SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
โรคความดันโลหิตสูง

        จัดทำาโดย
นายชาญณรงค์ พิมพ์มาศ
  ชั้นปีที่ 4/2 เลขที่ 27
ความดันโลหิตสูงคือ
      โรคความดันโลหิตสูง หรือความดันเลือด
สูง เป็นโรคเรื้อรัง และพบได้บอยในคนไทย
                              ่
สามารถตรวจได้ง่าย โดยใช้เครื่องวัดความดัน
โลหิตด้วยตัวเอง เครื่องดังกล่าวจะแสดงค่า
ความดันโลหิตสองตัว คือ ความดันโลหิตตัวบน
และตัวล่าง ในคนปกติจะมีคาความดันโลหิตไม่
                           ่
เกิน 140 มิลลิเมตรปรอท และความดันตัวล่าง
ไม่เกิน 90 มิลลิเมตรปรอท และความดันเลือด
ปกติ จะมีคาความแตกต่างกัน ในแต่ละคนแต่ละ
           ่
อายุ
โรคความดันโลหิตสูง
    คนปรกติจะมีความดันโลหิต 120/80 มิลิ
เมตรปรอท หากความดันโลหิตตัวบนหรือ
systolic มากกว่า 140 มิลิเมตรปรอท หรือความ
โลหิตตัวล่างเกิน 90 มิลิเมตรปรอทจะเรียกว่า
ความดันโลหิตสูง
การวัดความดันโลหิตสูง
      การวัดความดันโลหิตที่ถูกต้องจะได้คา ่
ความดันโลหิตที่ถูกต้อง หากใช้เครื่องมือไม่
เหมาะสม หรือการวัดผิดวิธีก็จะได้ค่าความดัน
ผิด การวัดความดันโลหิตจะต้องใช้เครื่องมือที่
ถูกต้อง การเตรียมตัวที่ถูกต้อง การวัดที่ถูกต้อง
วิธีวัดความดันโลหิตมีได้หลายวิธี
สาเหตุของการเกิดโรคความดันสูง
      ผูป่วยที่ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็น 2
        ้
กลุ่มคือความดันโลหิตที่ไม่ทราบสาเหตุเรียกว่า
Primary hypertension ส่วนอีกกลุ่มได้แก่ความ
ดันโลหิตสูงเรียก Secondary hypertension ผู้
ป่วยกลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุจะเป็นกลุ่มที่พบมาก
ที่สดประมาณร้อยละ 95 เชือว่ามีสาเหตุหลาย
    ุ                     ่
ชนิดมารวมกันทำาให้ความดันสูง
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดพบมากในผู้
สูงอายุ และจะพบมากขึ้นหากมีความดันโลหิต
สูง โรคเบาหวาน สูบบุหรี่ อ้วนลงพุง หรือขาด
การออกกำาลังกาย หากท่านมีอาการเจ็บหน้าอก
ครั้งแรกต้องรีบปรึกษาแพทย์ หากท่านเคยเป็น
มาก่อนท่านต้องคุมความเสียงของท่าน
                          ่
การป้องการการเกิดโรคความดัน
          โลหิตสูง
       การป้องกันโรคความดันโลหิตสูงสามารถ
นำามาใช้กับผูที่ร่างกายปรกติ หรือกลุ่มที่ความ
              ้
ดันเริ่มจะสูง หรือกลุ่มผู้ปวยที่ความดันโลหิตสูง
                           ่
แล้ว การป้องกันความดันโลหิตสูงจะเป็นการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยสามารถลดความดัน
โลหิตได้ประมาณ 20 มม.ปรอท
ทำาไมต้องรักษาโรคความดัน
     ความดันโลหิตสูงไม่มากหรือความดัน
ค่อยๆสูงมักจะไม่มีอาการ หายท่านไม่
ยอมรับประทานยา หลายท่านหยุดยาเมื่อรับ
ประทานยาได้สกระยะหนึง หลายท่านกลัว
              ั         ่
ว่าหากรับประทานยามากๆจะทำาให้เกิดโรค
ไต แต่ผู้ปวยและญาติคงต้องทราบว่าหากไม่
          ่
รักษาจะเกิดอะไรได้บ้าง โรคความดันมีผล
ต่ออวัยวะใดบ้าง
โรคแทรกซ้อนของความดันโลหิต
    โรคความดันโลหิตสูงทำาให้เกิดหลอดเลือด
ตีบ ซึ่งหากไปเลี้ยงอวัยวะไม่พอก็จะเกิดเสียหาย
ต่ออวัยวะนั้น และหากเกิดลิ่มเลือดจากผนัง
หลอดเลือดก็จะเกิดโรคที่อวัยวะนั้นแบบ
เฉียบพลัน โรคแทรกซ้อนได้หลายระบบ ได้แก่
หัวใจและหลอดเลือด สมอง ไต เท้า ตา
การรักษาความดันโลหิต
    การรักษาโรคความดันโลหิตสูงแบ่งได้เป็น
การรักษาที่ไม่ใช้ยาได้แก่การปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม และการรักษาด้วยยา นอกจากนั้นจะ
ต้องรักษาโรคแทรกซ้อน และการป้องกันโรค
แทรกซ้อนที่จะเกิด
จบการนำาเสนอ

Contenu connexe

Tendances

คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์Utai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 

Similaire à โรคความดันโลหิตสูง

โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงklomza501
 
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยโรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยDr.yababa najra
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนBeigecolor
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนBeigecolor
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนBeigecolor
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงBeigecolor
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงPartompon2482542
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษาKasipat_Nalinthom
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษาKasipat_Nalinthom
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษาKasipat_Nalinthom
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02vora kun
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษาdragon2477
 
