SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  44
หอสมุด  24  ชม .
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คิดถึง ศิลปากร
ถ้อยแถลงจากใจ เจ้าหน้าที่หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ที่มาอยู่เวรดูแลความเรียบร้อยในแต่ละคืน  มากกว่าเก้าสิบเปอร์เซ็นอายุมากกว่าสี่สิบปีที่ต้องอดนอน  ต้องละครอบครัว บางคนมีโรคประจำตัว บางคนต้องดูแลพ่อแม่ที่อายุมากกว่าเจ็ดสิบปี บางคนต้องดูแลลูกที่ยังไม่ถึงขวบ บางคนต้องให้ลูกวัยมัธยมต้นอยู่ตามลำพัง บางคนต้องตามญาติมาดูแลลูกเพราะต้องมาทำหน้าที่การทำงานที่เปลี่ยนจากกลางวันมาเป็นกลางคืน  ค่าตอบแทนคือเงินจำนวนหนึ่งร้อยบาท ดังนั้นเรื่องเล็กๆน้อยๆ ขอทุกคนได้โปรดปฏิบัติตามที่แจ้ง รวมถึงเรื่องที่ไม่แจ้งแต่ด้วยวิจารณญาณของท่าน เชื่อว่าน่าจะพิจารณาได้เพราะทุกคนต่างนับถอยหลังรอเวลาเช้าแปดโมงครึ่งของวันถัดไป เพื่อหาความอบอุ่นที่บ้าน การอยู่ด้วยกันอย่างเคารพสถานที่ หน้าที่และความเป็นมนุษย์ซึ่งกันและกัน น่าจะดีที่สุด หวังว่าเทอมนี้น่าจะเรียบร้อยมากกว่าเทอมก่อนๆ
  มิติใหม่ของการพัฒนา ห้องสมุดให้มีชีวิต
ด้วยความเป็นห่วงระบบการศึกษาที่พบว่าคนไทยอ่านหนังสือน้อยมาก  เฉลี่ยคนละ  8  บรรทัดต่อปี  กระทรวงวัฒนธรรมจึงจัดให้มีการสัมมนาเพื่อขอความร่วมมือให้ทุกคนกล้ามาใช้บริการและเพิ่มอัตราการอ่านให้มากขึ้น  ซึ่งจะก่อให้เกิดห้องสมุดสามารถใช้เป็นที่ปรึกษาหารือและทำการบ้านในห้องสมุดที่มีอากาศเย็นสบายและเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นความพยายามที่จะเข้าถึงชุมชนโดยสร้างห้องสมุดให้เหมือนศูนย์การค้าที่น่าเข้าไปใช้บริการและมีเทคโนโลยีเพื่อให้เด็กสามารถเล่นเกมที่ง่ายละมุนละม่อมก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์นอกจากนี้ก็หวังการจัดให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมจากภูมิปัญญาชาวบ้านมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนส่งเสริมการมีความรู้คู่คุณธรรม
จึงได้มีการวางแผนจัดตั้งหอสมุดรูปแบบใหม่โดยเป็นช่วงทดลองทำเพื่อให้เยาวชนมีสถานที่เรียนรู้  ซึ่งสถานที่นำร่องได้แก่ ห้างสรรพสินค้าจำนวน  1   แห่ง ศูนย์การค้าสี่มุมเมืองจำนวน  1  แห่ง และที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบลจำนวน  50   แห่ง รูปแบบห้องสมุดมิติใหม่ดังกล่าวได้แนวคิดจากการดูงานห้องสมุดในประเทศสิงคโปร์เป็นห้องสมุดในฝันที่อยากเข้าไปใช้  หลักการทำห้องสมุดมิติใหม่คือ การสร้างให้เกิดความเร้าใจเพื่อเชิญชวนให้เข้ามาก่อน จากนั้นจึงมีเรื่องการอ่านตามมาเหมือนบริการที่เด็กสามารถอ่านหนังสือได้เป็นเวลานานจากร้านค้าเป็นการทดลอง ว่าจะมีคนมาใช้บริการการอ่านเพิ่มขึ้นหรือไม่
กลยุทธ์ในการดำเนินงานห้องสมุดมิติใหม่   :   ห้องสมุดมิติใหม่ไม่จำกัดความรู้เฉพาะในหนังสือสิ่งพิมพ์และซีดีรอม  แต่ยังได้จากสภาพแวดล้อมทั้งปวง รวมไปถึงโบราณสถาน โบราณวัตถุในทุกยุคสมัย เอกสารจดหมายเหตุ รวมไปถึงการเรียนรู้จากภูมิปัญญาในท้องถิ่นตนเองคือจากผู้เฒ่า  เป็นภูมิปรัชญาที่สามารถรองรับนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยไม่เหลื่อมล้ำกัน  แหล่งเรียนรู้จึงต้องสร้างในลักษณะ  Discovery center   ที่เข้ามาใช้แล้วพบว่ามีแต่ของแปลกตา ที่ยังไม่เคยรู้ ควบคู่ไปกับหลักจิตวิทยา
จากการศึกษางานที่ห้องสมุดมิติใหม่ในประเทศสิงคโปร์  มีห้องสมุดที่ทันสมัย  ห้องสมุดที่แนะนำมีลักษณะดังนี้  Woodlands Regional Library   ลักษณะตัวอาคารไม่เหมือนห้องสมุด ผู้ยืมสามารถใช้บัตรประชาชนแทนบัตรสมาชิก มีไปรษณีย์ที่รับฝากหนังสือเพื่อส่งต่อไปยังห้องสมุดอื่นมีห้องสมุดสัมมนาย่อยที่มีอุปกรณ์ครบพร้อมให้บริการมีระบบค้นคืนรายการทรัพยากรสารสนเทศระบบอัตโนมัติ ซึ่งจัดทำเป็น   2   ระดับ ที่เหมาะสำหรับเด็กและผู้ใหญ่ Livrary @orchard   ตั้งอยู่ในห้างสรรพสินค้าที่อยู่ใจกลางเมืองของประทศ เพื่อทำให้เป็นแหล่งนัดพบเพื่อน และนัดกันมาฟังเพลงหรืออ่านหนังสือ มีระบบรับส่งที่แยกไว้ในห้องสมุด
ศูนย์วัฒนธรรมกลาง   ใช้แสดงข้อมูลและศิลปะการแสดงทุกแขนงเพื่อให้ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ทุกแบบ สิ่งที่นำมาติดตามผนังคืภาพสามมิติที่คัดลอกมาจากตัวเล่มหนังสือ หากผู้ใดสนใจ จะทำให้อยากค้นหาเพิ่มเติม Library Service Center   เป็นสถาบันที่ดำเนินการโดยรับฟังความเห็นจากระดับล่างขึ้นไป  เป็นถาบันที่เชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่นตามรูปลักษณ์เดิมของท้องถิ่นและเข้าถึงการศึกษาในระบบบูรณาการเด็กสามารถมาอ่านเขียนและจัดทำเอกสารไว้ในห้องสมุดได้ด้วย
แนวคิดห้องสมุดในอนาคต จากการสัมมนาคิดว่าห้องสมุดในอนาคตต้องบริหารจัดการดำเนินงานห้องสมุดให้สอดคล้องกับค่านิยมสมัยใหม่และเหมาะสมกับผู้ใช้บริการรวมทั้งส่งเสริมให้มีบริการหรือจัดกิจกรรมเพื่อสร้างค่านิยมและพฤติกรรมที่ดีในครอบครัวสร้างสังคมการอ่านโดยใช้ศิลปินหรือดาราเป็นต้นแบบหรือตัวอย่างทำห้องสมุดให้เหมือน ศูนย์การค้าที่เป็นเสมือนบ้านหลังที่   2   ของเด็กและเยาวชน
