SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  22
Télécharger pour lire hors ligne
Dhammaratana Journal
Vol.2 No.7 July-Sept. 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๗ เดือนก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖
วารสารธรรมรัตน์
11
ส.ค.
๒๕๕๖
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำ�บุญ
วันกตัญญูรู้พระคุณแม่
ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
- สวดมนต์ ภาวนา
- ตักบาตร
- ฟังเทศน์
- ระลึกถึงพระคุณแม่
ข อ เ ช ิ ญ ร ่ ว ม . . .
Join us to celebrate
Mother's Day
Sunday, August 11, 2013
All Members are welcome
วันกตัญญูรู้พระคุณแม่
Mother's Day
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
C O N T E N T S
ส า ร บ ั ญ
OBJECTIVES
	 - To serve as a Buddhism
promotion center in the U.S.
	 - To serve as a meditation
center in Pittsburgh
	 - To promote virtues, Bud-
dhist culture and traditions
	 - To be a center of all Bud-
dhists, regardless of nationalities
วัตถุประสงค์
	 - เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา
	 - เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนา
กรรมฐานประจำ�เมืองพิทส์เบอร์ก
	 - เพื่อศูนย์ส่งเสริม ศีลธรรม
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี
ที่ดีงามของชาวพุทธ
	 - เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมเสริม
ความรู้พระธรรมทูตสายต่างประเทศ
	 - เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาว
พุทธโดยไม่จำ�กัดเชื้อชาติ
บทบรรณาธิการ	
พระพุทธพจน์ - The Buddha's Words		 	 	 1
In search of the truth	 	 	 	 	 	 2
พุทธประกันภัย	 	 	 	 	 	 7
เพชรจากพระไตรปิฎก		 	 	 	 	 10
วันแม่ วันลูก	 	 	 	 	 	 	 12
9 วิธีหลับง่ายนอนสบาย	 	 	 	 	 16
สรุปข่าวเดือนเมษายน-พฤษภาคม-มิถุนายน	 	 	 19
รายรับ-รายจ่ายเดือนเมษายน-พฤษภาคม-มิถุนายน	 	 22
ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ		 	 31
ภาพกิจกรรมต่างๆ - Activities		 	 	 	 32-35
Mother's Day Celebration	 	 	 	 	 36
กำ�หนดการวันกตัญญูรู้พระคุณแม่	 	 	 	 37
กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี 2555 - Religious Ceremony 2012	 38
Activities of BMCP	 	 	 	 	 	 39
วัดป่าธรรมรัตน์
ก้าวย่างแห่งการฝึกตน
คติธรรมประจำ�วัด
สติมโต สทา ภทฺทํ
คนมีสติ เท่ากับมีสิ่งนำ�โชคตลอดเวลา
The mind is very hard to check
and swift, it falls on what it wants.
The training of the mind is good,
a mind so tamed brings happiness.
เจ้าของ : วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ที่ปรึกษา :
	 พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี)
	 พระราชพุทธิวิเทศ
	 พระครูปริยัติธรรมาภิราม
	 พระครูสิริอรรถวิเทศ
	 พระครูสังฆรักษ์อำ�พล สุธีโร
	 คณะสงฆ์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดีซี
	 คณะสงฆ์วัดป่าสันติธรรม
กองบรรณาธิการ :
	 พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ
	 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ
	 และอุบาสก-อุบาสิกา
รูปเล่ม/รูปภาพ
	 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ
Dhammaratana Journal is published by
Wat Padhammaratana
The Buddhist Meditation Center of Pittsburgh
5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207
Tel(412)521-5095
E-mail : bmcpitts@hotmail.com
bmcpitts@yahoo.com
Homepage : www.bmcpitts.org
www.facebook.com/bmcpitts
www.youtube.com/bmcpitts
ธรรมรัตน์-Dhammaratana
วารสารธรรมะวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
Vol.2 No.7 July-Sept. 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๗ เดือนก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana1
พระพุทธพจน์
The Buddha's Words
			
	 อหํ นาโคว สงฺคาเม		 จาปาโต ปติตํ สรํ
อติวากฺยํ ติติกฺขิสฺสํ			 ทุสฺสีโล หิ พหุชฺชโน ฯ๓๒๐ฯ
	 เราจักอดทนต่อคำ�เสียดสีของคนอื่น เหมือนพญาคชสาร
ในสนามรบ ทนลูกศรที่ปล่อยออกไปจากคันธนู เพราะว่าคนโดย
มาก ทุศีล
	 As an elephant in the battle field
withstands the arrows shot from a bow.
Even so will I endure abuse,
for people's conduct is mostly low.
บทบรรณาธิการ
	 "อิมัสมิง อาวาเส อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ ข้าพเจ้าขอเข้าจำ�พรรษ
ตลอดไตรมาส(๓เดือน)ในอาวาสนี้ " นี้คือคำ�อธิษฐานจำ�พรรษาของพระภิกษุใน
พระพุทธศาสนา เป็นการแสดงเจตจำ�นงค์ความตั้งใจว่าจะอยู่ ณ ที่แห่งใดแห่งหนึ่ง
	 วารสารธรรมรัตน์รายไตรมาสกลางปี 2556 กลับมาพบกับท่านอีกครั้ง
หนึ่ง เป็นฉบับที่สองในรอบปี2556 มีสาระธรรมกิจกรรม และเรื่องราวมากมายมา
ฝาก เพื่อแจ้งให้สมาชิกได้ทราบว่าภายในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมาทางวัดทำ�อะไรบ้าง
และในอีก 3 เดือนข้างหน้าจะมีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้นบ้าง
	 ในเดือนเมษายน,พฤษภาคม และมิถุนายนที่ผ่านมานั้น มีกิจกรรมบำ�เพ็ญ
บุญกุศลมากมาย คือ เดือนเมษายนทางวัดจัดทำ�บุญประเพณีสงกรานต์ที่วัด และ
ได้เดินทางไปร่วมทำ�บุญประเพณีสงกรานต์ที่วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. เดือน
พฤษภาคมนั้นมีกิจกรรมหลักคือการจัดเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชาที่วัด และร่วม
จัดงานวิสาขนานาชาติร่วมกับชาวพุทธนานาชาติเมืองพิทส์เบิร์ก, เดือนมิถุนายน
นั้นคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ได้เดินทางไปช่วยงานประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยใน
สหรัฐอเมริกาและทำ�บุญอายุวัฒนมงคลครบรอบ 88 ปีหลวงตาชี หลังจากนั้นมี
พระเถรานุเถระและญาติโยมจากประเทศไทยเดินทางมาเยี่ยมเยือนวัดและเมือง
พิทส์เบิร์ก เป็นต้นว่า พระเดชพระคุณพระธรรมโมลี เจ้าคณะจ.สุรินทร์ อีกเรื่อง
หนึ่งที่อยากแจ้งให้ทราบคือปีนี้พระภิกษุจำ�พรรษาที่วัดป่าธรรมรัตน์2รูปคือพระ
มหาสายันต์ อคฺควณฺโณ และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ
	 กิจกรรมที่จะมีขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายนนั้น มีกิจกรรมทำ�บุญ
วันกตัญญูรู้พระคุณแม่ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 11 สิงหาคมนี้ ขอเชิญชวนทุกท่านร่วม
กิจกรรมบูชาพระคุณแม่กับทางวัด ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาปีนี้ ทางวัดมีกิจกรรม
นั่งสมาธิ สวดมนต์ สนทนาธรรมเป็นประจำ�ทุกเย็นวันอาทิตย์ตั้งแต่เวลา 17.00
- 19.00 น. ขอเรียนเชิญญาติโยมทุกท่านร่วมบำ�เพ็ญบุญพิเศษ หรือถ้าญาติโยมมี
ความสนใจพิเศษที่อยากศึกษาปฏิบัติธรรมเพิ่มเติมสามารถติดต่อสอบถามกับทาง
วัดได้ตลอดเวลาเสมือนหนึ่งเป็นวัดของญาติโยมเอง จึงแจ้งมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน
	 และเพื่อไม่เป็นการเสียเวลา ขอเชิญญาติโยมทุกท่านพลิกไปอ่านสาร
ธรรม และกิจกรรมต่างๆ ในรอบ ๓ เดือนที่ผ่านมาได้ในวารสารเล่มนี้
ด้วยไมตรีธรรม
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana2 3
S
ince this article is appearing within the pages of a Buddhist pub-
lication, one would correctly assume that the truth search de-
scribed in the title refers to the writer’s eventual discovery of the
Buddhadhamma and how that discovery changed his life forever. Two
thousand six hundred years ago a young prince of northern India left
the comforts and pleasures of his father’s palace to embark on an ardu-
ous six year journey to find an enduring happiness. He had come to the
conclusion that this inner peace could not be found within his role as a
future king and so, much to the sadness and consternation of his parents
and young wife and infant son, he left the palace discarding his princely
robes for rags, beginning a life of homelessness and deprivation in his
search for truth. He did this for himself of course, but additionally he did
it out of compassion for his loved ones and all living beings who were to
come after him. When he found the answer by his own efforts six years
later, after almost dying of starvation; again, out of compassion, he de-
cided to teach others the way to this lasting peace and happiness, includ-
ing his family. The basic tool that he left all mankind to lead them to this
victory over suffering and unhappiness was the practice of meditation.
Meditation is the starting point on the path to this state of personal last-
ing happiness and the end of suffering. I “stumbled upon” the practice
of Buddhism five years ago, which for me was the beginning of the
end of a most unhappy and
problematic life which had
been filled with pain and
increasing despair. How I
embarked on the path which
the Buddha pioneered all
those years ago is my per-
sonal story of deliverance.
Therefore an opening state-
ment on Buddhist medita-
tion would be in order.
	 The skillful and persistent practice of meditation as taught by
Siddhattha Gotama, otherwise known as the Buddha, is the one and only
way in this unimaginably vast universe to complete the most difficult
assignment one could ever accept; that of controlling and purifying
one’s mind and experiencing everlasting happiness. I realize that is a
bold statement coming from the pen of a layperson, and you should not
automatically believe it just because I wrote it, and because it may sound
plausible to your common-sense. Then again it may not sound plausible
at all and will lead you to stop reading right here. For those of you
continuing, I freely admit I am not the author of such a wonderful state-
ment, only a messenger of the good tidings. Now consider a statement
on the same topic from someone who unlike me, has devoted their entire
life to the study of mind, and the pursuit of lasting happiness through
the practice of Buddhist meditation. To quote the Venerable Henepola
Gunaratana, a Theravadan monk and author of numerous books on the
subject; “Meditation sharpens your concentration and your thinking
power. Then piece by piece, your own subconscious motives and me-
chanics become clear to you. Your intuition sharpens; the precision of
your thought increases and gradually you come to a direct knowledge of
things as they really are, without prejudice and without illusion.” Very
perceptive and illuminating of course, but one should not even directly
accept what Venerable Gunaratana says as the truth. In fact, the Buddha
told his disciples that they should not believe anything he told them ei-
ther! If one should not believe even the Buddha’s own words then who
should one believe? No one! That’s correct, no one. The Buddha said
that the only trustworthy source of truth was your own direct experience,
which would verify the truth of what he had said. Again, the truth will
IN SEARCH OF THE TRUTH
By William Anderson
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana4 5
be revealed as the truth, only when you have the experience of it. Get
it? The Venerable Gunaratana continues, “ So, is this reason enough to
bother meditating? Scarcely! These are just promises on paper. There is
only one way you will ever know if meditation is worth the effort; learn
to do it right, and do it. See for yourself.”			
	 Now, with respect to promises on paper; I have read many dif-
ferent explanations of the meaning of life, and the achievement of a
seemingly elusive lasting happiness. These paper promises came within
the pages of numerous works of literature, poetry, philosophy, religion,
psychology and various versions of metaphysics. The results of this
reading and pondering only brought me to the conclusion much later
in life, that none of these authors actually had it all together; they only
had bits and pieces of truth that could not be assembled into one cohe-
sive and understandable form. Despite all of my reading of such writ-
ings, I always came away feeling that there was no concrete and realistic
way to implement this wisdom into my daily life and thus solve all of
my many emotional problems. All of these theories of the meaning of
life and happiness are similar to the manner in which modern physicists
postulate a single explanation for the existence and interrelationship
of all the forces which hold the universe together; what they call a uni-
fied field theory. I too was seeking one such gift-wrapped package that
when opened contained unchanging happiness. After a lifetime of read-
ing such theories I realized I was not the only one who was unhappy and
confused about life. I came to the conclusion that absolutely everyone
is in the dark on these life and death issues, whether they are honest
enough to admit it or not. Some give up the search at some point and
resort to the pursuit of one distracting behavior after another as a cheap
temporary substitute for true lasting happiness. Others as well, never
even consider asking such questions of life and feel that the only pur-
pose to existence is simply enjoying themselves and seeking pleasure.
Never totally abandoning my search; I did however, spend the majority
of my adult years following one dead end after another in the deserts of
confusion. I attempted during these wanderings to cover-up the increas-
ing pain and dissatisfaction of my life with the placebo of sensual plea-
sure, but more on that later.
	 In any good story one usually starts at the beginning, and for
me the search for the truth began at a very early age. As a young boy
I wanted to know who made the world in which I found myself living.
Who was God and where was he located? I was led to believe that God
was a male with no name other than God, and that he was somehow this
but also my father; very confusing. In fact, although I had a name like
everyone else, I never felt fully comfortable with mine as if I had some
secret identity that no one could tell me. I was raised in the Christian
tradition and baptized as an infant. This procedure required an authority
figure to sprinkle water over my head while I probably cried in protest.
The purpose of this early unwanted exposure to cold water was to pro-
tect me from the Devil, who was the inventor and perpetrator of all the
evil in the world. Imagine, all you need to be safe in this chaotic and
violent world is a little water properly applied! This chaotic and violent
world of course had been created by a supposedly all-powerful God,
who was also my father. The key which was to unlock the mystery of
God was the fact that he had a son named Jesus, who was also some-
how my brother. I was told that this brother of mine had died a horrible
bloody death because of my sins (those wrong behaviors which I would
continue to perform throughout my life). The only sins that I had com-
mitted as a small boy would have been occasional lies and perhaps the
taking of something that didn’t belong to me, a cookie for example or
another child’s toy. Because of these simple childlike sins I was to for-
ever feel guilty and worthless because I had somehow brought about the
death of my brother Jesus due of these behaviors. Confused yet? Imag-
ine how I felt. Returning to this Devil character, it seems he had an army
of evil friends called demons who would invisibly sit on your shoulder
and somehow whisper in your ear to do bad things The Devil it seemed
was very successful in spreading violence and unhappiness around the
world despite the supposed all- powerful God, who was also my father.
Since I was never to know or even meet my earthly father I was doubly
confused. Why would God permit people to suffer so greatly and permit
them to be so universally unhappy? As a child you were not to ask such
questions and if you did, you quickly discovered that no one had a sen-
sible answer. We were taught that God understood all of this and would
one explain if all in Heaven. Despite all the evident suffering and chaos
in the world I was taught that if I was good I would go to this wonderful
place when I died and be with God, who was also my father, and Jesus
his son who was also my brother. Unfortunately I was never able to
be “Good”, but instead found myself committing many sins every day.
I felt helplessly trapped within this unbending system of reward and
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana6 7
punishment because I felt the requirement to be perfect. After all, Jesus
himself told his followers, “Be ye perfect as I am perfect.”
	 I found that I could be “perfect” for perhaps thirty seconds if
I didn’t count sinful thoughts which constantly circulated within my
mind. As I got older I noticed that the thoughts became progressively
more complicated, sinister and numerous. Much later, I realized that
this was due to my experiencing life every waking second, and that my
brain was constantly making a record of these experiences. Our brains
are so sophisticated that they even record thoughts, about our thoughts,
in the form of judgments and opinions, like and dislike. Of course as
a child I had no clue how my mind worked. All I knew was that I con-
stantly had unhappy and fearful thoughts with the occasional break of a
happy thought or experience which I desperately tried to hold onto. This
story of my search for the truth will continue at another time, but for
now I leave you with a quote from the pen of the poet A. E. Houseman
which beautifully sums up how I felt leaving childhood and entering
adolescence, and is from Houseman’s The Last poems;
	 “I, a stranger and afraid in a world I never made.”
	 ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน ครอบครัว และอื่นๆ เป็นยอด
ปรารถนาของคนทั้งหลาย ทำ�ให้มนุษย์พยายามคิดค้นสร้างสรรค์สิ่งต่างๆขึ้น
ไม่ว่าจะเป็นที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า และเครื่องอำ�นวยความสะดวกหลายหลาก เพื่อ
ความปลอดภัย ถ้าสังเกตจะเห็นว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว กำ�ลังพัฒนา และด้อย
พัฒนาทั่วโลก จะมีสิ่งป้องกันภัยและอำ�นวยความสะดวกต่างๆ เช่น ในประเทศ
สหรัฐอเมริกา จะมีระบบเตือนภัยธรรมชาติที่ดีเยี่ยมจนสามารถรู้ได้ล่วงหน้า
หลายวันชั่วโมงต่อชั่วโมงว่า ภายในอาทิตย์นี้ฝนจะตก แดดจะออกจนคนที่จะ
ออกไปทำ�ธุระนอกบ้านสามารถเตรียมพร้อมรับมือกับดินฟ้าอากาศได้
	 ถึงแม้ประเทศที่พัฒนาเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีก็ใช่ว่าจะ
มีความปลอดภัยในชีวิตอย่างเต็มที่ เพราะภัยต่างๆ ใช่ว่าจะเกิดจากมนุษย์
เองเท่านั้น ยังมีภัยธรรมชาติที่อยู่เหนือการควบคุมของเรา ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่
สามารถกะเกณฑ์เตรียมรับมือได้ จึงเห็นว่ามีบริษัทประกันภัยผุดขึ้นมากมาย
เช่น บริษัทประกันชีวิต สุขภาพ บ้าน รถยนต์ ทรัพย์สิน และธุรกิจ เป็นต้น
บริษัทประกันภัยเหล่านั้นต่างต้องเสียเงินทองในการทำ�ประกันโดยจ่ายเป็นราย
เดือน รายปี ซึ่งคนที่ทำ�ประกันภัยต้องใช้จ่ายเงินจำ�นวนมากในแต่ละปี เพื่อ
ป้องกันภัยที่จะเกิดขึ้นกับชีวิต ทรัพย์สิน และครอบครัวของตนเอง
	 เมื่อ ๒,๕๐๐ กว่าปีก่อน พระพุทธเจ้าก็ทรงวางหลักประกันภัยไว้เหมือน
พุทธประกันภัย
ปิยเมธี
	 ญาติธรรมจาก
ประเทศไทย, มลรัฐ
วอชิงตัน,ดี.ซี. และ
มลรัฐเวอร์จีเนีย ได้เดิน
ทางมาเยี่ยมเยือนให้กำ�
ลังใจพระสงฆ์และชาว
พุทธในการสร้างวัดใหม่
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana8 9
กัน เรียกว่า พุทธประกันภัย เป็นระบบประกันภัยที่ต่างจากประกันภัยในปัจจุบัน
คือ ไม่ต้องลงทุน ลงเงิน แต่มีระเบียบปฏิบัติว่าต้องลงแรง ลงมือกระทำ� มีวินัย
งดเว้น ละเว้นบางสิ่งบางประการ โดยมีระเบียบปฏิบัติในการทำ�ประกันภัยด้าน
ต่างๆ และผลประโยชน์ที่ผู้เอาประกันจะได้รับ ดังนี้
๑.ประกันภัยชีวิต
	 มีระเบียบการชำ�ระประกันภัยด้วยการไม่เบียดเบียนทำ�ลายสิ่งมีชีวิต
โดยต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผลประโยชน์ที่จะได้กรณียังมีชีวิตอยู่ คือ มีสุขภาพ
แข็งแรง หน้าตาผ่องใส อายุยืน ไม่ค่อยมีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน เป็นที่รักของ
คนและสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย หลังจากเสียชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์
และสวรรค์ เป็นต้น
๒.ประกันทรัพย์สิน
	 มีระเบียบการชำ�ระประกันภัยด้วยการไม่ปล่อยให้ความโลภครอบงำ�
หยิบจับเอาวัตถุสิ่งของที่ไม่ใช่ของๆ ตน ต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผลประโยชน์
ที่จะได้กรณียังมีชีวิตอยู่ คือ ไม่ต้องขึ้นโรงขึ้นศาล ทรัพย์สมบัติปลอดภัย ไม่
ถูกเบียดบัง หลังจากเสียชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์และสวรรค์
เป็นต้น
๓.ประกันครอบครัว
	 มีระเบียบชำ�ระประกันภัยด้วยการเคารพรักเพศตรงข้ามและเพศ
เดียวกันเสมอเหมือนญาติของตนเอง ต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผลประโยชน์
ที่จะได้กรณียังมีชีวิตอยู่ คือ ครอบครัวมั่นคง มีความสุข ปลอดภัยจากโรคร้าย  
ต่างๆ เป็นต้นว่า HIV หลังจากเสียชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์และ
สวรรค์ เป็นต้น
๔.ประกันเครดิต
	 มีระเบียบชำ�ระประกันภัยด้วยการมีสติ มีเมตตาในการพูดจาให้ไพเราะ
ดี มีประโยชน์กับทุกๆ คน ต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผลประโยชน์ที่จะได้รับกรณี
ยังมีชีวิตอยู่ คือ มีเครดิต มีเสน่ห์ พูดอะไรมีคนเคารพรักเชื่อถือ หลังจากเสีย
ชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์และสวรรค์ เป็นต้น
๕.ประกันสุขภาพ
	 มีระเบียบชำ�ระประกันภัยด้วยการงดเว้นจากการดื่มเครื่องดองของ
มึนเมาต่างๆ ที่เป็นเหตุให้ประมาทขาดสติ ต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผล
ประโยชน์ที่จะได้กรณียังมีชีวิตอยู่คือ สุขภาพแข็งแรง ไม่เสียทรัพย์ ไม่เสียชื่อ
เสียง คนนับถือ มีความคิดอันเฉียบคม ไม่ขาดสติอันเป็นเหตุให้ทำ�อะไรโง่ๆ
หลังจากเสียชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์และสวรรค์ เป็นต้น
	
