยกันโดยจัดให้ ผู้เรียนมีพื้นฐานหรือประสบการณ์ของเนื้อหามาเป็น อย่างดี มีแหล่งข้อมูล ที่รวบรวมข้อมูลเนื้อหาสารสนเทศโดยมีผู้อาจาย์ผู้สอนคอยช่วยให้คาาแนะนากับผู้เรียน
  • 26. น.ส.ดาริญญา ลักษณะกุลบุตร รหัสนักศึกษา 56115200022 น.ส.ขจีพรรณ กล่อมโกมล รหัสนักศึกษา 56115200027 น.ส.พิสชา กาญจนวิวิญ รหัสนักศึกษา 56115200033 น.ส.ธัญญา รักสัจจา รหัสนักศึกษา 56115200060 คณะผู้จัดทา