เปิด  24   ชั่วโมงจริงๆด้วยนะเออ ! เมื่อ  23   ปีที่ผ่านมาใน พ . ศ . 2522   หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้เปิดให้บริการจนถึง   4   ทุ่ม ถือว่าเป็นห้องสมุดที่มีระยะเวลาการให้บริการที่ยาวนานมากเป็นพิเศษเราจึงค่อนข้างหงุดหงิดนักหนา หากมีคนที่ชอบเหมารวมว่าห้องสมุด ชอบปิดตามเวลาราชการ ทั้งที่ความจริงไม่ได้เป็นอย่างนั้น เพราะปัจจุบันห้องสมุดมหาวิทยาลัยเปิดมากกว่าวันละ  8   ชั่วโมงทั้งสิ้น ชนิดที่ต้องอาศัยสโลแกนโฆษณายอดฮิตเมื่อ  20  ปีก่อนว่า ตั้งแต่คุณปู่เป็นแฟนกับคุณย่า และถึงแม้จะมีห้องสมุดแบบที่เขาว่านั้นอยู่บ้างก็คงต้องสดับฟังเหตุผลของเขาอยู่บ้าง
เมื่ออินเทอร์เน็ตเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น จากห้องสมุดที่เราคุ้นเคยกลายเป็น   E-library   พัฒนาเป็น   digital library   จากหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ก็ต้องมี  E นำหน้าทั้งสิ้น และนี่คือเสน่ห์ของการเป็นบรรณารักษ์ ที่มักบอกกับมิตรสหายว่าทำไมชอบอาชีพนี้เพราะว่าเราทำงานในหน่วยงานที่ไม่เคยหยุดนิ่งและเป็นหนุ่มสาวนสมัย ดังนั้นอินเทอร์เน็ตที่ใครหลายคนเคยบอกว่าจะมาลดบทบาทห้องสมุดลงก็กลับกลายมาเป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกและกลายเป็นสิ่งที่เสริมให้ห้องสมุดมีบทบาทโดดเด่นมากยิ่งขึ้น   โดยเฉพาะเมื่อเราได้ท่านผู้นำประเทศที่คิดใหม่ทำใหม่ และก็ไม่ผิดหวังเพราะท่านของเรามีไอเดียเก๋ๆออกมา แต่เสียดายที่ไม่ใช่ หนึ่งในโครงการเอื้ออาทร หากเป็นแนวคิดของการพัฒนาห้องสมุดให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต
e-Library, e-Books, e-Journals, online database   ก็มีแล้ว แต่ผู้ใช้ของเราเป็นผู้ใช้ที่ไม่มี  E   นำหน้า ผุ้คนส่วนใหญ่ยังเลือกที่จะซื้อมือถือมากกว่าคอมพิวเตอร์ ไม่ผิดที่ส่วนใหญ่เลือกเช่นนั้น ในเมื่อทั้งดาราและความสะดวกสบายของการพกพาคอมพิวเตอร์แตกต่างจากโทรศัพท์มือถือการขจัดข้อจำกัดของเวลาด้วยการเปิด  24   ชั่วโมง ในหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ หรือการเปิดให้บริการจำนวน  333   วัน ใน  1  ปี อาจมองว่าเป็นการตีความของคำว่าห้องสมุดมีชีวิตที่ผิดเพี้ยน คำถามของเราก็คือหากเราไม่เปิดบริการห้องสมุดในระยะเวลายาวนานเช่นนี้ แล้วผู้ใช้ของเราจะไปที่ไหนในเมื่อเขาใช้ชีวิตตั้งแต่ เช้าจรดค่ำภายในมหาวิทยาลัยหรือชุมชนแถวนี้
บริการที่จัดให้   24   ชั่วโมง จัดไว้ที่ห้อง  Self Access Center  ชั้น   1   อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประกอบด้วย ที่นั่งอ่านเดี่ยวและอ่านกลุ่ม ห้องดูวิดีโอ ห้องมัลติมีเดีย  โต๊ะสำหรับโน๊ตบุ๊ค ที่นั่งสำหรับฟังเทปและซีดี บริการอินเทอร์เน็ต  ฐานข้อมูลทั้งออนไลน์ และซีดีรอม  หนังสือพิมพ์  นิตยสาร  โดยมีบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ดูแล  และให้บริการตลอดเวลาตีหนึ่งของทุกวันมีการฉายภาพยนตร์โดยใช้ชื่อว่า  Movie @ morning
การให้บริการ  ณ  ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตัวเอง หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์  สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์  สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร  ได้เปิดให้บริการศูนย์การเรียนรู้  ด้วยตนเองขึ้นภายในหอสมุด ตั้งแต่วันที่  1   พฤศจิกายน  2544  จนถึงปัจจุบัน  โดยจัดให้มีบริการต่างๆ ได้แก่  บริการอินเตอร์เน็ต บริการห้องมัลติมีเดีย ห้องฉายวีดีทัศน์  บริการฐานข้อมูล  บริการที่นั่งอ่าน  บริการหนังสือพิมพ์รายวัน  นิตยสารบันเทิง  บริการสำหรับใช้คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค  นอกจากนี้หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ได้จัดให้ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าตลอด  24   ชั่วโมง ในช่วงก่อนสอบถึงสอบเสร็จเป็นเวลา  1   เดือน  ซึ่งนับได้ว่าหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์เป็นห้องสมุดแห่งแรกในประเทศไทยที่เปิดให้บริการตลอด  24  ชั่วโมง
วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาการใช้บริการภายในศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ทั้งในช่วงเวลาปกติ และช่วงเปิดให้บริการ  24  ชั่วโมง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลการศึกษาสามารถนำมาพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการต่างๆภายในศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์
ส่วนที่  1  ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม   1.1  จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามคณะวิชา  จากการแจกแบบสอบถามจำนวนทั้งสิ้น  370  ฉบับ ให้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ผู้เข้าใช้บริการในหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ปรากฏว่าได้รับแบบสอบถามกลับคืน และสามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูลได้จำนวน  325  ฉบับ หรือคิดเป็นร้อยละ  87.84  ของจำนวนแบบสอบถามที่แจกไปทั้งหมด