ข้อแตกต่างระหว่างประกันภัยทั่วไปกับพุทธประกันภัย คือ
	 ประกันภัยทั่วไป ผู้เอาประกันต้องลงทุนจ่ายทรัพย์ทุกเดือนต่อเนื่อง
หลายปี และต้องทำ�ตามระเบียบที่ทางบริษัทกำ�หนดว่าต้องจ่ายเงินจำ�นวน
เท่านั้นบาท ระยะเวลากี่ปี และห้ามทำ�อะไรบ้าง จึงจะได้รับผลประโยชน์
	 ส่วนพุทธประกันภัยต้องลงมือกระทำ�  ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
ไม่มีกำ�หนดปีที่ทำ�  ทำ�เท่าไหร่ก็ได้รับประกันภัยเท่านั้น ถ้าหยุดทำ�ก็หยุดรับผล
ประโยชน์
	 พุทธประกันภัย ที่มีพระพุทธเจ้าเป็นเจ้าของบริษัทได้การันตีไว้ว่า ถ้า
ทุกคนทำ�ประกันภัยกับบริษัทพุทธประกันภัย จะได้ประโยชน์คือความสงบเย็น
เป็นสุขแก่ตัวผู้ทำ�เอง ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ และโลก โดยจะได้รับประ
โยชน์หลักๆ ดังนี้
	 ๑.ทำ�ให้พบเจอเพื่อนที่ดี สังคมที่ดี
	 ๒. ทำ�ให้เจริญรุ่งเรืองร่ำ�รวย
	 ๓. ทำ�ให้ชีวิตร่มเย็นเป็นสุขทั้งส่วนตัวและส่วนรวม
	 เมื่ออ่านมาถึงตรงนี้ ก็ขึ้นอยู่กับท่านทั้งหลายเองว่าจะทำ�ประกันกับ
บริษัทพุทธประกันภัยหรือไม่ ถ้าอยากทำ�  วิธีทำ�ก็ไม่ยาก โดยมีวิธีทำ�ง่ายๆ ๒
วิธี คือ
	 ๑.ตั้งจิตอธิษฐานต่อหน้าพระพุทธรูปที่เป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้าว่า
จะทำ�ประกันภัยกับพระองค์ด้วยการปฏิบัติตามระเบียบประกันภัยทั้ง ๕ ข้อ
	 ๒.ไปที่วัดใกล้บ้านแล้วกล่าวคำ�สมาทานประกันภัยต่อหน้าพระสงฆ์
โดยมีพระภิกษุเป็นสักขีพยานด้วยการปฏิบัติตามระเบียบทั้ง ๕ ข้อ
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana10 11
จิตที่ฝึกและไม่ฝึก
	 ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่ไม่อบรม
แล้ว ย่อมไม่ควรแก่การงาน เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตที่ไม่อบรมแล้ว
ย่อมไม่ควรแก่การงาน
	 ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่อบรม
แล้ว ย่อมควรแก่การงาน เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตที่อบรมแล้ว ย่อม
ควรแก่การงาน ฯ
	 ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่ไม่
อบรมแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้ง
หลาย จิตที่ไม่อบรมแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่ ฯ
	 ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่อบรม
แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลายจิตที่
อบรมแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ ฯ
	 ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่ไม่อบรม
แล้ว ไม่ปรากฏแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกร
ภิกษุทั้งหลายจิตที่ไม่อบรมแล้วไม่ปรากฏแล้วย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์
เพชรจาก......พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒
อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
อย่างใหญ่ ฯ
	 ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่อบรม
แล้ว ปรากฏแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้ง
หลาย จิตที่อบรมแล้ว ปรากฏแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ ฯ
	 ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่ไม่อบรม
แล้ว ไม่ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่เหมือนจิต
ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตที่ไม่อบรมแล้ว ไม่ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่
ประโยชน์อย่างใหญ่ ฯ
	 ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่อบรม
แล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย จิตที่อบรมแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่
ฯ
	 ดูกรภิกษุทั้งหลายเราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่ไม่อบรม
แล้วไม่ทำ�ให้มากแล้วย่อมนำ�ทุกข์มาให้เหมือนจิตดูกรภิกษุทั้งหลายจิตที่ไม่
อบรมแล้ว ไม่ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมนำ�ทุกข์มาให้ ฯ
	 ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่อบรม
แล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมนำ�สุขมาให้ เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตที่อบรม
แล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมนำ�สุขมาให้ ฯ
	 พระเดชพระคุณพระธรรมโมลี จจ.สุรินทร์, พระครูสิริอรรถวิเทศ
เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ฯ, พระครูสุตพุทธิธัช เลขานุการสหภาพพระธรรมทูตไทย
ยุโรป เมตตาเยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana12 13
	 "ปีหนึ่งมีวันแม่วันเดียวอีก๓๖๔วันเป็นวันลูก"เสียงรำ�พึงเหล่านี้
อาจไม่ได้เป็นเรื่องจริงจังอะไรนัก แต่ก็สื่อให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของแม่
ลูกในสังคมปัจจุบันได้ไม่น้อยทีเดียว
	 ตามธรรมชาติแล้วแม่และลูกมีความสัมพันธ์ กันอย่างลึกซึ้งตั้งแต่
ลูกถือกำ�เนิดขึ้นมาในครรภ์ของแม่ สารอาหารที่ผ่านมาทางเลือดของ
แม่ค่อยๆ เสริมสร้างส่วนต่างๆ ในร่างกายลูก จนกระทั่งเวลาผ่านไป ๒
สัปดาห์ปากน้อยๆ ของลูกก็เกิดขึ้น ๓ สัปดาห์ลูกเริ่มมีตา ปลายสัปดาห์ที่
๓ หัวใจเริ่มเต้น ในสัปดาห์ที่ ๘ ลูกมีอวัยวะทุกอย่างครบถ้วน สัปดาห์ที่
๔๐นัยน์ตามีสีเฉพาะตามเชื้อชาติร่างกายสมบูรณ์เต็มที่พร้อมจะออกมาดู
โลก
	 เมื่อลูกคลอดออกมาแล้ว แม่ก็มีหน้าที่ที่ต้องทำ�เพื่อลูกมากมาย ที่
สำ�คัญที่สุด คือ เลี้ยงดูและอบรมสั่งสอนด้วยความรักอย่างเต็มที่ เต็มกำ�ลัง
ของท่าน จนลูกเติบใหญ่โดยไม่มีค่าจ้างหรือสัญญาตอบแทนใดๆ เรียกได้
ว่า ในฐานะที่เป็นลูก เราได้รับสิทธิมากมายมหาศาลจากแม่
	 แต่มนุษย์เราเกิดมาไม่ได้มี"สิทธิ"เพียงอย่างเดียวแต่ยังมี"หน้าที่"
ตามมาด้วยเป็นของคู่กัน และหน้าที่ระหว่างแม่ลูกนั้น ไม่ใช่ว่าทุกคนจะ
ทำ�ได้ดีเสมอไป บางคนเมื่อเป็นลูกอาจจะเป็นลูกที่ดี แต่เมื่อมาเป็นแม่
อาจจะไม่ใช่แม่ที่ดีก็ได้ เพราะการเลี้ยงลูกให้ดีไม่ใช่เรื่องง่าย ถึงแม้ว่าโดย
ปกติแล้วแม่ทั่วโลกต่างก็รักลูกและอยากเลี้ยงลูกให้ดีก็ตาม
	 แต่..ความรักอย่างเดียวคงยังไม่พอ ความพร้อมในด้านต่างๆ ของ
แม่ก็เป็นเรื่องสำ�คัญเช่นกัน นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกมากมาย ที่แตก
ต่างกันไปตามสภาพสังคม ประเพณี วัฒนธรรม ฯลฯ สิ่งเหล่านี้มีส่วน
กำ�หนดให้แม่แต่ละคนทำ�หน้าที่ได้แตกต่างกันดังตัวอย่างของแม่ชาวจีน
ใน ๒ ยุค ที่ต่างก็มีความรักลูกเช่นกัน แต่การเลี้ยงลูกกลับต่างกันราวดิน
กับฟ้า
	 ในอดีตประชากรจีนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คุณภาพชีวิตของ
ประชาชนทั่วไปต่ำ�กว่ามาตรฐานมาก ปัญหาต่างๆ รุมเร้า ทำ�ให้แม่ไม่มี
ความพร้อมที่จะดูแลลูกๆ ได้อย่างทั่วถึง ลูกจึงขาดแคลนทั้งเรื่องอาหาร
การกิน การศึกษา การอบรมสั่งสอน การดูแลด้านสุขอนามัย ฯลฯ ต่อมา
ในค.ศ.๑๙๗๙ รัฐบาลจีนมีนโยบายให้แต่ละครอบครัวมีลูกคนเดียว เพื่อ
ควบคุมจำ�นวนประชากร ภาพเด็กจีนผู้หิวโหยเข้าแถวรอการปันส่วน
อาหารจึงหมดไป
	 ปัจจุบันพ่อแม่ชาวจีนจำ�นวนมหาศาลต่างก็มีลูกกันเพียงคนเดียว
เป็นครอบครัวแบบ๔-๒-๑(ปู่ย่าตายาย๔คนพ่อแม่๒คนลูก๑คน)ทุก
คนในบ้านต่างทุ่มเททุกอย่างเพื่อปรนเปรอ "หนึ่งเดียวคนนี้" โดยปู่ย่า ตา
ยาย และพ่อแม่ ต่างทำ� "หน้าที่" ของตนอย่างเต็มกำ�ลัง จนกระทั่งเด็กเหล่า
"วันแม่ วันลูก"
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana14 15
นี้ ได้ชื่อว่า จักรพรรดิน้อย (The Little Emperors) แต่..ในยุคที่จักรพรรดิ
น้อยกำ�ลังรุ่งเรืองนี้ ตำ�นานลูกกตัญญูก็ถึงกาลอวสานลงไปพร้อมๆ กัน	
	 แล้วอะไรคือแนวทางในการทำ�หน้าที่ของแม่อย่างเหมาะสม?
เรื่องนี้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึงหน้าที่ของแม่รวมทั้งหน้าที่ของ
ลูกไว้ในสิงคาลกสูตร เรื่องทิศ ๖ ซึ่งหลักการนี้สามารถนำ�ไปใช้ได้กับ
คนในทุกสังคม
	 พระองค์ตรัสไว้ว่า แม่มีหน้าที่อนุเคราะห์ลูก ๕ ประการ คือ
	 	 - ห้ามลูกไม่ให้ทำ�ชั่ว
	 	 - ให้ทำ�ความดี
	 	 - ให้การศึกษาแก่ลูก
	 	 - หาสามี-ภรรยาที่สมควรให้
	 	 - และมอบทรัพย์สินให้ลูกในเวลาอันควร
        ส่วนลูกก็มีหน้าที่ ๕ ประการเช่นกัน คือ
	 	 - เลี้ยงดูแม่เป็นการตอบแทน
	 	 - ช่วยทำ�การงานของท่าน
	 	 - ดำ�รงวงศ์ตระกูล
	 	 - ประพฤติตนให้สมควรที่จะได้รับมรดก
	 	 - ทำ�บุญอุทิศให้ท่านเมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว
	 ถ้าทั้งแม่และลูกต่างก็มีความชัดเจนว่าตนเองมีหน้าที่อะไร และ
ทำ�หน้าที่ของตนให้ดีที่สุดโดยอาศัยทุนเดิม คือ ความรัก ความเมตตาที่มี
ต่อกันเป็นพื้นฐาน บวกกับความเข้าใจว่า แม่ หรือลูกของเรา ก็คือ มนุษย์
ธรรมดาที่ยังมีกิเลส และยังมีปัญหาต่างๆในชีวิตอีกมากมาย อาจจะทำ�สิ่ง
ที่ผิดพลาด หรือสิ่งที่ไม่ถูกใจเราบ้างในบางครั้ง แต่ถ้าเรามองอีกฝ่ายหนึ่ง
ด้วยความเมตตาและเข้าใจ เราก็จะสามารถรักษาความสัมพันธ์อันงดงาม
ที่มีต่อกันไว้ได้ตลอดไป
	 ไม่น่าเชื่อว่า วันเวลาที่ได้มาเป็นแม่ลูกกัน ช่างผ่านไปรวดเร็วนัก
ดวงตะวันสาดแสงสดใสได้ไม่นานก็ต้องลับขอบฟ้าเสมือนชีวิตของแม่
ที่กำ�ลังนับถอยหลังลงทุกวัน.. ใช้เวลาด้วยกันบ้าง.. ให้หลายๆ วันเป็นวัน
ของแม่และลูก เพราะวันแม่ครั้งต่อไป มาลัยดอกมะลิพวงงามของลูกอาจ
ไม่ถึงมือแม่ก็ได้ !!
	 พระอาจารย์มหาอุดม
ปภงฺกโร เมตตามาเยี่ยมวัด ญาติ
โยมชาวพิทส์เบิร์กร่วมกันถวาย
เพลที่ร้านอาหารใกล้วัด
	 คุณโยมหน่อยทำ�บุญ
เปิดร้านไทยมีอัพ นิมนต์พระ
สงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ และฉัน
ภัตตาหารเพล
	 ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์
มีคุณโยมจันทิมา เจ้าของบ้าน
และครอบครัวนิมนต์พระสงฆ์
เจริญพระพุทธมนต์ สาธุ
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana16 17
	 เรารู้กันดีว่าการนอนหลับคือการพักผ่อนที่ดีที่สุดแต่ที่ยากกว่านั้น
ก็คือ หลายคนนอนยังไงก็นอนไม่หลับ ถ้าใครไม่เคยเป็นก็คงไม่รู้รสชาติ
ของความทรมาน หากเทคนิคมากมายที่เคยใช้ไม่สามารถทำ�ให้คุณนอน
หลับได้ ลองนำ�เทคนิคเหล่านี้ไปใช้ดู รับรองว่าจะทำ�ให้หลับสนิทได้ง่าย
ขึ้น
	 1. ฝึกเข้านอนให้ตรงเวลา ร่างกายของเราถูกสร้างมาให้ทำ�งาน
สอดคล้องกับความเป็นไปในธรรมชาติ นั่นแหมายความว่า เราควร
พยายามนอนและตื่นเป็นเวลาเดิมทุกวันทุกเช้า ไม่ว่าเมื่อคืนจะนอนกี่ทุ่ม
การชดเชยเวลานอนที่เสียไปด้วยการนอนตื่นสายในวันสุดสัปดาห์จะ
ทำ�ให้ตื่นยาก เมื่อถึงเช้าวันที่ต้องไปทำ�งาน
	 2. อาบน้ำ�อุ่นก่อนนอน เป็นการช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของ
กล้ามเนื้อ ช่วยให้เลือดในร่างกายหมุนเวียนได้ดี และช่วยให้เรานอนหลับ
สบายขึ้น
	 3. ผ่อนลมหายใจ โดยเริ่มจากหายใจเข้าทางจมูก นับ 1-5 ในใจ
จากนั้นปล่อยลมหายใจออกทางปากช้า ๆ ในระหว่างนั้น นับ 1-10 ใน
ใจจะรู้สึกว่าร่างกายผ่อนคลายลงทันที ขณะเดียวกันควรปล่อยวางเรื่อง
เครียดไปพร้อม ๆ กันด้วย
	 4. ดื่มนมอุ่น ๆ สัก 1 แก้ว กรดอะมิโนในนมมีส่วนช่วยในการ
ทำ�ให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลายและนอนหลับได้สบายขึ้น
	 5. จิบน้ำ�ผึ้งสักครึ่งช้อนชา เพียง 5 นาทีหลังจากที่ดื่มน้ำ�ผึ้งจะ
เข้าไปมีส่วนกระตุ้นให้สมองหลั่งสารซีโรโทนิน ซึ่งส่งผลให้เรารู้สึก
ผ่อนคลาย และช่วยทำ�ให้คุณง่วงได้
	 6.ทำ�มือให้อุ่นการทำ�มือให้อุ่นจะสามารถลดความตึงเครียดลงได้
ก่อนนอนอาจจะแช่มือในน้ำ�อุ่นสักครู่ ก็มีส่วนช่วยทำ�ให้คุณนอนหลับได้
ง่าย และสบายขึ้น
	 7. ออกกำ�ลังกาย การออกกำ�ลังกายอย่างหนัก 4 ชั่วโมงก่อนนอน
อาจทำ�ให้นอนยากขึ้น แต่หากทำ�ก่อนหน้านั้นสัก 6 ชั่วโมง จะช่วยให้
นอนหลับสบายขึ้นเมื่อถึงเวลานอน และหลับได้ลึกอีกด้วย
	 8. เลือกเสียงเพลงขับกล่อม บรรยากาศที่ดีช่วยให้เราเคลิบเคลิ้มได้
ไม่ยาก ลองเลือกเพลงบรรเลงเบา ๆ ที่ช่วยผ่อนคลายจิตใจให้ดูสงบมาฟัง
อาจจะช่วยเร่งให้การนอนได้เร็วและลึกขึ้น ควรตั้งเวลาปิดเพลงด้วยก็ดี
เพราะขณะนอนหลับควรเป็นเวลาที่เงียบจะดีที่สุด
	 9. สร้างบรรยากาศในการนอน อุณหภูมิภายในห้องควรอยู่ที่
ระดับเย็นสบาย ห้องนอนควรมืดสนิท โดยใช้ผ้าม่านเนื้อหนา เพื่อสร้าง
บรรยากาศในการนอน ความมืดสนิทจะช่วยให้หลับง่ายและเร็วขึ้น
9 วิธีหลับง่ายนอนสบาย
http://health.kapook.com/view26232.html
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana18 19
ทำ�บุญประเพณีสงกรานต์
	 7 เม.ย.2556 วัดป่าธรรมรัตน์จัดทำ�บุญประเพณีสงกรานต์ ปีใหม่ไทย มีครูบา
อาจารย์จากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.นำ�โดยพระครูสิริอรรถวิเทศ, พระมหาสุรตาล
สิทฺธิผโล, พระอาจารย์สุริยา เตชวโร และญาติธรรมจากกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. เมตตาเดิน
ทางมาร่วมทำ�บุญปีใหม่กับชาวเมืองพิทส์เบิร์กและใกล้เคียง เป็นการฉลองปีใหม่แบบ
ชาวพุทธ เริ่มต้นดี ชีวิตดี สาธุ
ร่วมทำ�บุญประเพณีสงกรานต์
	 11-15 เม.ย.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และญาติโยมเมืองพิทส์เบิร์กเดิน
ทางไปช่วยงานตั้งแต่ต้นและร่วมงานทำ�บุญประเพณีสงกรานต์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.
ซี. เพื่อกราบขอพรปีใหม่กับพระเดชพระคุณหลวงตาชี และครูบาอาจารย์
ทำ�บุญลาบวชชี
	 23 เม.ย.2556 คุณโยมบุญมณี(น้อย) แม็คคาชี่ พร้อมเพื่อนๆ ทำ�บุญถวาย
ภัตตาหารเพลที่ร้านอาหารจีน พร้อมกราบลาไปบวชชีที่วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. เพื่อ
เป็นอาจริยบูชา บวชชีถวายเป็นบุญกุศลแด่หลวงตาชีและพระครูสิริอรรถวิเทศในคราว
ที่หลวงตาอายุครบ 88 ปี และในคราวที่พระครูสิริอรรถวิเทศได้รับแต่งตั้งสมณศักดิ์
พระอาจารย์มหาอุดมเมตตาแวะมาเยี่ยมเยือนให้กำ�ลังใจ
	 27 เม.ย.2556 พระมหาอุดม ปภงฺกโร เจ้าอาวาสวัดป่าสันติธรรม เวอร์จีเนีย
พร้อมญาติโยมติดตามคือคุณโยมแมวและตุ๊กตา เดินทางไปทำ�ธุระต่างรัฐ ระหว่างทาง
กลับเวอร์จีเนียได้เมตตาแวะมาเยี่ยมคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ในฐานะลูกศิษย์ลูกหาเคย
อาศัยพึ่งพาบารมีของท่าน ทางวัดขอกราบขอบพระคุณพระอาจารย์
สรุปข่าว
เดือนเมษายน-
พฤษภาคม-
มิถุนายน
4 เรื่องต้องห้ามยามเข้านอน
	 - ไม่เปิดวิทยุหรือโทรทัศน์ทิ้งไว้ เพราะแทนที่คุณจะได้นอนหลับ
อย่างเป็นสุข ก็อาจจะฟังวิทยุหรือดูโทรทัศน์เพลินจนลืมความง่วง และ
นอนหลับได้ยากขึ้น
	 - ควรหลีกเลี่ยงชากาแฟ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่
ก่อนนอนอย่างเด็ดขาด เพราะจะทำ�ให้ประสาทแข็งและนอนหลับได้ยาก
ขึ้น
	 - อย่าแบกงานขึ้นไปบนเตียง เพราะมันจะคอยหลอกคุณให้คิดวน
เวียนอยู่กับเรื่องงานและตาสว่างจนเลยเวลานอน
	 -อย่าจับจ้องกับเวลาว่าตอนนี้เวลาล่วงเลยไปดึกแค่ไหนการจดจ่อ
กับนาฬิกายิ่งทำ�ให้คุณกระวนกระวายนอนหลับได้ยากขึ้น
	 อนุโมทนาบุญกับ
คุณโยมวรรณและปอในการ
จัดดอกไม้งานวิสาขบูชา
นานาชาติ
	 คุณโยมคิมทำ�บุญเปิด
ร้านอัปสร นิมนต์พระสงฆ์
เจริญพระพุทธมนต์
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana20 21
กลุ่ม PST การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทำ�บุญ
	 27 เม.ย.2556 คณะญาติโยมจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคที่มาอบรมเสริมความรู้
พัฒนาทักษะในการทำ�งาน เพื่อนำ�ความรู้กลับไปพัฒนาประเทศชาติต่อไป เมื่อมีโอกาส
ก็ไม่ลืมที่จะมาทำ�บุญด้วยการนั่งสมาธิ สวดมนต์ พร้อมสมทบทุนซื้อที่ดินถวายวัด
อนุโมทนา สาธุ
เจริญพระพุทธมนต์เปิดร้านศิลปะ
	 29 เม.ย.2556 ชาวอเมริกันนิมนต์คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ เจริญพระพุทธมนต์
นั่งสมาธิ แสดงธรรม เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ร้านศิลปะที่เพิ่งเปิดใหม่ ขอให้ เจริญรุ่งเรือง
เยี่ยมบ้านสมาชิกวัด
	 6 พ.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ได้รับนิมนต์ให้ไปเยี่ยมบ้านสมาชิกวัด
คือ คุณเมย์ เบอมิ่งแฮม โดยมีคุณแหม่ม-จิม-ดิเรก ช่วยอำ�นวยความสะดวกและต้อนรับ
เป็นอย่างดี สาธุ
ประชุมเตรียมงานวิสาขนานาชาติ
	 6 พ.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ร่วมประชุมกับคณะกรรมการจัดงาน
วิสาขนานาชาติ เพื่อเตรียมจัดงานวิสาขะร่วมกันเป็นปีที่ 5
ทำ�บุญบ้าน
	 13 พ.ค.2556 ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์นิมนต์คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์เจริญ
พระพุทธมนต์ที่บ้าน เพื่อเป็นการทำ�บุญขึ้นใหม่หลังจากที่ซื้อมาหลายปีแต่ไม่มีโอกาส
ได้ทำ�บุญขึ้นบ้านใหม่ ขอให้มีความสุขความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป
ทำ�บุญวิสาขบูชาและวิสาขนานาชาติ
	 19 พ.ค.2556 วัดป่าธรรมรัตน์จัดงานทำ�บุญวิสาขบูชา รำ�ลึกวันประสูติ-ตรัสรู้-
ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า และตอนบ่ายร่วมงานวิสาขนานาชาติที่ตัวเมืองพิทส์เบิร์ก
มีพุทธศาสนิกชนเข้าร่วมเป็นจำ�นวนมาก เห็นความร่วมมือกันระหว่างชาวพุทธแล้วเกิด
ความปีติว่าพระพุทธศาสนาในประเทศแห่งนี้คงจะลงรากฝังลึกแน่นอน
ร่วมทำ�บุญวิสาขบูชาวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.
	 26 พ.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์เดินทางไปร่วมงานวิสาขบูชาที่วัดไทย
กรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. มีชาวพุทธเดินทางมาร่วมงานบุญจำ�นวนมาก
ร่วมงานประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในอเมริกาและงานอายุวัฒนมงคลหลวงตาชี
	 6-9 มิ.ย.2556 คณะสงฆ์พร้อมญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์เดินทางไปช่วยเตรียม
งานประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาและทำ�บุญอายุวัฒนมงคลพระเดชพระคุณ
พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี)ครบ 88 ปี มีพระธรรมทูตเดินทางมาร่วมงานกว่า 300 รูป
การจัดงานครั้งนี้เป็นที่ประทับใจของทุกฝ่าย อนุโมทนา สาธุ
ทำ�บุญสมทบทุนซื้อที่ดินถวายวัด
	 12 มิ.ย.2556   คุณต้องพงศ์ ศรีบุญ และสหายธรรม ชักชวนเพื่อนๆ ทั้ง
ที่ประเทศไทยและสหรัฐอเมริการ่วมกันทำ�บุญถวายปัจจัยสมทบทุนสร้างวัด ขอ
อนุโมทนา สาธุ
พระเดชพระคุณพระธรรมโมลีและพระมหาเถระเยี่ยมวัด
	 10-12 มิ.ย.2556 พระเดชพระคุณพระธรรมโมลี จจ.สุรินทร์, พระครูสิริอรรถ
วิเทศ เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยฯ, พระครูสุตพุทธิธัช เลขานุการสหภาพพระธรรมทูต
ยุโรป และดร.เสาวคนธ์ จันทร์ผ่องศรี เดินทางมาเยี่ยมพระธรรมทูตและญาติธรรมชาว
วัดป่าธรรมรัตน์ ยังความปลาบปลื้มยินดีมายังชาวพิทส์เบิร์กอย่างยิ่ง
พระธรรมทูตและญาติโยมเยี่ยมวัด
	 12-14 มิ.ย.2556 พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร วัดพุทธนานาชาติ เท็กซัส, พระ
มหาสุริยา อาภสฺสโร วัดสุทัศน์ฯ กรุงเทพฯ และญาติโยมศิษย์วัดไทยดีซี เดินทางมาเยี่ยม
วัดป่าธรรมรัตน์ และเมืองพิทส์เบิร์ก พร้อมทั้งร่วมทำ�บุญกับทางวัด ขออนุโมทนา สาธุ
กับทุกท่าน
ร้านสยามไทยทำ�บุญเปิดร้าน
	 16 มิ.ย.2556 ร้านอาหารสยามไทยโดยเจ้าของร้าน คือ คุณจำ�เนียร(แต๋ว),คุณ
สมศักดิ์ น้ำ�ใส และครอบครัวนิมนต์พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร และคณะสงฆ์วัดป่า
ธรรมรรัตน์ เจริญพระพุทธมนต์เปิดร้าน เพื่อเป็นสิริมงคลในการทำ�ธุรกิจ ขอให้เจริญ
รุ่งเรืองขายดี
ร้านอัปสรทำ�บุญเปิดร้าน
	 23 มิ.ย.2556 คุณโยมคิมสมาชิกชาวกัมพูชาทำ�บุญเปิดร้านอัปสร โดยนิมนต์
คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์เจริญพุทธมนต์ แสดงธรรม ฉันภัตตาหารเพล เป็นกำ�ลังใจใน
การทำ�ธุรกิจตามแบบชาวพุทธ
พระครูสังฆรักษ์ดร.อำ�พล เยี่ยมวัดพร้อมดูสถานที่สร้างวัด
	 24-28 มิ.ย.2556 พระครูสังฆรักษ์ดร.อำ�พล สุธีโร รองเจ้าคณะอ.หนองหาน
จ.อุดรธานี และรองประธานฯ วัดป่าธรรมรัตน์ เมตตาเดินทางมาเยี่ยมวัด พร้อมดูสถาน
ที่สำ�หรับสร้างศูนย์ศึกษาปฏิบัติธรรมในเมืองพิทส์เบิร์ก ทั้งนี้พระอาจารย์ยังได้ทำ�บุญ
สมทบทุนซื้อที่ดินวัดด้วย กราบขอบพระคุณพระอาจารย์ที่เมตตา
ชาวเวอร์จีเนียเยี่ยมชาวพิทส์เบิร์ก
	 29-30 มิ.ย.2556 พระอาจารย์วิญญู สิรญาโณ พร้อมญาติโยมวัดป่าสันติธรรม
เวอร์จีเนีย อันประกอบด้วยคุณโยมบี,บุญช่วย,มะลิ,แอ๋ว,ทองม้วน,จอร์น ได้เดินทางมา
เยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์และร่วมทำ�บุญสร้างวัด ขอขอบคุณญาติโยมทุกท่าน
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana22 23
รายรับ-รายจ่าย
ประจำ�เดือนเมษายน - มิถุนายน
ปี 2556/2013
รายรับเดือนเมษายน 2556
มนัส แซนส์(ประกันสุขภาพพระ)		 	 	 $ 100.00
มนัส แซนส์(ค่าน้ำ�ไฟ)	 	 	 	 	 $ 30.00
วาสนา ชื่นนิรันดร์ และเพื่อนเมืองไทย	 	 	 $ 100.00
พระมหาสายันต์ ลาสนาม		 	 	 	 $ 20.00
Patrick Altman	 	 	 	 	 	 $ 20.00
Pranom Jabkul	 	 	 	 	 	 $ 100.00
วสันชัย จาบกุล	 	 	 	 	 	 $ 40.00
เฉลิมพันธุ์ จาบกุล	 	 	 	 	 $ 40.00
ธันญนันท์ โพธิทอง	 	 	 	 	 $ 20.00
Sukanda Boophanon	 	 	 	 	 $ 100.00
Malinee Vangsameteekul		 	 	 	 $ 119.00
Prabhassara Ruamsiri Agkrasa	 	 	 	 $ 20.00
บุญเสริม งามสะอาด	 	 	 	 	 $ 100.00
จิรภา ญมภัย	 	 	 	 	 	 $ 50.00
วาสนา น้อยวัน	 	 	 	 	 	 $ 20.00
น้องกีต้าร์-น้องแอนนา	 	 	 	 	 $ 20.00
พยุง-จินตนา งามสะอาด	 	 	 	 	 $ 100.00
วราภรณ์ สุวัตถี	 	 	 	 	 	 $ 20.00
Somsong Fox	 	 	 	 	 	 $ 50.00
Inned Boakam Sintuya	 	 	 	 	 $ 50.00
Urai Tasid	 	 	 	 	 	 $ 10.00
Kasam Wongsa	 	 	 	 	 	 $ 20.00
Apinya Kunjara Ayudhya	 	 	 	 $ 500.00
Cathy Gisebach		 	 	 	 	 $ 10.00
Wisain Gould	 	 	 	 	 	 $ 75.00
Boonsom-Donald E. Glass	 	 	 	 $ 20.00
Jame P. Birmingham	 	 	 	 	 $ 50.00
วรฉัตร นิศา ธรรมอารีย์	 	 	 	 	 $ 100.00
อริส โออนุรักษ์	 	 	 	 	 	 $ 20.00
Chatree Sangprachakanarak	 	 	 	 $ 50.00
Ratanapinta Family	 	 	 	 	 $ 20.00
Kim Van Ram	 	 	 	 	 	 $ 10.00
Daravoth Channa Kimly 		 	 	 	 $ 20.00
ต้นผ้าป่าวันสงกรานต์	 	 	 	 	 $ 240.00
กนกนุช อมรวงค์	 	 	 	 	 $ 30.00
ต้นผ้าป่าจากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.	 	 	 $ 430.00
Frank Family, Kittima Fred Frank, Susima Mungdee, Karla Frank, Jira Pach
Moongdee	 	 	 	 	 	 $ 200.00
บุษดี ทองดี	 	 	 	 	 	 $ 80.00
Preet Singh	 	 	 	 	 	 $ 25.00
จีราภรณ์ ชัยศรี, Thai Me Up	 	 	 	 $ 100.00
Soraya Sar	 	 	 	 	 	 $ 5,520.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana24 25
Pittsburgh Thai Food	 	 	 	 	 	 $ 100.00
เฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ	 	 	 	 	 	 $ 59.00
Kim Vann Ram	 	 	 	 	 	 	 $ 15.00
Frank-Prapai	 	 	 	 	 	 	 $ 70.00
วระญา แซ่เตียว แมชเวร	 	 	 	 	 	 $ 40.00
Parnida Leondard	 	 	 	 	 	 $ 50.00
Gon E.Maxwell, วระญา แซ่เตียว แมชเวล		 	 	 $ 100.00
Vanida Soontornpitugs	 	 	 	 	 	 $ 100.00
Randall S.Musick, Vipada S. Musick	 	 	 	 $ 30.00
Arsa Sangsri	 	 	 	 	 	 	 $ 50.00
ณรงค์ ใจดี	 	 	 	 	 	 	 $ 20.00
อุษา จิรเชิดชูวงศ์		 	 	 	 	 	 $ 40.00
Tasis,Warangpoorn,Hurg I, Lin Yu, Chous	 	 	 $ 25.00
Robert – Wipa Davis	 	 	 	 	 	 $ 20.00
ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม(ชายน่ารัก) Thai Me Up	 	 	 $ 10.00
Thai Me Up	 	 	 	 	 	 	 $ 100.00
Andi & Steven Irwin	 	 	 	 	 	 $ 100.00
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(PST)	 	 	 	 	 $ 100.00
น.ส.สุภาวดี สุขเจริญ พร้อมครอบครัว	 	 	 	 $ 5.00
น.ส.สุจิตรา เทียมเมืองแพน	 และครอบครัว	 	 	 $ 5.00
รุจิรา ขันธรูจี	 	 	 	 	 	 	 $ 100.00
ทำ�บุญอุทิศให้ปู่ครื้น, น้าจำ�นง, ลูกเจสัน กินรี เจ้ากรรมนายเวร	 $ 40.00
Boonrak-Ratana Tantisira	 	 	 	 	 $ 200.00
Thai Spoon, LLC	 	 	 	 	 	 $ 100.00
รายรับเดือนพฤษภาคม 2556
มนัส(ดี) แซนร์(ประกันสุขภาพพระสงฆ์)	 	 	 	 $ 100.00
มนัส(ดี) แซนร์(บำ�รุงค่าน้ำ�ไฟ)	 	 	 	 	 $ 30.00
Chaikham & Damdee Kingsidaphone	 	 	 	 $ 50.00
Natthapong Chanyoo(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 99.00
Natthapong Chanyoo(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 50.00
Pittsburgh Thai Food, Inc.(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)		 	 $ 109.00
คุณเฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 50.00
พระมหาคำ�ตัล พุทฺธงฺกุโร(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 100.00
พระมหาศรีสุภรณ์ อตฺตทีโป(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 $ 100.00
พระมหาพิรุฬห์ พทฺธสีโล(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 200.00
พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)		 	 $ 100.00
พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 $ 100.00
คุณประนอม จาบกุล(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 100.00
คุณอภิญญา กุญชร ณ อยุธยา พร้อมครอบครัว(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)$ 40.00
คุณสุวรีย์ น้ำ�ใส(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 	 $ 20.00
คุณจิตรลดา รามางกุล(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณสมทรง Fox(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 	 $ 20.00
คุณมาลินี วังศเมธีกุล(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณบุญเสริม งามสอาด(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณผ่อง งามสอาด(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)		 	 	 $ 20.00
คุณสุกานดา บุพพานนท์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณประยูรศรี  วรเลิศ(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณสมศักดิ์ น้ำ�ใส(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)		 	 	 $ 20.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana26 27
คุณวิเชียร น้ำ�ใส(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 	 $ 20.00
คุณอุไร ตะสิทธิ์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 	 $ 20.00
คุณดารินี Michael(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)		 	 	 $ 20.00
ครอบครัวธรรมอารี(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณจำ�ลอง Megyesy(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณมนัส แซนร์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 	 $ 20.00
คุณเกษม วงศา(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 	 $ 20.00
คุณสม Glass(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 	 $ 20.00
คุณกนกนุช อมรวงค์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณกิ่งกาญจน์ ซื่อสัตย์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณสุจิตรา เทียมเมืองแผน(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณเอกอนงค์ ศิทธิขำ�(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
Cathy Giselbach(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 	 $ 20.00
Rungnapa Khanchalee(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
Phoc & Vilavan Vong and family(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 $ 200.00
อ.จักรี-อ.จิตรลดา เชิงหอม และครอบครัว(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 $ 350.00
คุณรัตนาภรณ์ น้ำ�ใส(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณอรพรรณ วิทยปรีชาอนันต์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 $ 20.00
คุณนิภาภัทร์ วัฒนสินธุ์ และครอบครัว(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 $ 25.00
คุณแม่ยูร วัฒนสินธุ์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)	 	 	 $ 20.00
คุณนิภาภัทร์ วัฒนสินธุ์ และครอบครัว(ทำ�บุญซื้อที่ดินสร้างวัด)	 $ 50.00
Apinya Kunjara-Na-Ayudhya(ทำ�บุญซื้อที่ดินสร้างวัด)	 	 $ 300.00
Apinya Kunjara-Na-Ayudhya(ทำ�บุญอาหารพระสงฆ์)	 	 $ 100.00
Apinya Kunjara-Na-Ayudhya(ทำ�บุญถวายพระสงฆ์)	 	 $ 100.00
Avery and Aiysa Kunjara	 	 	 	 	 $ 35.87
Pusadee’s Garden(ทำ�บุญค่าน้ำ�ไฟ)	 	 	 	 $ 200.00
Bruce & Tasanee Kidd(ทำ�บุญวันวิสาขบูชา)	 	 	 $ 50.00
Gilbert P. Trujillo(ทำ�บุญวันวิสาขบูชา)	 	 	 	 $ 50.00
Jonh & Kasem Conroy, Jeannie Wongsa	 	 	 	 $ 30.00
Nakorn & Mayuree Apakupakul	 	 	 	 	 $ 100.00
PST 2013 Group C การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค		 	 	 $ 40.00
นายต้องพงศ์ ศรีบุญ และครอบครัว	 	 	 	 $ 20.00
นก-MJ Greg	 	 	 	 	 	 	 $ 20.00
ปิยาภรณ์-ริชาร์ด เป๊ปเปอร์	 	 	 	 	 $ 10.00
คุณกิตติศักดิ์-สุนันทา หาญมงคลเลิศ(ทำ�บุญซื้อที่ดินวัด)	 	 $ 100.00
Kim Eng Hong	 	 	 	 	 	 	 $ 20.00
รายรับเดือนมิถุนายน 2556
Juntima Jirachertchoowong	 	 	 	 	 $ 100.00
พระธรรมโมลี เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์	 	 	 	 $ 100.00
นายต้องพงศ์ ศรีบุญ และสหายธรรม(สมทุบทุนซื้อที่ดินสร้างวัด)	 $ 1,155.04
พระมหาสุริยา อาภสฺสโร(แจ่มใส)		 	 	 	 $ 100.00
David & Wisitsee Monahan	 	 	 	 	 $ 100.00
ดร.เสาวคนธ์ จันทร์ผ่องศรี	 	 	 	 	 $ 100.00
คุณต้องพงศ์ ศรีบุญ และสหายธรรม	 	 	 	 $ 20.00
พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร	 	 	 	 	 $ 113.00
คณะศิษย์วัดไทย ดี.ซี.	 	 	 	 	 	 $ 170.00
มนัส(ดี) แซนร์(ทำ�บุญประกันสุขภาพพระ)	 	 	 $ 100.00
มนัส(ดี) แซนร์(ทำ�บุญคำ�น้ำ�ไฟ)	 	 	 	 	 $ 50.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana28 29
Jim & Mam & Mae	 	 	 	 	 	 $ 50.00
Randall S.Musick & Vipada S. Musick	 	 	 	 $ 100.00
Somsong Fox	 	 	 	 	 	 	 $ 05.00
Jim & Mam Birmingham		 	 	 	 	 $ 50.00
พระครูสังฆรักษ์ดร.อำ�พล สุธีโร	 	 	 	 	 $ 100.00
โยมสาย แกศคิล		 	 	 	 	 	 $ 80.00
โยมน้อย ปราณี	 	 	 	 	 	 	 $ 50.00
Richard L. & Bualee Grasse	 	 	 	 	 $ 30.00
Bruce & Tasanee Kidd	 	 	 	 	 	 $ 50.00
ญาติธรรมวัดป่าสันติธรรม เวอร์จีเนีย(บำ�รุงค่าน้ำ�ไฟ)	 	 $ 80.00
แอ๋น สุพัต(ทำ�บุญค่าน้ำ�ไฟ)	 	 	 	 	 $ 20.00
พระอาจารย์วิญญู สิรญาโณ	 	 	 	 	 $ 100.00
John Wane	 	 	 	 	 	 	 $ 10.00
รายจ่ายเดือนเมษายน 2556
04/04/2013	 Guardian Protection Services	 	 	 $ 31.95
04/04/2013	 Aetna Insurance		 	 	 	 $ 257.00
04/17/2013	 โปรแกรมคอมพิวเตอร์	 	 	 	 $ 641.99
04/18/2013	 South Hills Ent Association	 	 	 $ 129.00
04/18/2013	 Nationwide Insurance(Temple car)	 	 $ 90.00
04/18/2013	 Verizon		 	 	 	 	 $ 54.54
04/18/2013	 PWSA	 	 	 	 	 	 $ 40.00
04/18/2013	 Peoples Natural Gas	 	 	 	 $ 320.00
04/01/2013	 Property Tax	 	 	 	 	 $ 85.00
04/09/2013	 ค่าตั๋วเครื่องบินกลับของอาจารย์	 	 	 $ 435.80
04/11/2013	 ค่าตั๋วรถบัสไปร่วมงานสงกรานต์	 	 	 $ 66.00
04/24/2013	 ซื้อแสตมป์ส่งจดหมาย	 	 	 	 $ 92.00
04/25/2013	 ซื้อกล้องวัด	 	 	 	 	 $ 288.88
04/28/2013	 Duquesne Light		 	 	 	 $ 100.00
04/30/2013	 ซื้อถังน้ำ�ดื่ม 2 ถัง		 	 	 	 $ 13.98
รายจ่ายเดือนพฤษภาคม 2556
05/02/2013	 	 ซื้ออาหารผลไม้	 	 	 	 $ 21.44
05/04/2013	 	 Aetna	 	 	 	 	 $ 09.00
05/06/2013	 	 PWSA	 	 	 	 	 $ 63.00
05/06/2013	 	 Nationwide	 	 	 	 $ 89.00
05/07/2013	 	 Peoples Natural Gas	 	 	 $ 200.00
05/13/2015	 	 ซื้ออุปกรณ์สำ�นักงาน	 	 	 $ 75.92
05/13/2013	 	 เติมน้ำ�มันรถ	 	 	 	 $ 34.45
05/14/2013	 	 Erie Insurance Group	 	 	 $ 97.00
05/14/2013	 	 ค่าส่งวารสารวัด		 	 	 $ 168.96
05/15/2013	 	 Verizon 	 	 	 	 $ 54.54
05/16/2013	 	 Guardian	 	 	 	 $ 63.90
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
อนุโมทนาบุญ
ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ
วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
วันจันทร์	 Thai Cuisine, Thai Spoon ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์
วันอังคาร	 คุณคิม,คุณใจ วงศ์คำ�และเพื่อนๆ(อังคารที่ ๑ ของเดือน)
วันพุธ	 	 คุณพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮม,คุณนีน่า โกลด์ และเพื่อน
วันพฤหัสบดี	 คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนด์, คุณเจน ซูนัม,   	                  	
	 	 Thai Me Up Restaurant  
วันศุกร์		 คุณสมทรง ฟ็อก และเพื่อนๆ
วันเสาร์	 คุณวิลาวรรณ วอง และครอบครัว, Thai Gourmet
วันอาทิตย์	 ญาติโยมทั้งหลายร่วมทำ�บุญ ถวายภัตตาหารเพล
*หมายเหตุในแต่ละวันอาจจะมีญาติโยมทั้งหลายมาร่วมตามโอกาสจะ
เอื้ออำ�นวย
	 อันนะโท พะละโท โหติ	 วัตถะโท โหติ วัณณะโท
ยานะโท สุขะโท โหติ			 ทีปะโท โหติ จักขุโท.
	 ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำ�ลัง, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ, ผู้ให้ยาน
พาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ
30
รายจ่ายเดือนมิถุนายน 2556
06/06/2013	 PWSA	 	 	 	 	 	 $ 52.00
06/10/2013	 Aetna	 	 	 	 	 	 $ 106.00
06/14/2013	 Duquesne Light		 	 	 	 $ 72.00
06/16/2013	 City & School district of Pittsburgh	 	 $ 319.53
06/19/2013	 Guardian	 	 	 	 	 $ 31.95
06/22/2013	 South Hills Ent Association	 	 	 $ 150.00
06/26/2013	 Verizon		 	 	 	 	 $ 55.00
06/26/2013	 ค่าน้ำ�มันรถ	 	 	 	 	 $ 29.73
06/30/2013	 ค่าน้ำ�มันรถ	 	 	 	 	 $ 40.00
	 *** คณะสงฆ์ขออนุโมทนาบุญกับญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ เมือง
พิทส์เบิร์กทุกท่านที่ช่วยกันต้อนรับพระเถรานุเถระและญาติโยมที่เดินทาง
มาจากประเทศไทยและรัฐต่างๆ ด้วยความเสียสละเวลา ทรัพย์ และอื่น ขอให้
ทุกท่านเจริญรุ่งเรืองในธรรมของพระพุทธเจ้ายิ่งๆ ขึ้นไปตราบเท่าเข้าสู่พระ
นิพพานคือการพ้นทุกข์ ***
31
	 ร้านอาหารสยามไทยโดยคุณจำ�เนียร,คุณสมศักดิ์นำ�้ใสพร้อมครอบครัว
ทำ�บุญเปิดร้านโดยนิมนต์พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ เพื่อความเป็นสิริมงคล
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
ประเพณีสงกรานต์ 2556 - Songkran Festival at BMCP 2013 ทำ�บุญวันวิสาขบูชา - Vesak Ceremony
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
ประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา 2556 ทำ�บุญอายุวัฒนมงคล 88 ปีหลวงตาชี - Luang Ta Chi Birthday
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana36 37
ขอเชิญร่วมทำ�บุญวันกตัญญูรู้พระคุณแม่
ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
วันเสาร์-อาทิตย์ที่ 10-11 สิงหาคม 2556
	 "พ่อแม่เป็นพระพรหม(ผู้สร้าง)ของบุตรธิดา" แม่เป็นผู้สร้างโลก โลก
คือลูก แม่จึงเป็นบุคคลสำ�คัญที่สร้างสรรค์ให้ลูกที่เกิดมาเป็นคนดีหรือไม่ก็ได้
งานของแม่จึงเป็นภาระที่หนัก ไม่เคยจบจนกระทั่งวันตาย เนื่องในเทศกาลวัน
กตัญญูรู้พระคุณแม่ ทางวัดจึงเปิดโอกาสให้ทุกท่านได้ร่วมทำ�บุญระลึกถึงพระ
คุณแม่ ดังนี้
	
วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม 2556
	 เวลา 17.00 น.	 ร่วมทำ�วัตรเย็น-เจริญจิตภาวนา
	 เวลา 18.30 น.	 พักดื่มน้ำ�ชา-กาแฟ
	 เวลา 19.00 น.	 เจริญพระพุทธมนต์ “ชยมงคลคาถา”
			 (อิติปิ โส 81 จบ)
	 เวลา 20.00 น.	 สนทนาธรรม รับพร เป็นอันเสร็จพิธี
วันอาทิตย์ที่ 11 สิงหาคม 2556
	 เวลา 10.15 น.	 จุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย,
			 ร่วมกันสวดมนต์, สมาทานศีล ๕
			 พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์,
			 ญาติโยมตักบาตรข้าวสุก,
	 เวลา 10.45 น.	 ถวายภัตตาหารเพล, แสดงธรรมเรื่องพระคุณแม่,
			 พิจารณาฉันเพล
	 เวลา 12.00 น.	 ญาติโยมร่วมกันรับประทานอาหาร
	 เวลา 12.30 น.	 เจริญจิตภาวนาบูชาพระคุณแม่
			 ในสากลโลก (5-10 นาที)
			 รับของที่ระลึก เป็นอันเสร็จพิธี
Mother’s Day Celebration
******
	 What :  Mother's Day Celebration, the day which we come to show our
gratitude towardmotherwhoisveryimportant person.In Buddhism the Buddha
called mother and father as the creator or Bhraman, the supreme god in his time.
	 Where : Wat Padhammaratana, 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA
15207
	 When :  August 10-11, 2013.  9.30 am – 12.00 pm., Free to the public
	 Info :  (412)521-5095,  www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts
Schedule
Saturday, August 10, 2013
	 05.00 p.m.	 Meditation-Evening Chanting
	 06.30 p.m.	 Tea Break
	 07.00 p.m.	 Parita Chanting (Itipi So 81 times)
	 08.00 p.m.	 Dhamma Discussion, Blessing, the end
Sunday, August 11, 2013
	 10.15 a.m.	 Light the candle, group-chanting,
	 	 	 request five precepts, the monk chants
	 10.45 a.m.	 Lunch served to the Venerable monk and Dhamma talk
	 12.00 a.m.	 Lunch served to the congregation
	 12.00 a.m.	 Meditation for mothers (5-10 minutes),
	 	 	 receive the gift  by Venerable monk,
	 	 	 Group-Picture, the program closed.
******
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana38 47
	 All are cordially invited to participate
in the meditation programs and Buddhist activities at
Wat Padhammaratana(The Buddhist Meditation Centre of Pittsburgh)
Activity Day Time
1. Chanting Daily Morning and
Evening
05.30 - 6.30 a.m.
5.30 - 6.30 p.m.
2. Dhamma Talk Daily Morning 10.45 - 11.15 a.m.
3.Buddhist Study(Thai) Every Sunday 01.00 - 03.00 p.m.
4. Meditation(English) Every Saturday 03.00 - 05.00 p.m.
All activities will be held at the upper or lower level of the temple. For further  infor-
mation, please contact Wat Padhammaratana, PA. Tel.412-521-5095,
E-mail : bmcpitts@hotmail.com, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts
- To serve as a Buddhism promotion
center in the U.S.
- To serve as a meditation center in
Pittsburgh
- To promote virtues, Buddhist cul-
ture and traditions
- To be a center of all Buddhists,
regardless of nationalities
OBJECTIVES
กิจกรรมในแต่ละเดือน ปี 2556 วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ทำ�บุญวันขึ้นปีใหม่	 	 	 วันอังคารที่ 1 มกราคม  2556
ทำ�บุญวันมาฆบูชา	 	 	 วันอาทิตย์ที่ 24 กุมภาพันธ์  2556
ปฏิบัติธรรมประจำ�เดือน	 	 วันที่ 15-17 เมษายน 2556
ทำ�บุญวันสงกรานต์	 	 	 วันอาทิตย์ที่ 7  เมษายน  2556
ทำ�บุญวันวิสาขบูชา	 	 	 วันอาทิตย์ที่  19  พฤษภาคม  2556
ร่วมทำ�บุญวันเกิด 88 ปี หลวงตาชี	 วันอาทิตย์ที่ 9  มิถุนายน  2556
ทำ�บุญวันเข้าพรรษา	 	 	 วันอาทิตย์ที่ 21  กรกฎาคม  2556
บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน	 	 วันที่ 4-11  สิงหาคม  2556
ปฏิบัติธรรมวันสารท	 	 	 วันที่ 13 - 15  กันยายน  2556
ทำ�บุญวันออกพรรษา	 	 	 วันอาทิตย์ที่ 20  ตุลาคม  2556
ทำ�บุญทอดกฐิน	 	 	 วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน  2556
ทำ�บุญวันพ่อแห่งชาติ	 	 	 วันอาทิตย์ที่ 8  ธันวาคม  2556
ปฏิบัติธรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่  วันอังคารที่ 31  ธันวาคม  2556
RELIGIOUS CEREMONY 2013 WAT PADHAMMARATANA
New Year Celebration		 	 Tuesday, January 1, 2013
Makhapuja Ceremony		 	 Sunday, February 24, 2013
Meditation Retreat	 	 	 March 15-17, 2013
Songkran Festival	 	 	 Sunday, April 7, 2013
Visaka Puja Ceremony	 	 Sunday, May 19, 2013
Luangta Chi's Birthday	 	 Sunday, June 9, 2013
Asalha Puja & Rains-retreat Ceremony Sunday, July 21, 2013
Novice Summer Camp	 	 August 4-11, 2013
Sart Meditation Retreat	 	 September 13-15, 2013
Rains-retreat ending Ceremony	 Sunday, October 20, 2013
Kathina Ceremony	 	 	 Sunday, November 10, 2013
Meditation Retreat	 	 	 Tuesday, December 31, 2013