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มKomen Chawarit
 

Similaire à โรคความดันโลหิตสูง (20)

โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยโรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมน
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมน
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมน
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษา
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษา
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษา
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
 

โรคความดันโลหิตสูง

  • 1. โรคความดันโลหิตสูง จัดทำาโดย นายชาญณรงค์ พิมพ์มาศ ชั้นปีที่ 4/2 เลขที่ 27
  • 2. ความดันโลหิตสูงคือ โรคความดันโลหิตสูง หรือความดันเลือด สูง เป็นโรคเรื้อรัง และพบได้บอยในคนไทย ่ สามารถตรวจได้ง่าย โดยใช้เครื่องวัดความดัน โลหิตด้วยตัวเอง เครื่องดังกล่าวจะแสดงค่า ความดันโลหิตสองตัว คือ ความดันโลหิตตัวบน และตัวล่าง ในคนปกติจะมีคาความดันโลหิตไม่ ่ เกิน 140 มิลลิเมตรปรอท และความดันตัวล่าง ไม่เกิน 90 มิลลิเมตรปรอท และความดันเลือด ปกติ จะมีคาความแตกต่างกัน ในแต่ละคนแต่ละ ่ อายุ
  • 3. โรคความดันโลหิตสูง คนปรกติจะมีความดันโลหิต 120/80 มิลิ เมตรปรอท หากความดันโลหิตตัวบนหรือ systolic มากกว่า 140 มิลิเมตรปรอท หรือความ โลหิตตัวล่างเกิน 90 มิลิเมตรปรอทจะเรียกว่า ความดันโลหิตสูง
  • 4. การวัดความดันโลหิตสูง การวัดความดันโลหิตที่ถูกต้องจะได้คา ่ ความดันโลหิตที่ถูกต้อง หากใช้เครื่องมือไม่ เหมาะสม หรือการวัดผิดวิธีก็จะได้ค่าความดัน ผิด การวัดความดันโลหิตจะต้องใช้เครื่องมือที่ ถูกต้อง การเตรียมตัวที่ถูกต้อง การวัดที่ถูกต้อง วิธีวัดความดันโลหิตมีได้หลายวิธี
  • 5. สาเหตุของการเกิดโรคความดันสูง ผูป่วยที่ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็น 2 ้ กลุ่มคือความดันโลหิตที่ไม่ทราบสาเหตุเรียกว่า Primary hypertension ส่วนอีกกลุ่มได้แก่ความ ดันโลหิตสูงเรียก Secondary hypertension ผู้ ป่วยกลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุจะเป็นกลุ่มที่พบมาก ที่สดประมาณร้อยละ 95 เชือว่ามีสาเหตุหลาย ุ ่ ชนิดมารวมกันทำาให้ความดันสูง
  • 6. โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดพบมากในผู้ สูงอายุ และจะพบมากขึ้นหากมีความดันโลหิต สูง โรคเบาหวาน สูบบุหรี่ อ้วนลงพุง หรือขาด การออกกำาลังกาย หากท่านมีอาการเจ็บหน้าอก ครั้งแรกต้องรีบปรึกษาแพทย์ หากท่านเคยเป็น มาก่อนท่านต้องคุมความเสียงของท่าน ่
  • 7. การป้องการการเกิดโรคความดัน โลหิตสูง การป้องกันโรคความดันโลหิตสูงสามารถ นำามาใช้กับผูที่ร่างกายปรกติ หรือกลุ่มที่ความ ้ ดันเริ่มจะสูง หรือกลุ่มผู้ปวยที่ความดันโลหิตสูง ่ แล้ว การป้องกันความดันโลหิตสูงจะเป็นการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยสามารถลดความดัน โลหิตได้ประมาณ 20 มม.ปรอท
  • 8. ทำาไมต้องรักษาโรคความดัน ความดันโลหิตสูงไม่มากหรือความดัน ค่อยๆสูงมักจะไม่มีอาการ หายท่านไม่ ยอมรับประทานยา หลายท่านหยุดยาเมื่อรับ ประทานยาได้สกระยะหนึง หลายท่านกลัว ั ่ ว่าหากรับประทานยามากๆจะทำาให้เกิดโรค ไต แต่ผู้ปวยและญาติคงต้องทราบว่าหากไม่ ่ รักษาจะเกิดอะไรได้บ้าง โรคความดันมีผล ต่ออวัยวะใดบ้าง
  • 9. โรคแทรกซ้อนของความดันโลหิต โรคความดันโลหิตสูงทำาให้เกิดหลอดเลือด ตีบ ซึ่งหากไปเลี้ยงอวัยวะไม่พอก็จะเกิดเสียหาย ต่ออวัยวะนั้น และหากเกิดลิ่มเลือดจากผนัง หลอดเลือดก็จะเกิดโรคที่อวัยวะนั้นแบบ เฉียบพลัน โรคแทรกซ้อนได้หลายระบบ ได้แก่ หัวใจและหลอดเลือด สมอง ไต เท้า ตา
  • 10. การรักษาความดันโลหิต การรักษาโรคความดันโลหิตสูงแบ่งได้เป็น การรักษาที่ไม่ใช้ยาได้แก่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม และการรักษาด้วยยา นอกจากนั้นจะ ต้องรักษาโรคแทรกซ้อน และการป้องกันโรค แทรกซ้อนที่จะเกิด