คณะวิชา แบบสอบถามที่ได้รับคืน จำนวน ร้อยละ คณะอักษรศาสตร์ 129 39.69 คณะศึกษาศาสตร์ 49 15.08 คณะวิทยาศาสตร์ 67 20.61 คณะเภสัชศาสตร์ 13 4.00 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 54 16.62 คณะสัตวศาสตร์ 10 3.08 อื่นๆ 3 0.92 รวม 325 87.84 ตารางที่  1   จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามคณะวิชา
[object Object],[object Object],[object Object]
ตารางที่  2   จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม  จำแนกตามความถี่ในการใช้บริการ ความถี่ในการมาใช้บริการ นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม ( N=291 ) จำนวน ร้อยละ ทุกวัน 17 5.84 สัปดาห์ละ  1  ครั้ง 67 23.03 สัปดาห์ละ  2-3  ครั้ง 93 31.96 เดือนละครั้ง 55 18.90 ไม่เคยมาใช้เลย 59 20.27 รวม 291 100.00
[object Object]
ตารางที่  3   จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามช่วงเวลาที่มาใช้บริการ ช่วงเวลาที่มาใช้บริการ นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม  ( N=232 ) จำนวน ร้อยละ 8.30 -12.00  น . 12 5.17 12.00 - 16.00  น . 80 34.48 16.00 - 20.00  น . 103 44.40 20.00 - 22.00  น . 37 15.95 รวม 232 100.00
ส่วนที่  2   ความพึงพอใจในการใช้บริการที่ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง จากนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยมาใช้บริการจำนวน  232  คน พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจในการใช้บริการอินเตอร์เน็ต บริการห้อง  Sound Lab บริการที่นั่งอ่าน  บริการเครื่องฟังซีดี  บริการเครื่องฟังเทปบันทึกเสียง  บริการนิตยสารบันเทิง  บริการพิมพ์ผลลงกระดาษ /   บันทึกลงแผ่นดิสก์  บริการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลโดยบรรณารักษ์และบริการสืบค้น /   แนะนำแหล่งข้อมูล /  ตอบคำถาม  ตามตารางที่  4  ต่อไปนี้
ประเภทของบริการ ระดับความพึงพอใจ ไม่เคยใช้บริการ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ -   บริการอินเตอร์เน็ต 32 13.79 97 41.81 75 32.33 14 6.04 2 0.86 12 5.17 -  บริการห้องฉายวีดีทัศน์ 6 2.59 49 21.12 72 31.03 7 3.02 4 1.72 94 40.52 -  บริการห้อง  Sound Lab 6 2.59 49 21.12 66 28.45 12 5.17 6 2.59 93 40.08 -  บริการที่นั่งอ่าน 43 18.53 110 47.41 59 25.43 13 5.61 2 0.86 5 2.16 -  บริการเครื่องฟังซีดี 5 2.16 56 24.14 57 24.56 19 8.19 6 2.59 89 38.36 -  บริการเครื่องฟังเทปบันทึกเสียง 5 2.16 52 22.41 57 24.56 18 7.76 8 3.45 92 39.66 -  บริการหนังสือพิมพ์รายวัน 56 24.14 95 40.95 65 28.02 4 1.72 - - 12 5.17 -  บริการนิตยสารบันเทิง 17 7.33 82 35.34 82 35.34 11 4.75 1 0.43 39 16.81 -  บริการฐานข้อมูล 17 7.33 82 35.34 82 35.34 11 4.75 1 0.43 39 16.81 -  บริการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลโดยบรรณารักษ์ 13 5.61 62 26.72 73 31,46 14 6.04 3 1.29 67 28.88 -  บริการแนะนำการสืบค้นข้อมูล /   แนะนำแหล่งข้อมูล  /   ตอบคำถาม 13 5.61 53 22.84 74 31.90 17 7.33 3 1.29 72 31.03 -  บริการพิมพ์ผลลงกระดาษ  / บันทึกลงแผ่นดิสก์ 7 3.02 40 17.24 59 25.43 15 6.47 5 2.16 106 45.68 ตารางที่  4   ความพึงพอใจในการใช้บริการต่างๆ
ตารางที่  5   จำนวนนักศึกษาที่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับช่วงเวลาการเปิดให้บริการที่   เหมาะสม ช่วงเวลาที่เหมาะสม นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม (N=31) จำนวน ร้อยละ 22.00  น .-24.00  น . 15 48.39 22.00  น .-03.00  น . 7 22.58 22.00  น . -06.00  น . 9 29.03 รวม 31 100.00
3.5  สถานที่ที่เหมาะสมสำหรับการเปิดให้บริการหลังเวลา  22.00  น . จากจำนวนนักศึกษาทั้งหมด  325  คน พบว่า จำนวน  134  คน  ( ร้อยละ  41.23)   เห็นว่า สถานที่ที่เหมาะสม คือ ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง  ( ชั้น  1 )  อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล จำนวน  102  คน  ( ร้อยละ  31.38 )  เห็นว่า ควรเปิดที่อาคารหอสมุด  ( ชั้น  1-4)  และจำนวน  89  คน  ( ร้อยละ  27.39)  เห็นว่า ควรเปิดที่อาคารหอสมุด  ( ชั้น 1-3)
ตารางที่  6   จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับการเปิดให้บริการหลังเวลา  22.00  น . สถานที่ นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม  ( N=325) จำนวน ร้อยละ ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง 134 41.23 อาคารหอสมุด  ( ชั้น  1-3) 89 27.39 อาคารหอสมุด  ( ชั้น   1-4) 102 31.38 รวม 325 100.00
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
บัญญัติ  15  ประการ
1.  ต้องการใช้เสียงในการติวหรือ อ่านออกเสียงขอให้ไปใช้ที่ห้องอ่านชั้น   4 2.  ทำตัวให้เป็นนิสัยด้วยการเปิดแล้วยกกระเป๋า ประกาศตัว  (declare)  ให้เจ้าน่าที่ดู ส่วนอาหารหากนำมาให้ฝากเจ้าหน้าที่หากพบจะยึดไว้แล้วไม่คืน ส่วนที่ฝากเมื่อจะไปพักด้านนอกหรือกลับค่อยมารับแต่พอเช้าแล้วไม่ต้องมา