Contenu connexe

Tendances

Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรกDhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรกWatpadhammaratana Pittsburgh
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10Jurarat Thongma
 
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Watpadhammaratana Pittsburgh
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...ครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 

Tendances (19)

Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรกDhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
2555blessing
2555blessing2555blessing
2555blessing
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 

En vedette

Amg investor presentation march 2014
Amg   investor presentation march 2014 Amg   investor presentation march 2014
Amg investor presentation march 2014 jdiluzio
 
Amg investor presentation aug 2012 2
Amg   investor presentation aug  2012 2Amg   investor presentation aug  2012 2
Amg investor presentation aug 2012 2jdiluzio
 
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กWatpadhammaratana Pittsburgh
 
The infinite possibilities of CRM: save money, save time, and engage
The infinite possibilities of CRM: save money, save time, and engageThe infinite possibilities of CRM: save money, save time, and engage
The infinite possibilities of CRM: save money, save time, and engageRebecca Saar
 

En vedette (6)

ฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญาฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญา
 
Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4
 
Amg investor presentation march 2014
Amg   investor presentation march 2014 Amg   investor presentation march 2014
Amg investor presentation march 2014
 
Amg investor presentation aug 2012 2
Amg   investor presentation aug  2012 2Amg   investor presentation aug  2012 2
Amg investor presentation aug 2012 2
 
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
 
The infinite possibilities of CRM: save money, save time, and engage
The infinite possibilities of CRM: save money, save time, and engageThe infinite possibilities of CRM: save money, save time, and engage
The infinite possibilities of CRM: save money, save time, and engage
 

Similaire à Dhammaratana journal 7

Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Wat Thai Washington, D.C.
 
Seangdhamma Vol 39 No 467 March 2014
Seangdhamma Vol 39 No 467 March 2014Seangdhamma Vol 39 No 467 March 2014
Seangdhamma Vol 39 No 467 March 2014WatThai DC
 
Seangdhamma Vol.39 No.467 March 2014
Seangdhamma Vol.39 No.467 March 2014Seangdhamma Vol.39 No.467 March 2014
Seangdhamma Vol.39 No.467 March 2014WatThai DC
 
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Sarawut Sangnarin
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมkhumtan
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453khumtan
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 

Similaire à Dhammaratana journal 7 (18)

Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
Seangdhamma Vol 39 No 467 March 2014
Seangdhamma Vol 39 No 467 March 2014Seangdhamma Vol 39 No 467 March 2014
Seangdhamma Vol 39 No 467 March 2014
 
Seangdhamma Vol.39 No.467 March 2014
Seangdhamma Vol.39 No.467 March 2014Seangdhamma Vol.39 No.467 March 2014
Seangdhamma Vol.39 No.467 March 2014
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
 
Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 

Plus de Watpadhammaratana Pittsburgh

ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016Watpadhammaratana Pittsburgh
 
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCPWatpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีKathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีWatpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Watpadhammaratana Pittsburgh
 
โบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระโบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระWatpadhammaratana Pittsburgh
 
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธThe ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธWatpadhammaratana Pittsburgh
 
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 

Plus de Watpadhammaratana Pittsburgh (14)

ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
 
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
 
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
 
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีKathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
 
โบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระโบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระ
 
The good buddhist
The good buddhistThe good buddhist
The good buddhist
 
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธThe ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
 
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
 
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
 
Buddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburghBuddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburgh
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
ฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญาฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญา
 
1 years
1 years1 years
1 years
 

Dhammaratana journal 7

  • 1. Dhammaratana Journal Vol.2 No.7 July-Sept. 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๗ เดือนก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ วารสารธรรมรัตน์ 11 ส.ค. ๒๕๕๖ ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำ�บุญ วันกตัญญูรู้พระคุณแม่ ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก - สวดมนต์ ภาวนา - ตักบาตร - ฟังเทศน์ - ระลึกถึงพระคุณแม่ ข อ เ ช ิ ญ ร ่ ว ม . . . Join us to celebrate Mother's Day Sunday, August 11, 2013 All Members are welcome วันกตัญญูรู้พระคุณแม่ Mother's Day
  • 2. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana C O N T E N T S ส า ร บ ั ญ OBJECTIVES - To serve as a Buddhism promotion center in the U.S. - To serve as a meditation center in Pittsburgh - To promote virtues, Bud- dhist culture and traditions - To be a center of all Bud- dhists, regardless of nationalities วัตถุประสงค์ - เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา - เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานประจำ�เมืองพิทส์เบอร์ก - เพื่อศูนย์ส่งเสริม ศีลธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่ดีงามของชาวพุทธ - เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมเสริม ความรู้พระธรรมทูตสายต่างประเทศ - เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาว พุทธโดยไม่จำ�กัดเชื้อชาติ บทบรรณาธิการ พระพุทธพจน์ - The Buddha's Words 1 In search of the truth 2 พุทธประกันภัย 7 เพชรจากพระไตรปิฎก 10 วันแม่ วันลูก 12 9 วิธีหลับง่ายนอนสบาย 16 สรุปข่าวเดือนเมษายน-พฤษภาคม-มิถุนายน 19 รายรับ-รายจ่ายเดือนเมษายน-พฤษภาคม-มิถุนายน 22 ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ 31 ภาพกิจกรรมต่างๆ - Activities 32-35 Mother's Day Celebration 36 กำ�หนดการวันกตัญญูรู้พระคุณแม่ 37 กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี 2555 - Religious Ceremony 2012 38 Activities of BMCP 39 วัดป่าธรรมรัตน์ ก้าวย่างแห่งการฝึกตน คติธรรมประจำ�วัด สติมโต สทา ภทฺทํ คนมีสติ เท่ากับมีสิ่งนำ�โชคตลอดเวลา The mind is very hard to check and swift, it falls on what it wants. The training of the mind is good, a mind so tamed brings happiness. เจ้าของ : วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) พระราชพุทธิวิเทศ พระครูปริยัติธรรมาภิราม พระครูสิริอรรถวิเทศ พระครูสังฆรักษ์อำ�พล สุธีโร คณะสงฆ์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดีซี คณะสงฆ์วัดป่าสันติธรรม กองบรรณาธิการ : พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ และอุบาสก-อุบาสิกา รูปเล่ม/รูปภาพ พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ Dhammaratana Journal is published by Wat Padhammaratana The Buddhist Meditation Center of Pittsburgh 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207 Tel(412)521-5095 E-mail : bmcpitts@hotmail.com bmcpitts@yahoo.com Homepage : www.bmcpitts.org www.facebook.com/bmcpitts www.youtube.com/bmcpitts ธรรมรัตน์-Dhammaratana วารสารธรรมะวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก Vol.2 No.7 July-Sept. 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๗ เดือนก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖
  • 3. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana1 พระพุทธพจน์ The Buddha's Words อหํ นาโคว สงฺคาเม จาปาโต ปติตํ สรํ อติวากฺยํ ติติกฺขิสฺสํ ทุสฺสีโล หิ พหุชฺชโน ฯ๓๒๐ฯ เราจักอดทนต่อคำ�เสียดสีของคนอื่น เหมือนพญาคชสาร ในสนามรบ ทนลูกศรที่ปล่อยออกไปจากคันธนู เพราะว่าคนโดย มาก ทุศีล As an elephant in the battle field withstands the arrows shot from a bow. Even so will I endure abuse, for people's conduct is mostly low. บทบรรณาธิการ "อิมัสมิง อาวาเส อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ ข้าพเจ้าขอเข้าจำ�พรรษ ตลอดไตรมาส(๓เดือน)ในอาวาสนี้ " นี้คือคำ�อธิษฐานจำ�พรรษาของพระภิกษุใน พระพุทธศาสนา เป็นการแสดงเจตจำ�นงค์ความตั้งใจว่าจะอยู่ ณ ที่แห่งใดแห่งหนึ่ง วารสารธรรมรัตน์รายไตรมาสกลางปี 2556 กลับมาพบกับท่านอีกครั้ง หนึ่ง เป็นฉบับที่สองในรอบปี2556 มีสาระธรรมกิจกรรม และเรื่องราวมากมายมา ฝาก เพื่อแจ้งให้สมาชิกได้ทราบว่าภายในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมาทางวัดทำ�อะไรบ้าง และในอีก 3 เดือนข้างหน้าจะมีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้นบ้าง ในเดือนเมษายน,พฤษภาคม และมิถุนายนที่ผ่านมานั้น มีกิจกรรมบำ�เพ็ญ บุญกุศลมากมาย คือ เดือนเมษายนทางวัดจัดทำ�บุญประเพณีสงกรานต์ที่วัด และ ได้เดินทางไปร่วมทำ�บุญประเพณีสงกรานต์ที่วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. เดือน พฤษภาคมนั้นมีกิจกรรมหลักคือการจัดเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชาที่วัด และร่วม จัดงานวิสาขนานาชาติร่วมกับชาวพุทธนานาชาติเมืองพิทส์เบิร์ก, เดือนมิถุนายน นั้นคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ได้เดินทางไปช่วยงานประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยใน สหรัฐอเมริกาและทำ�บุญอายุวัฒนมงคลครบรอบ 88 ปีหลวงตาชี หลังจากนั้นมี พระเถรานุเถระและญาติโยมจากประเทศไทยเดินทางมาเยี่ยมเยือนวัดและเมือง พิทส์เบิร์ก เป็นต้นว่า พระเดชพระคุณพระธรรมโมลี เจ้าคณะจ.สุรินทร์ อีกเรื่อง หนึ่งที่อยากแจ้งให้ทราบคือปีนี้พระภิกษุจำ�พรรษาที่วัดป่าธรรมรัตน์2รูปคือพระ มหาสายันต์ อคฺควณฺโณ และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ กิจกรรมที่จะมีขึ้นในเดือนสิงหาคมและกันยายนนั้น มีกิจกรรมทำ�บุญ วันกตัญญูรู้พระคุณแม่ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 11 สิงหาคมนี้ ขอเชิญชวนทุกท่านร่วม กิจกรรมบูชาพระคุณแม่กับทางวัด ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาปีนี้ ทางวัดมีกิจกรรม นั่งสมาธิ สวดมนต์ สนทนาธรรมเป็นประจำ�ทุกเย็นวันอาทิตย์ตั้งแต่เวลา 17.00 - 19.00 น. ขอเรียนเชิญญาติโยมทุกท่านร่วมบำ�เพ็ญบุญพิเศษ หรือถ้าญาติโยมมี ความสนใจพิเศษที่อยากศึกษาปฏิบัติธรรมเพิ่มเติมสามารถติดต่อสอบถามกับทาง วัดได้ตลอดเวลาเสมือนหนึ่งเป็นวัดของญาติโยมเอง จึงแจ้งมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน และเพื่อไม่เป็นการเสียเวลา ขอเชิญญาติโยมทุกท่านพลิกไปอ่านสาร ธรรม และกิจกรรมต่างๆ ในรอบ ๓ เดือนที่ผ่านมาได้ในวารสารเล่มนี้ ด้วยไมตรีธรรม
  • 4. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana2 3 S ince this article is appearing within the pages of a Buddhist pub- lication, one would correctly assume that the truth search de- scribed in the title refers to the writer’s eventual discovery of the Buddhadhamma and how that discovery changed his life forever. Two thousand six hundred years ago a young prince of northern India left the comforts and pleasures of his father’s palace to embark on an ardu- ous six year journey to find an enduring happiness. He had come to the conclusion that this inner peace could not be found within his role as a future king and so, much to the sadness and consternation of his parents and young wife and infant son, he left the palace discarding his princely robes for rags, beginning a life of homelessness and deprivation in his search for truth. He did this for himself of course, but additionally he did it out of compassion for his loved ones and all living beings who were to come after him. When he found the answer by his own efforts six years later, after almost dying of starvation; again, out of compassion, he de- cided to teach others the way to this lasting peace and happiness, includ- ing his family. The basic tool that he left all mankind to lead them to this victory over suffering and unhappiness was the practice of meditation. Meditation is the starting point on the path to this state of personal last- ing happiness and the end of suffering. I “stumbled upon” the practice of Buddhism five years ago, which for me was the beginning of the end of a most unhappy and problematic life which had been filled with pain and increasing despair. How I embarked on the path which the Buddha pioneered all those years ago is my per- sonal story of deliverance. Therefore an opening state- ment on Buddhist medita- tion would be in order. The skillful and persistent practice of meditation as taught by Siddhattha Gotama, otherwise known as the Buddha, is the one and only way in this unimaginably vast universe to complete the most difficult assignment one could ever accept; that of controlling and purifying one’s mind and experiencing everlasting happiness. I realize that is a bold statement coming from the pen of a layperson, and you should not automatically believe it just because I wrote it, and because it may sound plausible to your common-sense. Then again it may not sound plausible at all and will lead you to stop reading right here. For those of you continuing, I freely admit I am not the author of such a wonderful state- ment, only a messenger of the good tidings. Now consider a statement on the same topic from someone who unlike me, has devoted their entire life to the study of mind, and the pursuit of lasting happiness through the practice of Buddhist meditation. To quote the Venerable Henepola Gunaratana, a Theravadan monk and author of numerous books on the subject; “Meditation sharpens your concentration and your thinking power. Then piece by piece, your own subconscious motives and me- chanics become clear to you. Your intuition sharpens; the precision of your thought increases and gradually you come to a direct knowledge of things as they really are, without prejudice and without illusion.” Very perceptive and illuminating of course, but one should not even directly accept what Venerable Gunaratana says as the truth. In fact, the Buddha told his disciples that they should not believe anything he told them ei- ther! If one should not believe even the Buddha’s own words then who should one believe? No one! That’s correct, no one. The Buddha said that the only trustworthy source of truth was your own direct experience, which would verify the truth of what he had said. Again, the truth will IN SEARCH OF THE TRUTH By William Anderson
  • 5. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana4 5 be revealed as the truth, only when you have the experience of it. Get it? The Venerable Gunaratana continues, “ So, is this reason enough to bother meditating? Scarcely! These are just promises on paper. There is only one way you will ever know if meditation is worth the effort; learn to do it right, and do it. See for yourself.” Now, with respect to promises on paper; I have read many dif- ferent explanations of the meaning of life, and the achievement of a seemingly elusive lasting happiness. These paper promises came within the pages of numerous works of literature, poetry, philosophy, religion, psychology and various versions of metaphysics. The results of this reading and pondering only brought me to the conclusion much later in life, that none of these authors actually had it all together; they only had bits and pieces of truth that could not be assembled into one cohe- sive and understandable form. Despite all of my reading of such writ- ings, I always came away feeling that there was no concrete and realistic way to implement this wisdom into my daily life and thus solve all of my many emotional problems. All of these theories of the meaning of life and happiness are similar to the manner in which modern physicists postulate a single explanation for the existence and interrelationship of all the forces which hold the universe together; what they call a uni- fied field theory. I too was seeking one such gift-wrapped package that when opened contained unchanging happiness. After a lifetime of read- ing such theories I realized I was not the only one who was unhappy and confused about life. I came to the conclusion that absolutely everyone is in the dark on these life and death issues, whether they are honest enough to admit it or not. Some give up the search at some point and resort to the pursuit of one distracting behavior after another as a cheap temporary substitute for true lasting happiness. Others as well, never even consider asking such questions of life and feel that the only pur- pose to existence is simply enjoying themselves and seeking pleasure. Never totally abandoning my search; I did however, spend the majority of my adult years following one dead end after another in the deserts of confusion. I attempted during these wanderings to cover-up the increas- ing pain and dissatisfaction of my life with the placebo of sensual plea- sure, but more on that later. In any good story one usually starts at the beginning, and for me the search for the truth began at a very early age. As a young boy I wanted to know who made the world in which I found myself living. Who was God and where was he located? I was led to believe that God was a male with no name other than God, and that he was somehow this but also my father; very confusing. In fact, although I had a name like everyone else, I never felt fully comfortable with mine as if I had some secret identity that no one could tell me. I was raised in the Christian tradition and baptized as an infant. This procedure required an authority figure to sprinkle water over my head while I probably cried in protest. The purpose of this early unwanted exposure to cold water was to pro- tect me from the Devil, who was the inventor and perpetrator of all the evil in the world. Imagine, all you need to be safe in this chaotic and violent world is a little water properly applied! This chaotic and violent world of course had been created by a supposedly all-powerful God, who was also my father. The key which was to unlock the mystery of God was the fact that he had a son named Jesus, who was also some- how my brother. I was told that this brother of mine had died a horrible bloody death because of my sins (those wrong behaviors which I would continue to perform throughout my life). The only sins that I had com- mitted as a small boy would have been occasional lies and perhaps the taking of something that didn’t belong to me, a cookie for example or another child’s toy. Because of these simple childlike sins I was to for- ever feel guilty and worthless because I had somehow brought about the death of my brother Jesus due of these behaviors. Confused yet? Imag- ine how I felt. Returning to this Devil character, it seems he had an army of evil friends called demons who would invisibly sit on your shoulder and somehow whisper in your ear to do bad things The Devil it seemed was very successful in spreading violence and unhappiness around the world despite the supposed all- powerful God, who was also my father. Since I was never to know or even meet my earthly father I was doubly confused. Why would God permit people to suffer so greatly and permit them to be so universally unhappy? As a child you were not to ask such questions and if you did, you quickly discovered that no one had a sen- sible answer. We were taught that God understood all of this and would one explain if all in Heaven. Despite all the evident suffering and chaos in the world I was taught that if I was good I would go to this wonderful place when I died and be with God, who was also my father, and Jesus his son who was also my brother. Unfortunately I was never able to be “Good”, but instead found myself committing many sins every day. I felt helplessly trapped within this unbending system of reward and
  • 6. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana6 7 punishment because I felt the requirement to be perfect. After all, Jesus himself told his followers, “Be ye perfect as I am perfect.” I found that I could be “perfect” for perhaps thirty seconds if I didn’t count sinful thoughts which constantly circulated within my mind. As I got older I noticed that the thoughts became progressively more complicated, sinister and numerous. Much later, I realized that this was due to my experiencing life every waking second, and that my brain was constantly making a record of these experiences. Our brains are so sophisticated that they even record thoughts, about our thoughts, in the form of judgments and opinions, like and dislike. Of course as a child I had no clue how my mind worked. All I knew was that I con- stantly had unhappy and fearful thoughts with the occasional break of a happy thought or experience which I desperately tried to hold onto. This story of my search for the truth will continue at another time, but for now I leave you with a quote from the pen of the poet A. E. Houseman which beautifully sums up how I felt leaving childhood and entering adolescence, and is from Houseman’s The Last poems; “I, a stranger and afraid in a world I never made.” ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน ครอบครัว และอื่นๆ เป็นยอด ปรารถนาของคนทั้งหลาย ทำ�ให้มนุษย์พยายามคิดค้นสร้างสรรค์สิ่งต่างๆขึ้น ไม่ว่าจะเป็นที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า และเครื่องอำ�นวยความสะดวกหลายหลาก เพื่อ ความปลอดภัย ถ้าสังเกตจะเห็นว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว กำ�ลังพัฒนา และด้อย พัฒนาทั่วโลก จะมีสิ่งป้องกันภัยและอำ�นวยความสะดวกต่างๆ เช่น ในประเทศ สหรัฐอเมริกา จะมีระบบเตือนภัยธรรมชาติที่ดีเยี่ยมจนสามารถรู้ได้ล่วงหน้า หลายวันชั่วโมงต่อชั่วโมงว่า ภายในอาทิตย์นี้ฝนจะตก แดดจะออกจนคนที่จะ ออกไปทำ�ธุระนอกบ้านสามารถเตรียมพร้อมรับมือกับดินฟ้าอากาศได้ ถึงแม้ประเทศที่พัฒนาเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีก็ใช่ว่าจะ มีความปลอดภัยในชีวิตอย่างเต็มที่ เพราะภัยต่างๆ ใช่ว่าจะเกิดจากมนุษย์ เองเท่านั้น ยังมีภัยธรรมชาติที่อยู่เหนือการควบคุมของเรา ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่ สามารถกะเกณฑ์เตรียมรับมือได้ จึงเห็นว่ามีบริษัทประกันภัยผุดขึ้นมากมาย เช่น บริษัทประกันชีวิต สุขภาพ บ้าน รถยนต์ ทรัพย์สิน และธุรกิจ เป็นต้น บริษัทประกันภัยเหล่านั้นต่างต้องเสียเงินทองในการทำ�ประกันโดยจ่ายเป็นราย เดือน รายปี ซึ่งคนที่ทำ�ประกันภัยต้องใช้จ่ายเงินจำ�นวนมากในแต่ละปี เพื่อ ป้องกันภัยที่จะเกิดขึ้นกับชีวิต ทรัพย์สิน และครอบครัวของตนเอง เมื่อ ๒,๕๐๐ กว่าปีก่อน พระพุทธเจ้าก็ทรงวางหลักประกันภัยไว้เหมือน พุทธประกันภัย ปิยเมธี ญาติธรรมจาก ประเทศไทย, มลรัฐ วอชิงตัน,ดี.ซี. และ มลรัฐเวอร์จีเนีย ได้เดิน ทางมาเยี่ยมเยือนให้กำ� ลังใจพระสงฆ์และชาว พุทธในการสร้างวัดใหม่