3.  บัตรนักศึกษา บัตรเล็กๆ เพียงบัตรเดียวต้องนำมา เพราะการพูดว่าลืม พูดง่าย แต่เสียเวลาของตัวเองและเจ้าหน้าที่ เสียดายกระดาษเสียดายปากกา การเข้มงวดเพราะต้องการดูและและรักษาความปลอดภัย 4.  บัตรนักศึกษาของใครก็ของใคร ไม่ต้องไปให้ใครๆใช้ หากตรวจพบทุกอย่างจะบันทึกไว้ในประวัติของท่าน
5.  เพื่อนจากสถาบันอื่นอยู่ได้ถึงสี่ทุ่ม หอสมุดฯ เห็นใจท่าน แต่มีความจำเป็นต้องใช้กฎเหล็กนี้จำกัดพื้นที่ให้สมาชิกของมหาวิทยาลัยศิลปากร ถึงแม้จะเห็นว่าบางเวลามีพื้นที่ว่างอยู่ คำตอบยังคงเดิมว่าไม่
[object Object],[object Object]
6.2   คอมพิวเตอร์ ไม่ทิ้งไว้เช่นกัน จะไปเข้าห้องน้ำ ไปหาหนังสือต้องฝากเพื่อนที่ไว้ใจได้ 6.3  เงินทอง ไม่ต้องพกมามาก  สักห้าสิบบาทก้อพอสำหรับเป็น  ค่ามาม่ารอบดึก เอาไว้ที่หอกลัว  จะหายอีกก็ใส่กระเป๋าให้มิดชิด  เช่นมีซิปรูดปากกระเป๋า ไปไหน  ก็สะพายไปหรือต้องฝากเพื่อน  ที่ไว้ใจได้เช่นกัน
7. การใช้ที่นั่งอ่านหนังสือไม่ ต้องจองให้เพื่อน ฝึกให้รู้จัก คำว่า  first come first serve เพราะทุกคนมีสิทธิ์ที่จะใช้ เหมือนกัน อย่าไปลิดรอน สิทธิของเพื่อนที่ไม่รู้จักไป ให้เพื่อนที่รู้จัก
8. หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์  จัดบริการ  24  ชั่วโมง ไว้เพื่อให้  สมาชิกของมหาวิทยาลัยศิลปากร  ให้เป็นที่สำหรับศึกษาหาความรู้  จึงไม่ใช่พื้นที่สำหรับการแอบ  รับประทานอาหาร เมื่อหิวปัญญาชน  คนขยันรู้อยู่แล้วว่าต้องไปที่ไหน
10. นักศึกษาที่ถูกลิดรอนสิทธิ์ เช่น เสียงดัง จองที่นั่งอ่าน จะต้องลุกขึ้นมาต่อสู้กับผู้ที่ไม่เคารพสิทธิของผู้อื่น 9. เครื่องปรับอากาศเปิดไว้ที่  25  องศาเซลเซียส จะร้อนหรือจะเย็นไม่มีการปรับใดๆทั้งสิ้นเนื่องจากเป็นเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ที่มีค่าบำรุงรักษาสูง และโลกของเราขณะนี้มีทั้งร้อน หนาวและเย็นในวันเดียวกัน สมาชิกของมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงต้องดูแลตัวเองแต่งและเตรียมเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมและเคารพสถานที่
11. ชาร์จไฟแต่พอดี อย่าคิดว่าต้องใช้ให้คุ้มหากคิดกันแบบนี้แล้วใช้กันจนไฟโหลดขึ้นก็จะยุ่ง
12. เวลาไฟดับ พยายามอยู่อย่างสงบ สักพัก ตามสถิติพบว่าจะหยุด มากที่สุดประมาณครึ่งชั่วโมง  ใช้สติรวบรวมสมบัติของ ตนเองก่อนลุกจากที่นั่ง 13.   จงลด ละ เลิก  ความอยากมีอยากได้ ให้เหมือนคนอื่น  กระเป๋าเงิน  iPhone  ipod  Nokia  Netbook  Blackberry   Apple  เสื้อคลุม กระทั่งคอมพิวเตอร์
14. ปลั๊กที่เสียบอุปกรณ์ต่างๆ  ของหอสมุดฯ ห้ามดึงออก  แล้วไปชาร์ตแบตของท่าน  เด็ดขาด อุปกรณ์พวกนี้ต้อง  ทำงานตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง  อย่าเห็นเป็นเรื่องเล็กน้อย  อย่าสะสมความเห็นแก่ตัว 15. บางช่วงหอสมุดฯ  ต้องปิดเครื่องปรับอากาศ  พัดลมมีจำกัด  หากคุณรู้สึกว่าร้อน  เพื่อนก็คงร้อน  ก็แค่กดให้พัดลมส่ายไปมา
1.  น . ส .  จุฑามาศ  เชื้อดี  รหัสนักศึกษา   07510044 2.  น . ส .  ปวีนา วิชนี  รหัสนักศึกษา   07510072 3.  น . ส .  ยุฑามาศ  วงษะ   รหัสนักศึกษา   07510083 4.  น . ส .  ลัดดาวรรณ  เพชรอาวุธ  รหัสนักศึกษา   07510087 5.  น . ส .  ศิริวรรณ  ฤกษ์ชัย  รหัสนักศึกษา   07510096 6.  น . ส . สิราวรรณ สาสุข  รหัสนักศึกษา  07510098 7.   น . ส .  พัชรีพร สุนทรรัตน์  รหัสนักศึกษา  07510020 8.  น . ส .  พรชนก ทองสุวรรณ  รหัสนักศึกษา   09511012 9.  น . ส .  วีรนุช ชินวงศ์  รหัสนักศึกษา   09511035 10.  น . ส .  อมราวดี อรุณศรี  รหัสนักศึกษา   09511065 รายชื่อสมาชิก

Contenu connexe

Similaire à หอสมุด 24 ชั่วโมง

โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย Nawakhun Saensen
 
library services 57 full ปตรี
library services 57 full ปตรีlibrary services 57 full ปตรี
library services 57 full ปตรีTan Supawan
 
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเองไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเองBiobiome
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
วิจิตรศิลป์ + 50ปี
วิจิตรศิลป์ + 50ปีวิจิตรศิลป์ + 50ปี
วิจิตรศิลป์ + 50ปีTan Supawan
 
พื้นฐานชีวิต 1.pptx
พื้นฐานชีวิต 1.pptxพื้นฐานชีวิต 1.pptx
พื้นฐานชีวิต 1.pptxSunnyStrong
 

Similaire à หอสมุด 24 ชั่วโมง (9)

ทักษะการขอความช่วยเหลือ
ทักษะการขอความช่วยเหลือทักษะการขอความช่วยเหลือ
ทักษะการขอความช่วยเหลือ
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
ทักษะการบอกความต้องการ
ทักษะการบอกความต้องการทักษะการบอกความต้องการ
ทักษะการบอกความต้องการ
 
library services 57 full ปตรี
library services 57 full ปตรีlibrary services 57 full ปตรี
library services 57 full ปตรี
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเองไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
วิจิตรศิลป์ + 50ปี
วิจิตรศิลป์ + 50ปีวิจิตรศิลป์ + 50ปี
วิจิตรศิลป์ + 50ปี
 
พื้นฐานชีวิต 1.pptx
พื้นฐานชีวิต 1.pptxพื้นฐานชีวิต 1.pptx
พื้นฐานชีวิต 1.pptx
 

หอสมุด 24 ชั่วโมง

  • 2.