  • 7. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana8 9 กัน เรียกว่า พุทธประกันภัย เป็นระบบประกันภัยที่ต่างจากประกันภัยในปัจจุบัน คือ ไม่ต้องลงทุน ลงเงิน แต่มีระเบียบปฏิบัติว่าต้องลงแรง ลงมือกระทำ� มีวินัย งดเว้น ละเว้นบางสิ่งบางประการ โดยมีระเบียบปฏิบัติในการทำ�ประกันภัยด้าน ต่างๆ และผลประโยชน์ที่ผู้เอาประกันจะได้รับ ดังนี้ ๑.ประกันภัยชีวิต มีระเบียบการชำ�ระประกันภัยด้วยการไม่เบียดเบียนทำ�ลายสิ่งมีชีวิต โดยต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผลประโยชน์ที่จะได้กรณียังมีชีวิตอยู่ คือ มีสุขภาพ แข็งแรง หน้าตาผ่องใส อายุยืน ไม่ค่อยมีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน เป็นที่รักของ คนและสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย หลังจากเสียชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์ และสวรรค์ เป็นต้น ๒.ประกันทรัพย์สิน มีระเบียบการชำ�ระประกันภัยด้วยการไม่ปล่อยให้ความโลภครอบงำ� หยิบจับเอาวัตถุสิ่งของที่ไม่ใช่ของๆ ตน ต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผลประโยชน์ ที่จะได้กรณียังมีชีวิตอยู่ คือ ไม่ต้องขึ้นโรงขึ้นศาล ทรัพย์สมบัติปลอดภัย ไม่ ถูกเบียดบัง หลังจากเสียชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์และสวรรค์ เป็นต้น ๓.ประกันครอบครัว มีระเบียบชำ�ระประกันภัยด้วยการเคารพรักเพศตรงข้ามและเพศ เดียวกันเสมอเหมือนญาติของตนเอง ต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผลประโยชน์ ที่จะได้กรณียังมีชีวิตอยู่ คือ ครอบครัวมั่นคง มีความสุข ปลอดภัยจากโรคร้าย ต่างๆ เป็นต้นว่า HIV หลังจากเสียชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์และ สวรรค์ เป็นต้น ๔.ประกันเครดิต มีระเบียบชำ�ระประกันภัยด้วยการมีสติ มีเมตตาในการพูดจาให้ไพเราะ ดี มีประโยชน์กับทุกๆ คน ต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผลประโยชน์ที่จะได้รับกรณี ยังมีชีวิตอยู่ คือ มีเครดิต มีเสน่ห์ พูดอะไรมีคนเคารพรักเชื่อถือ หลังจากเสีย ชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์และสวรรค์ เป็นต้น ๕.ประกันสุขภาพ มีระเบียบชำ�ระประกันภัยด้วยการงดเว้นจากการดื่มเครื่องดองของ มึนเมาต่างๆ ที่เป็นเหตุให้ประมาทขาดสติ ต้องถือปฏิบัติตลอดชีวิต ผล ประโยชน์ที่จะได้กรณียังมีชีวิตอยู่คือ สุขภาพแข็งแรง ไม่เสียทรัพย์ ไม่เสียชื่อ เสียง คนนับถือ มีความคิดอันเฉียบคม ไม่ขาดสติอันเป็นเหตุให้ทำ�อะไรโง่ๆ หลังจากเสียชีวิตไปแล้ว จะได้ไปเกิดในที่ดีๆ มีมนุษย์และสวรรค์ เป็นต้น ข้อแตกต่างระหว่างประกันภัยทั่วไปกับพุทธประกันภัย คือ ประกันภัยทั่วไป ผู้เอาประกันต้องลงทุนจ่ายทรัพย์ทุกเดือนต่อเนื่อง หลายปี และต้องทำ�ตามระเบียบที่ทางบริษัทกำ�หนดว่าต้องจ่ายเงินจำ�นวน เท่านั้นบาท ระยะเวลากี่ปี และห้ามทำ�อะไรบ้าง จึงจะได้รับผลประโยชน์ ส่วนพุทธประกันภัยต้องลงมือกระทำ� ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ไม่มีกำ�หนดปีที่ทำ� ทำ�เท่าไหร่ก็ได้รับประกันภัยเท่านั้น ถ้าหยุดทำ�ก็หยุดรับผล ประโยชน์ พุทธประกันภัย ที่มีพระพุทธเจ้าเป็นเจ้าของบริษัทได้การันตีไว้ว่า ถ้า ทุกคนทำ�ประกันภัยกับบริษัทพุทธประกันภัย จะได้ประโยชน์คือความสงบเย็น เป็นสุขแก่ตัวผู้ทำ�เอง ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ และโลก โดยจะได้รับประ โยชน์หลักๆ ดังนี้ ๑.ทำ�ให้พบเจอเพื่อนที่ดี สังคมที่ดี ๒. ทำ�ให้เจริญรุ่งเรืองร่ำ�รวย ๓. ทำ�ให้ชีวิตร่มเย็นเป็นสุขทั้งส่วนตัวและส่วนรวม เมื่ออ่านมาถึงตรงนี้ ก็ขึ้นอยู่กับท่านทั้งหลายเองว่าจะทำ�ประกันกับ บริษัทพุทธประกันภัยหรือไม่ ถ้าอยากทำ� วิธีทำ�ก็ไม่ยาก โดยมีวิธีทำ�ง่ายๆ ๒ วิธี คือ ๑.ตั้งจิตอธิษฐานต่อหน้าพระพุทธรูปที่เป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้าว่า จะทำ�ประกันภัยกับพระองค์ด้วยการปฏิบัติตามระเบียบประกันภัยทั้ง ๕ ข้อ ๒.ไปที่วัดใกล้บ้านแล้วกล่าวคำ�สมาทานประกันภัยต่อหน้าพระสงฆ์ โดยมีพระภิกษุเป็นสักขีพยานด้วยการปฏิบัติตามระเบียบทั้ง ๕ ข้อ
  • 8. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana10 11 จิตที่ฝึกและไม่ฝึก ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่ไม่อบรม แล้ว ย่อมไม่ควรแก่การงาน เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตที่ไม่อบรมแล้ว ย่อมไม่ควรแก่การงาน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่อบรม แล้ว ย่อมควรแก่การงาน เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตที่อบรมแล้ว ย่อม ควรแก่การงาน ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่ไม่ อบรมแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้ง หลาย จิตที่ไม่อบรมแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่อบรม แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลายจิตที่ อบรมแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่ไม่อบรม แล้ว ไม่ปรากฏแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกร ภิกษุทั้งหลายจิตที่ไม่อบรมแล้วไม่ปรากฏแล้วย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์ เพชรจาก......พระไตรปิฎก พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต อย่างใหญ่ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่อบรม แล้ว ปรากฏแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้ง หลาย จิตที่อบรมแล้ว ปรากฏแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่ไม่อบรม แล้ว ไม่ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตที่ไม่อบรมแล้ว ไม่ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ ประโยชน์อย่างใหญ่ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่อบรม แล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ เหมือนจิต ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย จิตที่อบรมแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลายเราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่งที่ไม่อบรม แล้วไม่ทำ�ให้มากแล้วย่อมนำ�ทุกข์มาให้เหมือนจิตดูกรภิกษุทั้งหลายจิตที่ไม่ อบรมแล้ว ไม่ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมนำ�ทุกข์มาให้ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่อบรม แล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมนำ�สุขมาให้ เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตที่อบรม แล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมนำ�สุขมาให้ ฯ พระเดชพระคุณพระธรรมโมลี จจ.สุรินทร์, พระครูสิริอรรถวิเทศ เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ฯ, พระครูสุตพุทธิธัช เลขานุการสหภาพพระธรรมทูตไทย ยุโรป เมตตาเยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
  • 9. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana12 13 "ปีหนึ่งมีวันแม่วันเดียวอีก๓๖๔วันเป็นวันลูก"เสียงรำ�พึงเหล่านี้ อาจไม่ได้เป็นเรื่องจริงจังอะไรนัก แต่ก็สื่อให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของแม่ ลูกในสังคมปัจจุบันได้ไม่น้อยทีเดียว ตามธรรมชาติแล้วแม่และลูกมีความสัมพันธ์ กันอย่างลึกซึ้งตั้งแต่ ลูกถือกำ�เนิดขึ้นมาในครรภ์ของแม่ สารอาหารที่ผ่านมาทางเลือดของ แม่ค่อยๆ เสริมสร้างส่วนต่างๆ ในร่างกายลูก จนกระทั่งเวลาผ่านไป ๒ สัปดาห์ปากน้อยๆ ของลูกก็เกิดขึ้น ๓ สัปดาห์ลูกเริ่มมีตา ปลายสัปดาห์ที่ ๓ หัวใจเริ่มเต้น ในสัปดาห์ที่ ๘ ลูกมีอวัยวะทุกอย่างครบถ้วน สัปดาห์ที่ ๔๐นัยน์ตามีสีเฉพาะตามเชื้อชาติร่างกายสมบูรณ์เต็มที่พร้อมจะออกมาดู โลก เมื่อลูกคลอดออกมาแล้ว แม่ก็มีหน้าที่ที่ต้องทำ�เพื่อลูกมากมาย ที่ สำ�คัญที่สุด คือ เลี้ยงดูและอบรมสั่งสอนด้วยความรักอย่างเต็มที่ เต็มกำ�ลัง ของท่าน จนลูกเติบใหญ่โดยไม่มีค่าจ้างหรือสัญญาตอบแทนใดๆ เรียกได้ ว่า ในฐานะที่เป็นลูก เราได้รับสิทธิมากมายมหาศาลจากแม่ แต่มนุษย์เราเกิดมาไม่ได้มี"สิทธิ"เพียงอย่างเดียวแต่ยังมี"หน้าที่" ตามมาด้วยเป็นของคู่กัน และหน้าที่ระหว่างแม่ลูกนั้น ไม่ใช่ว่าทุกคนจะ ทำ�ได้ดีเสมอไป บางคนเมื่อเป็นลูกอาจจะเป็นลูกที่ดี แต่เมื่อมาเป็นแม่ อาจจะไม่ใช่แม่ที่ดีก็ได้ เพราะการเลี้ยงลูกให้ดีไม่ใช่เรื่องง่าย ถึงแม้ว่าโดย ปกติแล้วแม่ทั่วโลกต่างก็รักลูกและอยากเลี้ยงลูกให้ดีก็ตาม แต่..ความรักอย่างเดียวคงยังไม่พอ ความพร้อมในด้านต่างๆ ของ แม่ก็เป็นเรื่องสำ�คัญเช่นกัน นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกมากมาย ที่แตก ต่างกันไปตามสภาพสังคม ประเพณี วัฒนธรรม ฯลฯ สิ่งเหล่านี้มีส่วน กำ�หนดให้แม่แต่ละคนทำ�หน้าที่ได้แตกต่างกันดังตัวอย่างของแม่ชาวจีน ใน ๒ ยุค ที่ต่างก็มีความรักลูกเช่นกัน แต่การเลี้ยงลูกกลับต่างกันราวดิน กับฟ้า ในอดีตประชากรจีนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว คุณภาพชีวิตของ ประชาชนทั่วไปต่ำ�กว่ามาตรฐานมาก ปัญหาต่างๆ รุมเร้า ทำ�ให้แม่ไม่มี ความพร้อมที่จะดูแลลูกๆ ได้อย่างทั่วถึง ลูกจึงขาดแคลนทั้งเรื่องอาหาร การกิน การศึกษา การอบรมสั่งสอน การดูแลด้านสุขอนามัย ฯลฯ ต่อมา ในค.ศ.๑๙๗๙ รัฐบาลจีนมีนโยบายให้แต่ละครอบครัวมีลูกคนเดียว เพื่อ ควบคุมจำ�นวนประชากร ภาพเด็กจีนผู้หิวโหยเข้าแถวรอการปันส่วน อาหารจึงหมดไป ปัจจุบันพ่อแม่ชาวจีนจำ�นวนมหาศาลต่างก็มีลูกกันเพียงคนเดียว เป็นครอบครัวแบบ๔-๒-๑(ปู่ย่าตายาย๔คนพ่อแม่๒คนลูก๑คน)ทุก คนในบ้านต่างทุ่มเททุกอย่างเพื่อปรนเปรอ "หนึ่งเดียวคนนี้" โดยปู่ย่า ตา ยาย และพ่อแม่ ต่างทำ� "หน้าที่" ของตนอย่างเต็มกำ�ลัง จนกระทั่งเด็กเหล่า "วันแม่ วันลูก"
  • 10. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana14 15 นี้ ได้ชื่อว่า จักรพรรดิน้อย (The Little Emperors) แต่..ในยุคที่จักรพรรดิ น้อยกำ�ลังรุ่งเรืองนี้ ตำ�นานลูกกตัญญูก็ถึงกาลอวสานลงไปพร้อมๆ กัน แล้วอะไรคือแนวทางในการทำ�หน้าที่ของแม่อย่างเหมาะสม? เรื่องนี้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึงหน้าที่ของแม่รวมทั้งหน้าที่ของ ลูกไว้ในสิงคาลกสูตร เรื่องทิศ ๖ ซึ่งหลักการนี้สามารถนำ�ไปใช้ได้กับ คนในทุกสังคม พระองค์ตรัสไว้ว่า แม่มีหน้าที่อนุเคราะห์ลูก ๕ ประการ คือ - ห้ามลูกไม่ให้ทำ�ชั่ว - ให้ทำ�ความดี - ให้การศึกษาแก่ลูก - หาสามี-ภรรยาที่สมควรให้ - และมอบทรัพย์สินให้ลูกในเวลาอันควร ส่วนลูกก็มีหน้าที่ ๕ ประการเช่นกัน คือ - เลี้ยงดูแม่เป็นการตอบแทน - ช่วยทำ�การงานของท่าน - ดำ�รงวงศ์ตระกูล - ประพฤติตนให้สมควรที่จะได้รับมรดก - ทำ�บุญอุทิศให้ท่านเมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ถ้าทั้งแม่และลูกต่างก็มีความชัดเจนว่าตนเองมีหน้าที่อะไร และ ทำ�หน้าที่ของตนให้ดีที่สุดโดยอาศัยทุนเดิม คือ ความรัก ความเมตตาที่มี ต่อกันเป็นพื้นฐาน บวกกับความเข้าใจว่า แม่ หรือลูกของเรา ก็คือ มนุษย์ ธรรมดาที่ยังมีกิเลส และยังมีปัญหาต่างๆในชีวิตอีกมากมาย อาจจะทำ�สิ่ง ที่ผิดพลาด หรือสิ่งที่ไม่ถูกใจเราบ้างในบางครั้ง แต่ถ้าเรามองอีกฝ่ายหนึ่ง ด้วยความเมตตาและเข้าใจ เราก็จะสามารถรักษาความสัมพันธ์อันงดงาม ที่มีต่อกันไว้ได้ตลอดไป ไม่น่าเชื่อว่า วันเวลาที่ได้มาเป็นแม่ลูกกัน ช่างผ่านไปรวดเร็วนัก ดวงตะวันสาดแสงสดใสได้ไม่นานก็ต้องลับขอบฟ้าเสมือนชีวิตของแม่ ที่กำ�ลังนับถอยหลังลงทุกวัน.. ใช้เวลาด้วยกันบ้าง.. ให้หลายๆ วันเป็นวัน ของแม่และลูก เพราะวันแม่ครั้งต่อไป มาลัยดอกมะลิพวงงามของลูกอาจ ไม่ถึงมือแม่ก็ได้ !! พระอาจารย์มหาอุดม ปภงฺกโร เมตตามาเยี่ยมวัด ญาติ โยมชาวพิทส์เบิร์กร่วมกันถวาย เพลที่ร้านอาหารใกล้วัด คุณโยมหน่อยทำ�บุญ เปิดร้านไทยมีอัพ นิมนต์พระ สงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ และฉัน ภัตตาหารเพล ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์ มีคุณโยมจันทิมา เจ้าของบ้าน และครอบครัวนิมนต์พระสงฆ์ เจริญพระพุทธมนต์ สาธุ
  • 11. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana16 17 เรารู้กันดีว่าการนอนหลับคือการพักผ่อนที่ดีที่สุดแต่ที่ยากกว่านั้น ก็คือ หลายคนนอนยังไงก็นอนไม่หลับ ถ้าใครไม่เคยเป็นก็คงไม่รู้รสชาติ ของความทรมาน หากเทคนิคมากมายที่เคยใช้ไม่สามารถทำ�ให้คุณนอน หลับได้ ลองนำ�เทคนิคเหล่านี้ไปใช้ดู รับรองว่าจะทำ�ให้หลับสนิทได้ง่าย ขึ้น 1. ฝึกเข้านอนให้ตรงเวลา ร่างกายของเราถูกสร้างมาให้ทำ�งาน สอดคล้องกับความเป็นไปในธรรมชาติ นั่นแหมายความว่า เราควร พยายามนอนและตื่นเป็นเวลาเดิมทุกวันทุกเช้า ไม่ว่าเมื่อคืนจะนอนกี่ทุ่ม การชดเชยเวลานอนที่เสียไปด้วยการนอนตื่นสายในวันสุดสัปดาห์จะ ทำ�ให้ตื่นยาก เมื่อถึงเช้าวันที่ต้องไปทำ�งาน 2. อาบน้ำ�อุ่นก่อนนอน เป็นการช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของ กล้ามเนื้อ ช่วยให้เลือดในร่างกายหมุนเวียนได้ดี และช่วยให้เรานอนหลับ สบายขึ้น 3. ผ่อนลมหายใจ โดยเริ่มจากหายใจเข้าทางจมูก นับ 1-5 ในใจ จากนั้นปล่อยลมหายใจออกทางปากช้า ๆ ในระหว่างนั้น นับ 1-10 ใน ใจจะรู้สึกว่าร่างกายผ่อนคลายลงทันที ขณะเดียวกันควรปล่อยวางเรื่อง เครียดไปพร้อม ๆ กันด้วย 4. ดื่มนมอุ่น ๆ สัก 1 แก้ว กรดอะมิโนในนมมีส่วนช่วยในการ ทำ�ให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลายและนอนหลับได้สบายขึ้น 5. จิบน้ำ�ผึ้งสักครึ่งช้อนชา เพียง 5 นาทีหลังจากที่ดื่มน้ำ�ผึ้งจะ เข้าไปมีส่วนกระตุ้นให้สมองหลั่งสารซีโรโทนิน ซึ่งส่งผลให้เรารู้สึก ผ่อนคลาย และช่วยทำ�ให้คุณง่วงได้ 6.ทำ�มือให้อุ่นการทำ�มือให้อุ่นจะสามารถลดความตึงเครียดลงได้ ก่อนนอนอาจจะแช่มือในน้ำ�อุ่นสักครู่ ก็มีส่วนช่วยทำ�ให้คุณนอนหลับได้ ง่าย และสบายขึ้น 7. ออกกำ�ลังกาย การออกกำ�ลังกายอย่างหนัก 4 ชั่วโมงก่อนนอน อาจทำ�ให้นอนยากขึ้น แต่หากทำ�ก่อนหน้านั้นสัก 6 ชั่วโมง จะช่วยให้ นอนหลับสบายขึ้นเมื่อถึงเวลานอน และหลับได้ลึกอีกด้วย 8. เลือกเสียงเพลงขับกล่อม บรรยากาศที่ดีช่วยให้เราเคลิบเคลิ้มได้ ไม่ยาก ลองเลือกเพลงบรรเลงเบา ๆ ที่ช่วยผ่อนคลายจิตใจให้ดูสงบมาฟัง อาจจะช่วยเร่งให้การนอนได้เร็วและลึกขึ้น ควรตั้งเวลาปิดเพลงด้วยก็ดี เพราะขณะนอนหลับควรเป็นเวลาที่เงียบจะดีที่สุด 9. สร้างบรรยากาศในการนอน อุณหภูมิภายในห้องควรอยู่ที่ ระดับเย็นสบาย ห้องนอนควรมืดสนิท โดยใช้ผ้าม่านเนื้อหนา เพื่อสร้าง บรรยากาศในการนอน ความมืดสนิทจะช่วยให้หลับง่ายและเร็วขึ้น 9 วิธีหลับง่ายนอนสบาย http://health.kapook.com/view26232.html
  • 12. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana18 19 ทำ�บุญประเพณีสงกรานต์ 7 เม.ย.2556 วัดป่าธรรมรัตน์จัดทำ�บุญประเพณีสงกรานต์ ปีใหม่ไทย มีครูบา อาจารย์จากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.นำ�โดยพระครูสิริอรรถวิเทศ, พระมหาสุรตาล สิทฺธิผโล, พระอาจารย์สุริยา เตชวโร และญาติธรรมจากกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. เมตตาเดิน ทางมาร่วมทำ�บุญปีใหม่กับชาวเมืองพิทส์เบิร์กและใกล้เคียง เป็นการฉลองปีใหม่แบบ ชาวพุทธ เริ่มต้นดี ชีวิตดี สาธุ ร่วมทำ�บุญประเพณีสงกรานต์ 11-15 เม.ย.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และญาติโยมเมืองพิทส์เบิร์กเดิน ทางไปช่วยงานตั้งแต่ต้นและร่วมงานทำ�บุญประเพณีสงกรานต์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี. ซี. เพื่อกราบขอพรปีใหม่กับพระเดชพระคุณหลวงตาชี และครูบาอาจารย์ ทำ�บุญลาบวชชี 23 เม.ย.2556 คุณโยมบุญมณี(น้อย) แม็คคาชี่ พร้อมเพื่อนๆ ทำ�บุญถวาย ภัตตาหารเพลที่ร้านอาหารจีน พร้อมกราบลาไปบวชชีที่วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. เพื่อ เป็นอาจริยบูชา บวชชีถวายเป็นบุญกุศลแด่หลวงตาชีและพระครูสิริอรรถวิเทศในคราว ที่หลวงตาอายุครบ 88 ปี และในคราวที่พระครูสิริอรรถวิเทศได้รับแต่งตั้งสมณศักดิ์ พระอาจารย์มหาอุดมเมตตาแวะมาเยี่ยมเยือนให้กำ�ลังใจ 27 เม.ย.2556 พระมหาอุดม ปภงฺกโร เจ้าอาวาสวัดป่าสันติธรรม เวอร์จีเนีย พร้อมญาติโยมติดตามคือคุณโยมแมวและตุ๊กตา เดินทางไปทำ�ธุระต่างรัฐ ระหว่างทาง กลับเวอร์จีเนียได้เมตตาแวะมาเยี่ยมคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ในฐานะลูกศิษย์ลูกหาเคย อาศัยพึ่งพาบารมีของท่าน ทางวัดขอกราบขอบพระคุณพระอาจารย์ สรุปข่าว เดือนเมษายน- พฤษภาคม- มิถุนายน 4 เรื่องต้องห้ามยามเข้านอน - ไม่เปิดวิทยุหรือโทรทัศน์ทิ้งไว้ เพราะแทนที่คุณจะได้นอนหลับ อย่างเป็นสุข ก็อาจจะฟังวิทยุหรือดูโทรทัศน์เพลินจนลืมความง่วง และ นอนหลับได้ยากขึ้น - ควรหลีกเลี่ยงชากาแฟ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่ ก่อนนอนอย่างเด็ดขาด เพราะจะทำ�ให้ประสาทแข็งและนอนหลับได้ยาก ขึ้น - อย่าแบกงานขึ้นไปบนเตียง เพราะมันจะคอยหลอกคุณให้คิดวน เวียนอยู่กับเรื่องงานและตาสว่างจนเลยเวลานอน -อย่าจับจ้องกับเวลาว่าตอนนี้เวลาล่วงเลยไปดึกแค่ไหนการจดจ่อ กับนาฬิกายิ่งทำ�ให้คุณกระวนกระวายนอนหลับได้ยากขึ้น อนุโมทนาบุญกับ คุณโยมวรรณและปอในการ จัดดอกไม้งานวิสาขบูชา นานาชาติ คุณโยมคิมทำ�บุญเปิด ร้านอัปสร นิมนต์พระสงฆ์ เจริญพระพุทธมนต์
  • 13. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana20 21 กลุ่ม PST การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทำ�บุญ 27 เม.ย.2556 คณะญาติโยมจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคที่มาอบรมเสริมความรู้ พัฒนาทักษะในการทำ�งาน เพื่อนำ�ความรู้กลับไปพัฒนาประเทศชาติต่อไป เมื่อมีโอกาส ก็ไม่ลืมที่จะมาทำ�บุญด้วยการนั่งสมาธิ สวดมนต์ พร้อมสมทบทุนซื้อที่ดินถวายวัด อนุโมทนา สาธุ เจริญพระพุทธมนต์เปิดร้านศิลปะ 29 เม.ย.2556 ชาวอเมริกันนิมนต์คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ เจริญพระพุทธมนต์ นั่งสมาธิ แสดงธรรม เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ร้านศิลปะที่เพิ่งเปิดใหม่ ขอให้ เจริญรุ่งเรือง เยี่ยมบ้านสมาชิกวัด 6 พ.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ได้รับนิมนต์ให้ไปเยี่ยมบ้านสมาชิกวัด คือ คุณเมย์ เบอมิ่งแฮม โดยมีคุณแหม่ม-จิม-ดิเรก ช่วยอำ�นวยความสะดวกและต้อนรับ เป็นอย่างดี สาธุ ประชุมเตรียมงานวิสาขนานาชาติ 6 พ.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ร่วมประชุมกับคณะกรรมการจัดงาน วิสาขนานาชาติ เพื่อเตรียมจัดงานวิสาขะร่วมกันเป็นปีที่ 5 ทำ�บุญบ้าน 13 พ.ค.2556 ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์นิมนต์คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์เจริญ พระพุทธมนต์ที่บ้าน เพื่อเป็นการทำ�บุญขึ้นใหม่หลังจากที่ซื้อมาหลายปีแต่ไม่มีโอกาส ได้ทำ�บุญขึ้นบ้านใหม่ ขอให้มีความสุขความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป ทำ�บุญวิสาขบูชาและวิสาขนานาชาติ 19 พ.ค.2556 วัดป่าธรรมรัตน์จัดงานทำ�บุญวิสาขบูชา รำ�ลึกวันประสูติ-ตรัสรู้- ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า และตอนบ่ายร่วมงานวิสาขนานาชาติที่ตัวเมืองพิทส์เบิร์ก มีพุทธศาสนิกชนเข้าร่วมเป็นจำ�นวนมาก เห็นความร่วมมือกันระหว่างชาวพุทธแล้วเกิด ความปีติว่าพระพุทธศาสนาในประเทศแห่งนี้คงจะลงรากฝังลึกแน่นอน ร่วมทำ�บุญวิสาขบูชาวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. 26 พ.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์เดินทางไปร่วมงานวิสาขบูชาที่วัดไทย กรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. มีชาวพุทธเดินทางมาร่วมงานบุญจำ�นวนมาก ร่วมงานประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในอเมริกาและงานอายุวัฒนมงคลหลวงตาชี 6-9 มิ.ย.2556 คณะสงฆ์พร้อมญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์เดินทางไปช่วยเตรียม งานประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาและทำ�บุญอายุวัฒนมงคลพระเดชพระคุณ พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี)ครบ 88 ปี มีพระธรรมทูตเดินทางมาร่วมงานกว่า 300 รูป การจัดงานครั้งนี้เป็นที่ประทับใจของทุกฝ่าย อนุโมทนา สาธุ ทำ�บุญสมทบทุนซื้อที่ดินถวายวัด 12 มิ.ย.2556 คุณต้องพงศ์ ศรีบุญ และสหายธรรม ชักชวนเพื่อนๆ ทั้ง ที่ประเทศไทยและสหรัฐอเมริการ่วมกันทำ�บุญถวายปัจจัยสมทบทุนสร้างวัด ขอ อนุโมทนา สาธุ พระเดชพระคุณพระธรรมโมลีและพระมหาเถระเยี่ยมวัด 10-12 มิ.ย.2556 พระเดชพระคุณพระธรรมโมลี จจ.สุรินทร์, พระครูสิริอรรถ วิเทศ เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยฯ, พระครูสุตพุทธิธัช เลขานุการสหภาพพระธรรมทูต ยุโรป และดร.เสาวคนธ์ จันทร์ผ่องศรี เดินทางมาเยี่ยมพระธรรมทูตและญาติธรรมชาว วัดป่าธรรมรัตน์ ยังความปลาบปลื้มยินดีมายังชาวพิทส์เบิร์กอย่างยิ่ง พระธรรมทูตและญาติโยมเยี่ยมวัด 12-14 มิ.ย.2556 พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร วัดพุทธนานาชาติ เท็กซัส, พระ มหาสุริยา อาภสฺสโร วัดสุทัศน์ฯ กรุงเทพฯ และญาติโยมศิษย์วัดไทยดีซี เดินทางมาเยี่ยม วัดป่าธรรมรัตน์ และเมืองพิทส์เบิร์ก พร้อมทั้งร่วมทำ�บุญกับทางวัด ขออนุโมทนา สาธุ กับทุกท่าน ร้านสยามไทยทำ�บุญเปิดร้าน 16 มิ.ย.2556 ร้านอาหารสยามไทยโดยเจ้าของร้าน คือ คุณจำ�เนียร(แต๋ว),คุณ สมศักดิ์ น้ำ�ใส และครอบครัวนิมนต์พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร และคณะสงฆ์วัดป่า ธรรมรรัตน์ เจริญพระพุทธมนต์เปิดร้าน เพื่อเป็นสิริมงคลในการทำ�ธุรกิจ ขอให้เจริญ รุ่งเรืองขายดี ร้านอัปสรทำ�บุญเปิดร้าน 23 มิ.ย.2556 คุณโยมคิมสมาชิกชาวกัมพูชาทำ�บุญเปิดร้านอัปสร โดยนิมนต์ คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์เจริญพุทธมนต์ แสดงธรรม ฉันภัตตาหารเพล เป็นกำ�ลังใจใน การทำ�ธุรกิจตามแบบชาวพุทธ พระครูสังฆรักษ์ดร.อำ�พล เยี่ยมวัดพร้อมดูสถานที่สร้างวัด 24-28 มิ.ย.2556 พระครูสังฆรักษ์ดร.อำ�พล สุธีโร รองเจ้าคณะอ.หนองหาน จ.อุดรธานี และรองประธานฯ วัดป่าธรรมรัตน์ เมตตาเดินทางมาเยี่ยมวัด พร้อมดูสถาน ที่สำ�หรับสร้างศูนย์ศึกษาปฏิบัติธรรมในเมืองพิทส์เบิร์ก ทั้งนี้พระอาจารย์ยังได้ทำ�บุญ สมทบทุนซื้อที่ดินวัดด้วย กราบขอบพระคุณพระอาจารย์ที่เมตตา ชาวเวอร์จีเนียเยี่ยมชาวพิทส์เบิร์ก 29-30 มิ.ย.2556 พระอาจารย์วิญญู สิรญาโณ พร้อมญาติโยมวัดป่าสันติธรรม เวอร์จีเนีย อันประกอบด้วยคุณโยมบี,บุญช่วย,มะลิ,แอ๋ว,ทองม้วน,จอร์น ได้เดินทางมา เยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์และร่วมทำ�บุญสร้างวัด ขอขอบคุณญาติโยมทุกท่าน