  • 3. ถ้อยแถลงจากใจ เจ้าหน้าที่หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ที่มาอยู่เวรดูแลความเรียบร้อยในแต่ละคืน มากกว่าเก้าสิบเปอร์เซ็นอายุมากกว่าสี่สิบปีที่ต้องอดนอน ต้องละครอบครัว บางคนมีโรคประจำตัว บางคนต้องดูแลพ่อแม่ที่อายุมากกว่าเจ็ดสิบปี บางคนต้องดูแลลูกที่ยังไม่ถึงขวบ บางคนต้องให้ลูกวัยมัธยมต้นอยู่ตามลำพัง บางคนต้องตามญาติมาดูแลลูกเพราะต้องมาทำหน้าที่การทำงานที่เปลี่ยนจากกลางวันมาเป็นกลางคืน ค่าตอบแทนคือเงินจำนวนหนึ่งร้อยบาท ดังนั้นเรื่องเล็กๆน้อยๆ ขอทุกคนได้โปรดปฏิบัติตามที่แจ้ง รวมถึงเรื่องที่ไม่แจ้งแต่ด้วยวิจารณญาณของท่าน เชื่อว่าน่าจะพิจารณาได้เพราะทุกคนต่างนับถอยหลังรอเวลาเช้าแปดโมงครึ่งของวันถัดไป เพื่อหาความอบอุ่นที่บ้าน การอยู่ด้วยกันอย่างเคารพสถานที่ หน้าที่และความเป็นมนุษย์ซึ่งกันและกัน น่าจะดีที่สุด หวังว่าเทอมนี้น่าจะเรียบร้อยมากกว่าเทอมก่อนๆ
  • 4. มิติใหม่ของการพัฒนา ห้องสมุดให้มีชีวิต
  • 5. ด้วยความเป็นห่วงระบบการศึกษาที่พบว่าคนไทยอ่านหนังสือน้อยมาก เฉลี่ยคนละ 8 บรรทัดต่อปี กระทรวงวัฒนธรรมจึงจัดให้มีการสัมมนาเพื่อขอความร่วมมือให้ทุกคนกล้ามาใช้บริการและเพิ่มอัตราการอ่านให้มากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดห้องสมุดสามารถใช้เป็นที่ปรึกษาหารือและทำการบ้านในห้องสมุดที่มีอากาศเย็นสบายและเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นความพยายามที่จะเข้าถึงชุมชนโดยสร้างห้องสมุดให้เหมือนศูนย์การค้าที่น่าเข้าไปใช้บริการและมีเทคโนโลยีเพื่อให้เด็กสามารถเล่นเกมที่ง่ายละมุนละม่อมก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์นอกจากนี้ก็หวังการจัดให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมจากภูมิปัญญาชาวบ้านมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียนส่งเสริมการมีความรู้คู่คุณธรรม
  • 6. จึงได้มีการวางแผนจัดตั้งหอสมุดรูปแบบใหม่โดยเป็นช่วงทดลองทำเพื่อให้เยาวชนมีสถานที่เรียนรู้ ซึ่งสถานที่นำร่องได้แก่ ห้างสรรพสินค้าจำนวน 1 แห่ง ศูนย์การค้าสี่มุมเมืองจำนวน 1 แห่ง และที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบลจำนวน 50 แห่ง รูปแบบห้องสมุดมิติใหม่ดังกล่าวได้แนวคิดจากการดูงานห้องสมุดในประเทศสิงคโปร์เป็นห้องสมุดในฝันที่อยากเข้าไปใช้ หลักการทำห้องสมุดมิติใหม่คือ การสร้างให้เกิดความเร้าใจเพื่อเชิญชวนให้เข้ามาก่อน จากนั้นจึงมีเรื่องการอ่านตามมาเหมือนบริการที่เด็กสามารถอ่านหนังสือได้เป็นเวลานานจากร้านค้าเป็นการทดลอง ว่าจะมีคนมาใช้บริการการอ่านเพิ่มขึ้นหรือไม่
  • 7. กลยุทธ์ในการดำเนินงานห้องสมุดมิติใหม่ : ห้องสมุดมิติใหม่ไม่จำกัดความรู้เฉพาะในหนังสือสิ่งพิมพ์และซีดีรอม แต่ยังได้จากสภาพแวดล้อมทั้งปวง รวมไปถึงโบราณสถาน โบราณวัตถุในทุกยุคสมัย เอกสารจดหมายเหตุ รวมไปถึงการเรียนรู้จากภูมิปัญญาในท้องถิ่นตนเองคือจากผู้เฒ่า เป็นภูมิปรัชญาที่สามารถรองรับนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยไม่เหลื่อมล้ำกัน แหล่งเรียนรู้จึงต้องสร้างในลักษณะ Discovery center ที่เข้ามาใช้แล้วพบว่ามีแต่ของแปลกตา ที่ยังไม่เคยรู้ ควบคู่ไปกับหลักจิตวิทยา
  • 8. จากการศึกษางานที่ห้องสมุดมิติใหม่ในประเทศสิงคโปร์ มีห้องสมุดที่ทันสมัย ห้องสมุดที่แนะนำมีลักษณะดังนี้ Woodlands Regional Library ลักษณะตัวอาคารไม่เหมือนห้องสมุด ผู้ยืมสามารถใช้บัตรประชาชนแทนบัตรสมาชิก มีไปรษณีย์ที่รับฝากหนังสือเพื่อส่งต่อไปยังห้องสมุดอื่นมีห้องสมุดสัมมนาย่อยที่มีอุปกรณ์ครบพร้อมให้บริการมีระบบค้นคืนรายการทรัพยากรสารสนเทศระบบอัตโนมัติ ซึ่งจัดทำเป็น 2 ระดับ ที่เหมาะสำหรับเด็กและผู้ใหญ่ Livrary @orchard ตั้งอยู่ในห้างสรรพสินค้าที่อยู่ใจกลางเมืองของประทศ เพื่อทำให้เป็นแหล่งนัดพบเพื่อน และนัดกันมาฟังเพลงหรืออ่านหนังสือ มีระบบรับส่งที่แยกไว้ในห้องสมุด
  • 9. ศูนย์วัฒนธรรมกลาง ใช้แสดงข้อมูลและศิลปะการแสดงทุกแขนงเพื่อให้ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ทุกแบบ สิ่งที่นำมาติดตามผนังคืภาพสามมิติที่คัดลอกมาจากตัวเล่มหนังสือ หากผู้ใดสนใจ จะทำให้อยากค้นหาเพิ่มเติม Library Service Center เป็นสถาบันที่ดำเนินการโดยรับฟังความเห็นจากระดับล่างขึ้นไป เป็นถาบันที่เชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่นตามรูปลักษณ์เดิมของท้องถิ่นและเข้าถึงการศึกษาในระบบบูรณาการเด็กสามารถมาอ่านเขียนและจัดทำเอกสารไว้ในห้องสมุดได้ด้วย
  • 10. แนวคิดห้องสมุดในอนาคต จากการสัมมนาคิดว่าห้องสมุดในอนาคตต้องบริหารจัดการดำเนินงานห้องสมุดให้สอดคล้องกับค่านิยมสมัยใหม่และเหมาะสมกับผู้ใช้บริการรวมทั้งส่งเสริมให้มีบริการหรือจัดกิจกรรมเพื่อสร้างค่านิยมและพฤติกรรมที่ดีในครอบครัวสร้างสังคมการอ่านโดยใช้ศิลปินหรือดาราเป็นต้นแบบหรือตัวอย่างทำห้องสมุดให้เหมือน ศูนย์การค้าที่เป็นเสมือนบ้านหลังที่ 2 ของเด็กและเยาวชน
  • 11. เปิด 24 ชั่วโมงจริงๆด้วยนะเออ ! เมื่อ 23 ปีที่ผ่านมาใน พ . ศ . 2522 หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้เปิดให้บริการจนถึง 4 ทุ่ม ถือว่าเป็นห้องสมุดที่มีระยะเวลาการให้บริการที่ยาวนานมากเป็นพิเศษเราจึงค่อนข้างหงุดหงิดนักหนา หากมีคนที่ชอบเหมารวมว่าห้องสมุด ชอบปิดตามเวลาราชการ ทั้งที่ความจริงไม่ได้เป็นอย่างนั้น เพราะปัจจุบันห้องสมุดมหาวิทยาลัยเปิดมากกว่าวันละ 8 ชั่วโมงทั้งสิ้น ชนิดที่ต้องอาศัยสโลแกนโฆษณายอดฮิตเมื่อ 20 ปีก่อนว่า ตั้งแต่คุณปู่เป็นแฟนกับคุณย่า และถึงแม้จะมีห้องสมุดแบบที่เขาว่านั้นอยู่บ้างก็คงต้องสดับฟังเหตุผลของเขาอยู่บ้าง
  • 12. เมื่ออินเทอร์เน็ตเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น จากห้องสมุดที่เราคุ้นเคยกลายเป็น E-library พัฒนาเป็น digital library จากหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ก็ต้องมี E นำหน้าทั้งสิ้น และนี่คือเสน่ห์ของการเป็นบรรณารักษ์ ที่มักบอกกับมิตรสหายว่าทำไมชอบอาชีพนี้เพราะว่าเราทำงานในหน่วยงานที่ไม่เคยหยุดนิ่งและเป็นหนุ่มสาวนสมัย ดังนั้นอินเทอร์เน็ตที่ใครหลายคนเคยบอกว่าจะมาลดบทบาทห้องสมุดลงก็กลับกลายมาเป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกและกลายเป็นสิ่งที่เสริมให้ห้องสมุดมีบทบาทโดดเด่นมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเมื่อเราได้ท่านผู้นำประเทศที่คิดใหม่ทำใหม่ และก็ไม่ผิดหวังเพราะท่านของเรามีไอเดียเก๋ๆออกมา แต่เสียดายที่ไม่ใช่ หนึ่งในโครงการเอื้ออาทร หากเป็นแนวคิดของการพัฒนาห้องสมุดให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต
  • 13. e-Library, e-Books, e-Journals, online database ก็มีแล้ว แต่ผู้ใช้ของเราเป็นผู้ใช้ที่ไม่มี E นำหน้า ผุ้คนส่วนใหญ่ยังเลือกที่จะซื้อมือถือมากกว่าคอมพิวเตอร์ ไม่ผิดที่ส่วนใหญ่เลือกเช่นนั้น ในเมื่อทั้งดาราและความสะดวกสบายของการพกพาคอมพิวเตอร์แตกต่างจากโทรศัพท์มือถือการขจัดข้อจำกัดของเวลาด้วยการเปิด 24 ชั่วโมง ในหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ หรือการเปิดให้บริการจำนวน 333 วัน ใน 1 ปี อาจมองว่าเป็นการตีความของคำว่าห้องสมุดมีชีวิตที่ผิดเพี้ยน คำถามของเราก็คือหากเราไม่เปิดบริการห้องสมุดในระยะเวลายาวนานเช่นนี้ แล้วผู้ใช้ของเราจะไปที่ไหนในเมื่อเขาใช้ชีวิตตั้งแต่ เช้าจรดค่ำภายในมหาวิทยาลัยหรือชุมชนแถวนี้
  • 14. บริการที่จัดให้ 24 ชั่วโมง จัดไว้ที่ห้อง Self Access Center ชั้น 1 อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประกอบด้วย ที่นั่งอ่านเดี่ยวและอ่านกลุ่ม ห้องดูวิดีโอ ห้องมัลติมีเดีย โต๊ะสำหรับโน๊ตบุ๊ค ที่นั่งสำหรับฟังเทปและซีดี บริการอินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูลทั้งออนไลน์ และซีดีรอม หนังสือพิมพ์ นิตยสาร โดยมีบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ดูแล และให้บริการตลอดเวลาตีหนึ่งของทุกวันมีการฉายภาพยนตร์โดยใช้ชื่อว่า Movie @ morning
  • 15. การให้บริการ ณ ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตัวเอง หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 16. หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้เปิดให้บริการศูนย์การเรียนรู้ ด้วยตนเองขึ้นภายในหอสมุด ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2544 จนถึงปัจจุบัน โดยจัดให้มีบริการต่างๆ ได้แก่ บริการอินเตอร์เน็ต บริการห้องมัลติมีเดีย ห้องฉายวีดีทัศน์ บริการฐานข้อมูล บริการที่นั่งอ่าน บริการหนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสารบันเทิง บริการสำหรับใช้คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค นอกจากนี้หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ได้จัดให้ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าตลอด 24 ชั่วโมง ในช่วงก่อนสอบถึงสอบเสร็จเป็นเวลา 1 เดือน ซึ่งนับได้ว่าหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์เป็นห้องสมุดแห่งแรกในประเทศไทยที่เปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง
  • 17. วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาการใช้บริการภายในศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ทั้งในช่วงเวลาปกติ และช่วงเปิดให้บริการ 24 ชั่วโมง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลการศึกษาสามารถนำมาพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการต่างๆภายในศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์