  • 14. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana22 23 รายรับ-รายจ่าย ประจำ�เดือนเมษายน - มิถุนายน ปี 2556/2013 รายรับเดือนเมษายน 2556 มนัส แซนส์(ประกันสุขภาพพระ) $ 100.00 มนัส แซนส์(ค่าน้ำ�ไฟ) $ 30.00 วาสนา ชื่นนิรันดร์ และเพื่อนเมืองไทย $ 100.00 พระมหาสายันต์ ลาสนาม $ 20.00 Patrick Altman $ 20.00 Pranom Jabkul $ 100.00 วสันชัย จาบกุล $ 40.00 เฉลิมพันธุ์ จาบกุล $ 40.00 ธันญนันท์ โพธิทอง $ 20.00 Sukanda Boophanon $ 100.00 Malinee Vangsameteekul $ 119.00 Prabhassara Ruamsiri Agkrasa $ 20.00 บุญเสริม งามสะอาด $ 100.00 จิรภา ญมภัย $ 50.00 วาสนา น้อยวัน $ 20.00 น้องกีต้าร์-น้องแอนนา $ 20.00 พยุง-จินตนา งามสะอาด $ 100.00 วราภรณ์ สุวัตถี $ 20.00 Somsong Fox $ 50.00 Inned Boakam Sintuya $ 50.00 Urai Tasid $ 10.00 Kasam Wongsa $ 20.00 Apinya Kunjara Ayudhya $ 500.00 Cathy Gisebach $ 10.00 Wisain Gould $ 75.00 Boonsom-Donald E. Glass $ 20.00 Jame P. Birmingham $ 50.00 วรฉัตร นิศา ธรรมอารีย์ $ 100.00 อริส โออนุรักษ์ $ 20.00 Chatree Sangprachakanarak $ 50.00 Ratanapinta Family $ 20.00 Kim Van Ram $ 10.00 Daravoth Channa Kimly $ 20.00 ต้นผ้าป่าวันสงกรานต์ $ 240.00 กนกนุช อมรวงค์ $ 30.00 ต้นผ้าป่าจากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. $ 430.00 Frank Family, Kittima Fred Frank, Susima Mungdee, Karla Frank, Jira Pach Moongdee $ 200.00 บุษดี ทองดี $ 80.00 Preet Singh $ 25.00 จีราภรณ์ ชัยศรี, Thai Me Up $ 100.00 Soraya Sar $ 5,520.00
  • 15. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana24 25 Pittsburgh Thai Food $ 100.00 เฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ $ 59.00 Kim Vann Ram $ 15.00 Frank-Prapai $ 70.00 วระญา แซ่เตียว แมชเวร $ 40.00 Parnida Leondard $ 50.00 Gon E.Maxwell, วระญา แซ่เตียว แมชเวล $ 100.00 Vanida Soontornpitugs $ 100.00 Randall S.Musick, Vipada S. Musick $ 30.00 Arsa Sangsri $ 50.00 ณรงค์ ใจดี $ 20.00 อุษา จิรเชิดชูวงศ์ $ 40.00 Tasis,Warangpoorn,Hurg I, Lin Yu, Chous $ 25.00 Robert – Wipa Davis $ 20.00 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม(ชายน่ารัก) Thai Me Up $ 10.00 Thai Me Up $ 100.00 Andi & Steven Irwin $ 100.00 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(PST) $ 100.00 น.ส.สุภาวดี สุขเจริญ พร้อมครอบครัว $ 5.00 น.ส.สุจิตรา เทียมเมืองแพน และครอบครัว $ 5.00 รุจิรา ขันธรูจี $ 100.00 ทำ�บุญอุทิศให้ปู่ครื้น, น้าจำ�นง, ลูกเจสัน กินรี เจ้ากรรมนายเวร $ 40.00 Boonrak-Ratana Tantisira $ 200.00 Thai Spoon, LLC $ 100.00 รายรับเดือนพฤษภาคม 2556 มนัส(ดี) แซนร์(ประกันสุขภาพพระสงฆ์) $ 100.00 มนัส(ดี) แซนร์(บำ�รุงค่าน้ำ�ไฟ) $ 30.00 Chaikham & Damdee Kingsidaphone $ 50.00 Natthapong Chanyoo(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 99.00 Natthapong Chanyoo(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 50.00 Pittsburgh Thai Food, Inc.(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 109.00 คุณเฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 50.00 พระมหาคำ�ตัล พุทฺธงฺกุโร(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 100.00 พระมหาศรีสุภรณ์ อตฺตทีโป(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 100.00 พระมหาพิรุฬห์ พทฺธสีโล(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 200.00 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 100.00 พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 100.00 คุณประนอม จาบกุล(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 100.00 คุณอภิญญา กุญชร ณ อยุธยา พร้อมครอบครัว(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด)$ 40.00 คุณสุวรีย์ น้ำ�ใส(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณจิตรลดา รามางกุล(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณสมทรง Fox(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณมาลินี วังศเมธีกุล(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณบุญเสริม งามสอาด(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณผ่อง งามสอาด(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณสุกานดา บุพพานนท์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณประยูรศรี วรเลิศ(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณสมศักดิ์ น้ำ�ใส(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00
  • 16. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana26 27 คุณวิเชียร น้ำ�ใส(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณอุไร ตะสิทธิ์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณดารินี Michael(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 ครอบครัวธรรมอารี(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณจำ�ลอง Megyesy(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณมนัส แซนร์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณเกษม วงศา(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณสม Glass(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณกนกนุช อมรวงค์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณกิ่งกาญจน์ ซื่อสัตย์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณสุจิตรา เทียมเมืองแผน(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณเอกอนงค์ ศิทธิขำ�(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 Cathy Giselbach(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 Rungnapa Khanchalee(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 Phoc & Vilavan Vong and family(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 200.00 อ.จักรี-อ.จิตรลดา เชิงหอม และครอบครัว(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 350.00 คุณรัตนาภรณ์ น้ำ�ใส(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณอรพรรณ วิทยปรีชาอนันต์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณนิภาภัทร์ วัฒนสินธุ์ และครอบครัว(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 25.00 คุณแม่ยูร วัฒนสินธุ์(ทำ�บุญพิมพ์หนังสือวัด) $ 20.00 คุณนิภาภัทร์ วัฒนสินธุ์ และครอบครัว(ทำ�บุญซื้อที่ดินสร้างวัด) $ 50.00 Apinya Kunjara-Na-Ayudhya(ทำ�บุญซื้อที่ดินสร้างวัด) $ 300.00 Apinya Kunjara-Na-Ayudhya(ทำ�บุญอาหารพระสงฆ์) $ 100.00 Apinya Kunjara-Na-Ayudhya(ทำ�บุญถวายพระสงฆ์) $ 100.00 Avery and Aiysa Kunjara $ 35.87 Pusadee’s Garden(ทำ�บุญค่าน้ำ�ไฟ) $ 200.00 Bruce & Tasanee Kidd(ทำ�บุญวันวิสาขบูชา) $ 50.00 Gilbert P. Trujillo(ทำ�บุญวันวิสาขบูชา) $ 50.00 Jonh & Kasem Conroy, Jeannie Wongsa $ 30.00 Nakorn & Mayuree Apakupakul $ 100.00 PST 2013 Group C การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค $ 40.00 นายต้องพงศ์ ศรีบุญ และครอบครัว $ 20.00 นก-MJ Greg $ 20.00 ปิยาภรณ์-ริชาร์ด เป๊ปเปอร์ $ 10.00 คุณกิตติศักดิ์-สุนันทา หาญมงคลเลิศ(ทำ�บุญซื้อที่ดินวัด) $ 100.00 Kim Eng Hong $ 20.00 รายรับเดือนมิถุนายน 2556 Juntima Jirachertchoowong $ 100.00 พระธรรมโมลี เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ $ 100.00 นายต้องพงศ์ ศรีบุญ และสหายธรรม(สมทุบทุนซื้อที่ดินสร้างวัด) $ 1,155.04 พระมหาสุริยา อาภสฺสโร(แจ่มใส) $ 100.00 David & Wisitsee Monahan $ 100.00 ดร.เสาวคนธ์ จันทร์ผ่องศรี $ 100.00 คุณต้องพงศ์ ศรีบุญ และสหายธรรม $ 20.00 พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร $ 113.00 คณะศิษย์วัดไทย ดี.ซี. $ 170.00 มนัส(ดี) แซนร์(ทำ�บุญประกันสุขภาพพระ) $ 100.00 มนัส(ดี) แซนร์(ทำ�บุญคำ�น้ำ�ไฟ) $ 50.00
  • 17. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana28 29 Jim & Mam & Mae $ 50.00 Randall S.Musick & Vipada S. Musick $ 100.00 Somsong Fox $ 05.00 Jim & Mam Birmingham $ 50.00 พระครูสังฆรักษ์ดร.อำ�พล สุธีโร $ 100.00 โยมสาย แกศคิล $ 80.00 โยมน้อย ปราณี $ 50.00 Richard L. & Bualee Grasse $ 30.00 Bruce & Tasanee Kidd $ 50.00 ญาติธรรมวัดป่าสันติธรรม เวอร์จีเนีย(บำ�รุงค่าน้ำ�ไฟ) $ 80.00 แอ๋น สุพัต(ทำ�บุญค่าน้ำ�ไฟ) $ 20.00 พระอาจารย์วิญญู สิรญาโณ $ 100.00 John Wane $ 10.00 รายจ่ายเดือนเมษายน 2556 04/04/2013 Guardian Protection Services $ 31.95 04/04/2013 Aetna Insurance $ 257.00 04/17/2013 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ $ 641.99 04/18/2013 South Hills Ent Association $ 129.00 04/18/2013 Nationwide Insurance(Temple car) $ 90.00 04/18/2013 Verizon $ 54.54 04/18/2013 PWSA $ 40.00 04/18/2013 Peoples Natural Gas $ 320.00 04/01/2013 Property Tax $ 85.00 04/09/2013 ค่าตั๋วเครื่องบินกลับของอาจารย์ $ 435.80 04/11/2013 ค่าตั๋วรถบัสไปร่วมงานสงกรานต์ $ 66.00 04/24/2013 ซื้อแสตมป์ส่งจดหมาย $ 92.00 04/25/2013 ซื้อกล้องวัด $ 288.88 04/28/2013 Duquesne Light $ 100.00 04/30/2013 ซื้อถังน้ำ�ดื่ม 2 ถัง $ 13.98 รายจ่ายเดือนพฤษภาคม 2556 05/02/2013 ซื้ออาหารผลไม้ $ 21.44 05/04/2013 Aetna $ 09.00 05/06/2013 PWSA $ 63.00 05/06/2013 Nationwide $ 89.00 05/07/2013 Peoples Natural Gas $ 200.00 05/13/2015 ซื้ออุปกรณ์สำ�นักงาน $ 75.92 05/13/2013 เติมน้ำ�มันรถ $ 34.45 05/14/2013 Erie Insurance Group $ 97.00 05/14/2013 ค่าส่งวารสารวัด $ 168.96 05/15/2013 Verizon $ 54.54 05/16/2013 Guardian $ 63.90
  • 18. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana อนุโมทนาบุญ ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก วันจันทร์ Thai Cuisine, Thai Spoon ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์ วันอังคาร คุณคิม,คุณใจ วงศ์คำ�และเพื่อนๆ(อังคารที่ ๑ ของเดือน) วันพุธ คุณพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮม,คุณนีน่า โกลด์ และเพื่อน วันพฤหัสบดี คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนด์, คุณเจน ซูนัม, Thai Me Up Restaurant วันศุกร์ คุณสมทรง ฟ็อก และเพื่อนๆ วันเสาร์ คุณวิลาวรรณ วอง และครอบครัว, Thai Gourmet วันอาทิตย์ ญาติโยมทั้งหลายร่วมทำ�บุญ ถวายภัตตาหารเพล *หมายเหตุในแต่ละวันอาจจะมีญาติโยมทั้งหลายมาร่วมตามโอกาสจะ เอื้ออำ�นวย อันนะโท พะละโท โหติ วัตถะโท โหติ วัณณะโท ยานะโท สุขะโท โหติ ทีปะโท โหติ จักขุโท. ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำ�ลัง, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ, ผู้ให้ยาน พาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ 30 รายจ่ายเดือนมิถุนายน 2556 06/06/2013 PWSA $ 52.00 06/10/2013 Aetna $ 106.00 06/14/2013 Duquesne Light $ 72.00 06/16/2013 City & School district of Pittsburgh $ 319.53 06/19/2013 Guardian $ 31.95 06/22/2013 South Hills Ent Association $ 150.00 06/26/2013 Verizon $ 55.00 06/26/2013 ค่าน้ำ�มันรถ $ 29.73 06/30/2013 ค่าน้ำ�มันรถ $ 40.00 *** คณะสงฆ์ขออนุโมทนาบุญกับญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ เมือง พิทส์เบิร์กทุกท่านที่ช่วยกันต้อนรับพระเถรานุเถระและญาติโยมที่เดินทาง มาจากประเทศไทยและรัฐต่างๆ ด้วยความเสียสละเวลา ทรัพย์ และอื่น ขอให้ ทุกท่านเจริญรุ่งเรืองในธรรมของพระพุทธเจ้ายิ่งๆ ขึ้นไปตราบเท่าเข้าสู่พระ นิพพานคือการพ้นทุกข์ *** 31 ร้านอาหารสยามไทยโดยคุณจำ�เนียร,คุณสมศักดิ์นำ�้ใสพร้อมครอบครัว ทำ�บุญเปิดร้านโดยนิมนต์พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ เพื่อความเป็นสิริมงคล
  • 19. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana ประเพณีสงกรานต์ 2556 - Songkran Festival at BMCP 2013 ทำ�บุญวันวิสาขบูชา - Vesak Ceremony
  • 20. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana ประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา 2556 ทำ�บุญอายุวัฒนมงคล 88 ปีหลวงตาชี - Luang Ta Chi Birthday
  • 21. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana36 37 ขอเชิญร่วมทำ�บุญวันกตัญญูรู้พระคุณแม่ ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก วันเสาร์-อาทิตย์ที่ 10-11 สิงหาคม 2556 "พ่อแม่เป็นพระพรหม(ผู้สร้าง)ของบุตรธิดา" แม่เป็นผู้สร้างโลก โลก คือลูก แม่จึงเป็นบุคคลสำ�คัญที่สร้างสรรค์ให้ลูกที่เกิดมาเป็นคนดีหรือไม่ก็ได้ งานของแม่จึงเป็นภาระที่หนัก ไม่เคยจบจนกระทั่งวันตาย เนื่องในเทศกาลวัน กตัญญูรู้พระคุณแม่ ทางวัดจึงเปิดโอกาสให้ทุกท่านได้ร่วมทำ�บุญระลึกถึงพระ คุณแม่ ดังนี้ วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม 2556 เวลา 17.00 น. ร่วมทำ�วัตรเย็น-เจริญจิตภาวนา เวลา 18.30 น. พักดื่มน้ำ�ชา-กาแฟ เวลา 19.00 น. เจริญพระพุทธมนต์ “ชยมงคลคาถา” (อิติปิ โส 81 จบ) เวลา 20.00 น. สนทนาธรรม รับพร เป็นอันเสร็จพิธี วันอาทิตย์ที่ 11 สิงหาคม 2556 เวลา 10.15 น. จุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย, ร่วมกันสวดมนต์, สมาทานศีล ๕ พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์, ญาติโยมตักบาตรข้าวสุก, เวลา 10.45 น. ถวายภัตตาหารเพล, แสดงธรรมเรื่องพระคุณแม่, พิจารณาฉันเพล เวลา 12.00 น. ญาติโยมร่วมกันรับประทานอาหาร เวลา 12.30 น. เจริญจิตภาวนาบูชาพระคุณแม่ ในสากลโลก (5-10 นาที) รับของที่ระลึก เป็นอันเสร็จพิธี Mother’s Day Celebration ****** What : Mother's Day Celebration, the day which we come to show our gratitude towardmotherwhoisveryimportant person.In Buddhism the Buddha called mother and father as the creator or Bhraman, the supreme god in his time. Where : Wat Padhammaratana, 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207 When : August 10-11, 2013. 9.30 am – 12.00 pm., Free to the public Info : (412)521-5095, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts Schedule Saturday, August 10, 2013 05.00 p.m. Meditation-Evening Chanting 06.30 p.m. Tea Break 07.00 p.m. Parita Chanting (Itipi So 81 times) 08.00 p.m. Dhamma Discussion, Blessing, the end Sunday, August 11, 2013 10.15 a.m. Light the candle, group-chanting, request five precepts, the monk chants 10.45 a.m. Lunch served to the Venerable monk and Dhamma talk 12.00 a.m. Lunch served to the congregation 12.00 a.m. Meditation for mothers (5-10 minutes), receive the gift by Venerable monk, Group-Picture, the program closed. ******
  • 22. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana38 47 All are cordially invited to participate in the meditation programs and Buddhist activities at Wat Padhammaratana(The Buddhist Meditation Centre of Pittsburgh) Activity Day Time 1. Chanting Daily Morning and Evening 05.30 - 6.30 a.m. 5.30 - 6.30 p.m. 2. Dhamma Talk Daily Morning 10.45 - 11.15 a.m. 3.Buddhist Study(Thai) Every Sunday 01.00 - 03.00 p.m. 4. Meditation(English) Every Saturday 03.00 - 05.00 p.m. All activities will be held at the upper or lower level of the temple. For further infor- mation, please contact Wat Padhammaratana, PA. Tel.412-521-5095, E-mail : bmcpitts@hotmail.com, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts - To serve as a Buddhism promotion center in the U.S. - To serve as a meditation center in Pittsburgh - To promote virtues, Buddhist cul- ture and traditions - To be a center of all Buddhists, regardless of nationalities OBJECTIVES กิจกรรมในแต่ละเดือน ปี 2556 วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก ทำ�บุญวันขึ้นปีใหม่ วันอังคารที่ 1 มกราคม 2556 ทำ�บุญวันมาฆบูชา วันอาทิตย์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2556 ปฏิบัติธรรมประจำ�เดือน วันที่ 15-17 เมษายน 2556 ทำ�บุญวันสงกรานต์ วันอาทิตย์ที่ 7 เมษายน 2556 ทำ�บุญวันวิสาขบูชา วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม 2556 ร่วมทำ�บุญวันเกิด 88 ปี หลวงตาชี วันอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน 2556 ทำ�บุญวันเข้าพรรษา วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2556 บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน วันที่ 4-11 สิงหาคม 2556 ปฏิบัติธรรมวันสารท วันที่ 13 - 15 กันยายน 2556 ทำ�บุญวันออกพรรษา วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม 2556 ทำ�บุญทอดกฐิน วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน 2556 ทำ�บุญวันพ่อแห่งชาติ วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม 2556 ปฏิบัติธรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ วันอังคารที่ 31 ธันวาคม 2556 RELIGIOUS CEREMONY 2013 WAT PADHAMMARATANA New Year Celebration Tuesday, January 1, 2013 Makhapuja Ceremony Sunday, February 24, 2013 Meditation Retreat March 15-17, 2013 Songkran Festival Sunday, April 7, 2013 Visaka Puja Ceremony Sunday, May 19, 2013 Luangta Chi's Birthday Sunday, June 9, 2013 Asalha Puja & Rains-retreat Ceremony Sunday, July 21, 2013 Novice Summer Camp August 4-11, 2013 Sart Meditation Retreat September 13-15, 2013 Rains-retreat ending Ceremony Sunday, October 20, 2013 Kathina Ceremony Sunday, November 10, 2013 Meditation Retreat Tuesday, December 31, 2013