  • 18. ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม 1.1 จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามคณะวิชา จากการแจกแบบสอบถามจำนวนทั้งสิ้น 370 ฉบับ ให้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ผู้เข้าใช้บริการในหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ปรากฏว่าได้รับแบบสอบถามกลับคืน และสามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูลได้จำนวน 325 ฉบับ หรือคิดเป็นร้อยละ 87.84 ของจำนวนแบบสอบถามที่แจกไปทั้งหมด
  • 19. คณะวิชา แบบสอบถามที่ได้รับคืน จำนวน ร้อยละ คณะอักษรศาสตร์ 129 39.69 คณะศึกษาศาสตร์ 49 15.08 คณะวิทยาศาสตร์ 67 20.61 คณะเภสัชศาสตร์ 13 4.00 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 54 16.62 คณะสัตวศาสตร์ 10 3.08 อื่นๆ 3 0.92 รวม 325 87.84 ตารางที่ 1 จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามคณะวิชา
  • 20.
  • 21. ตารางที่ 2 จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามความถี่ในการใช้บริการ ความถี่ในการมาใช้บริการ นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม ( N=291 ) จำนวน ร้อยละ ทุกวัน 17 5.84 สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 67 23.03 สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง 93 31.96 เดือนละครั้ง 55 18.90 ไม่เคยมาใช้เลย 59 20.27 รวม 291 100.00
  • 22.
  • 23. ตารางที่ 3 จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามช่วงเวลาที่มาใช้บริการ ช่วงเวลาที่มาใช้บริการ นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม ( N=232 ) จำนวน ร้อยละ 8.30 -12.00 น . 12 5.17 12.00 - 16.00 น . 80 34.48 16.00 - 20.00 น . 103 44.40 20.00 - 22.00 น . 37 15.95 รวม 232 100.00
  • 24. ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจในการใช้บริการที่ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง จากนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยมาใช้บริการจำนวน 232 คน พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจในการใช้บริการอินเตอร์เน็ต บริการห้อง Sound Lab บริการที่นั่งอ่าน บริการเครื่องฟังซีดี บริการเครื่องฟังเทปบันทึกเสียง บริการนิตยสารบันเทิง บริการพิมพ์ผลลงกระดาษ / บันทึกลงแผ่นดิสก์ บริการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลโดยบรรณารักษ์และบริการสืบค้น / แนะนำแหล่งข้อมูล / ตอบคำถาม ตามตารางที่ 4 ต่อไปนี้
  • 25. ประเภทของบริการ ระดับความพึงพอใจ ไม่เคยใช้บริการ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ - บริการอินเตอร์เน็ต 32 13.79 97 41.81 75 32.33 14 6.04 2 0.86 12 5.17 - บริการห้องฉายวีดีทัศน์ 6 2.59 49 21.12 72 31.03 7 3.02 4 1.72 94 40.52 - บริการห้อง Sound Lab 6 2.59 49 21.12 66 28.45 12 5.17 6 2.59 93 40.08 - บริการที่นั่งอ่าน 43 18.53 110 47.41 59 25.43 13 5.61 2 0.86 5 2.16 - บริการเครื่องฟังซีดี 5 2.16 56 24.14 57 24.56 19 8.19 6 2.59 89 38.36 - บริการเครื่องฟังเทปบันทึกเสียง 5 2.16 52 22.41 57 24.56 18 7.76 8 3.45 92 39.66 - บริการหนังสือพิมพ์รายวัน 56 24.14 95 40.95 65 28.02 4 1.72 - - 12 5.17 - บริการนิตยสารบันเทิง 17 7.33 82 35.34 82 35.34 11 4.75 1 0.43 39 16.81 - บริการฐานข้อมูล 17 7.33 82 35.34 82 35.34 11 4.75 1 0.43 39 16.81 - บริการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลโดยบรรณารักษ์ 13 5.61 62 26.72 73 31,46 14 6.04 3 1.29 67 28.88 - บริการแนะนำการสืบค้นข้อมูล / แนะนำแหล่งข้อมูล / ตอบคำถาม 13 5.61 53 22.84 74 31.90 17 7.33 3 1.29 72 31.03 - บริการพิมพ์ผลลงกระดาษ / บันทึกลงแผ่นดิสก์ 7 3.02 40 17.24 59 25.43 15 6.47 5 2.16 106 45.68 ตารางที่ 4 ความพึงพอใจในการใช้บริการต่างๆ
  • 26. ตารางที่ 5 จำนวนนักศึกษาที่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับช่วงเวลาการเปิดให้บริการที่ เหมาะสม ช่วงเวลาที่เหมาะสม นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม (N=31) จำนวน ร้อยละ 22.00 น .-24.00 น . 15 48.39 22.00 น .-03.00 น . 7 22.58 22.00 น . -06.00 น . 9 29.03 รวม 31 100.00
  • 27. 3.5 สถานที่ที่เหมาะสมสำหรับการเปิดให้บริการหลังเวลา 22.00 น . จากจำนวนนักศึกษาทั้งหมด 325 คน พบว่า จำนวน 134 คน ( ร้อยละ 41.23) เห็นว่า สถานที่ที่เหมาะสม คือ ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง ( ชั้น 1 ) อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล จำนวน 102 คน ( ร้อยละ 31.38 ) เห็นว่า ควรเปิดที่อาคารหอสมุด ( ชั้น 1-4) และจำนวน 89 คน ( ร้อยละ 27.39) เห็นว่า ควรเปิดที่อาคารหอสมุด ( ชั้น 1-3)
  • 28. ตารางที่ 6 จำนวนนักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับการเปิดให้บริการหลังเวลา 22.00 น . สถานที่ นักศึกษาผู้ตอบแบบสอบถาม ( N=325) จำนวน ร้อยละ ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง 134 41.23 อาคารหอสมุด ( ชั้น 1-3) 89 27.39 อาคารหอสมุด ( ชั้น 1-4) 102 31.38 รวม 325 100.00
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32. บัญญัติ 15 ประการ
  • 33. 1. ต้องการใช้เสียงในการติวหรือ อ่านออกเสียงขอให้ไปใช้ที่ห้องอ่านชั้น 4 2. ทำตัวให้เป็นนิสัยด้วยการเปิดแล้วยกกระเป๋า ประกาศตัว (declare) ให้เจ้าน่าที่ดู ส่วนอาหารหากนำมาให้ฝากเจ้าหน้าที่หากพบจะยึดไว้แล้วไม่คืน ส่วนที่ฝากเมื่อจะไปพักด้านนอกหรือกลับค่อยมารับแต่พอเช้าแล้วไม่ต้องมา
  • 34. 3. บัตรนักศึกษา บัตรเล็กๆ เพียงบัตรเดียวต้องนำมา เพราะการพูดว่าลืม พูดง่าย แต่เสียเวลาของตัวเองและเจ้าหน้าที่ เสียดายกระดาษเสียดายปากกา การเข้มงวดเพราะต้องการดูและและรักษาความปลอดภัย 4. บัตรนักศึกษาของใครก็ของใคร ไม่ต้องไปให้ใครๆใช้ หากตรวจพบทุกอย่างจะบันทึกไว้ในประวัติของท่าน
  • 35. 5. เพื่อนจากสถาบันอื่นอยู่ได้ถึงสี่ทุ่ม หอสมุดฯ เห็นใจท่าน แต่มีความจำเป็นต้องใช้กฎเหล็กนี้จำกัดพื้นที่ให้สมาชิกของมหาวิทยาลัยศิลปากร ถึงแม้จะเห็นว่าบางเวลามีพื้นที่ว่างอยู่ คำตอบยังคงเดิมว่าไม่
  • 36.
  • 37. 6.2 คอมพิวเตอร์ ไม่ทิ้งไว้เช่นกัน จะไปเข้าห้องน้ำ ไปหาหนังสือต้องฝากเพื่อนที่ไว้ใจได้ 6.3 เงินทอง ไม่ต้องพกมามาก สักห้าสิบบาทก้อพอสำหรับเป็น ค่ามาม่ารอบดึก เอาไว้ที่หอกลัว จะหายอีกก็ใส่กระเป๋าให้มิดชิด เช่นมีซิปรูดปากกระเป๋า ไปไหน ก็สะพายไปหรือต้องฝากเพื่อน ที่ไว้ใจได้เช่นกัน
  • 38. 7. การใช้ที่นั่งอ่านหนังสือไม่ ต้องจองให้เพื่อน ฝึกให้รู้จัก คำว่า first come first serve เพราะทุกคนมีสิทธิ์ที่จะใช้ เหมือนกัน อย่าไปลิดรอน สิทธิของเพื่อนที่ไม่รู้จักไป ให้เพื่อนที่รู้จัก
  • 39. 8. หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ จัดบริการ 24 ชั่วโมง ไว้เพื่อให้ สมาชิกของมหาวิทยาลัยศิลปากร ให้เป็นที่สำหรับศึกษาหาความรู้ จึงไม่ใช่พื้นที่สำหรับการแอบ รับประทานอาหาร เมื่อหิวปัญญาชน คนขยันรู้อยู่แล้วว่าต้องไปที่ไหน
  • 40. 10. นักศึกษาที่ถูกลิดรอนสิทธิ์ เช่น เสียงดัง จองที่นั่งอ่าน จะต้องลุกขึ้นมาต่อสู้กับผู้ที่ไม่เคารพสิทธิของผู้อื่น 9. เครื่องปรับอากาศเปิดไว้ที่ 25 องศาเซลเซียส จะร้อนหรือจะเย็นไม่มีการปรับใดๆทั้งสิ้นเนื่องจากเป็นเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ที่มีค่าบำรุงรักษาสูง และโลกของเราขณะนี้มีทั้งร้อน หนาวและเย็นในวันเดียวกัน สมาชิกของมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงต้องดูแลตัวเองแต่งและเตรียมเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมและเคารพสถานที่
  • 42. 12. เวลาไฟดับ พยายามอยู่อย่างสงบ สักพัก ตามสถิติพบว่าจะหยุด มากที่สุดประมาณครึ่งชั่วโมง ใช้สติรวบรวมสมบัติของ ตนเองก่อนลุกจากที่นั่ง 13. จงลด ละ เลิก ความอยากมีอยากได้ ให้เหมือนคนอื่น กระเป๋าเงิน iPhone ipod Nokia Netbook Blackberry Apple เสื้อคลุม กระทั่งคอมพิวเตอร์
  • 43. 14. ปลั๊กที่เสียบอุปกรณ์ต่างๆ ของหอสมุดฯ ห้ามดึงออก แล้วไปชาร์ตแบตของท่าน เด็ดขาด อุปกรณ์พวกนี้ต้อง ทำงานตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง อย่าเห็นเป็นเรื่องเล็กน้อย อย่าสะสมความเห็นแก่ตัว 15. บางช่วงหอสมุดฯ ต้องปิดเครื่องปรับอากาศ พัดลมมีจำกัด หากคุณรู้สึกว่าร้อน เพื่อนก็คงร้อน ก็แค่กดให้พัดลมส่ายไปมา
  • 44. 1. น . ส . จุฑามาศ เชื้อดี รหัสนักศึกษา 07510044 2. น . ส . ปวีนา วิชนี รหัสนักศึกษา 07510072 3. น . ส . ยุฑามาศ วงษะ รหัสนักศึกษา 07510083 4. น . ส . ลัดดาวรรณ เพชรอาวุธ รหัสนักศึกษา 07510087 5. น . ส . ศิริวรรณ ฤกษ์ชัย รหัสนักศึกษา 07510096 6. น . ส . สิราวรรณ สาสุข รหัสนักศึกษา 07510098 7. น . ส . พัชรีพร สุนทรรัตน์ รหัสนักศึกษา 07510020 8. น . ส . พรชนก ทองสุวรรณ รหัสนักศึกษา 09511012 9. น . ส . วีรนุช ชินวงศ์ รหัสนักศึกษา 09511035 10. น . ส . อมราวดี อรุณศรี รหัสนักศึกษา 09511065 รายชื่อสมาชิก