SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  64
Télécharger pour lire hors ligne
สรางสื่อเรียนรูอยางงายดวย Macromedia Captivate




                                                                       โดย
                             บุญเลิศ อรุณพิบูลย และบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
           ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค)
                                                    วันที่ 16 ธันวาคม 2549
สารบัญ

เทคโนโลยีการเรียนการสอนดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส ..................................................................1
   CAI ........................................................................................................................................1
   WBI .......................................................................................................................................2
       WBI/WBL/WBT................................................................................................................2
       คุณสมบัติของ WBI............................................................................................................3
   e-Learning..............................................................................................................................4
   ระบบบริหารจัดการการเรียนรู (LMS: Learning Management System)................................6
   ระบบการจัดการขอมูลเว็บไซต (CMS: Content Management System)................................8
   Open Source e-Learning System: LearnSquare.....................................................................9
       สวนประกอบของระบบ LearnSquare ...............................................................................9
       การติดตั้ง LearnSquare.....................................................................................................10
       การสรางเนื้อหาวิชา..........................................................................................................11
จุดเดนของโปรแกรม ...............................................................................................................16
   ความตองการระบบ..............................................................................................................17
   การเรียกใช ...........................................................................................................................17
   เริ่มตนสรางผลงานใหม........................................................................................................18
   จอภาพการทํางาน ................................................................................................................20
ทํางานกับไฟล Movie ..............................................................................................................22
   สรางไฟลใหม ......................................................................................................................22
   เปดไฟล................................................................................................................................22
   ปดไฟล .................................................................................................................................22
   การบันทึกไฟล .....................................................................................................................23
สรางงานจากการ Capture จอภาพ ...........................................................................................23
   การสราง Text Animation ....................................................................................................29
   การนําเขาไฟล ......................................................................................................................31
การสงออกไฟล (Publish)........................................................................................................33
การสรางสื่อ e-Learning ตอบโตกับผูเรียน ..............................................................................35
   กําหนดหัวขอหรือวิชาในการที่จะสราง ...............................................................................35
       ขั้นตอนการออกแบบ .......................................................................................................35
แยกชินงานตามไฟลที่กําหนด..........................................................................................35
           ้
    การเตรียมตัวเบื้องตน .......................................................................................................36
  สรางชิ้นงานของหนาตอนรับ และวัตถุประสงค ..................................................................36
  สรางชิ้นงานวัตถุประสงค ....................................................................................................41
  สรางชิ้นงาน Menu...............................................................................................................46
  สรางชิ้นงานแบบทดสอบกอนเรียน และหลังเรียน..............................................................50
    จัดการกับไฟล posttest.....................................................................................................54
    จัดการกับไฟล pretest.......................................................................................................56
  สรางชิ้นงานเนื้อหา ..............................................................................................................58
  สรางชิ้นงานสรุป..................................................................................................................59
  ทดสอบการแสดงผล............................................................................................................60
  บทสรุป ................................................................................................................................60
ภาคผนวก.................................................................................................................................61
Macromedia Captivate                                                                                       1


เทคโนโลยีการเรียนการสอนดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส

         การพัฒนาสื่อเพื่อใชในการเรียนการสอนมีพัฒนาการมายาวนาน               เนื่องจากสื่อเปนตัวกลางในการ
ถายทอดความรู ความเขาใจ ทักษะตางๆ จากผูสอนไปยังผูเรียนไดเปนอยางดี เปรียบเสมือนสะพานเชื่อมความคิด
ระหวางกันและกัน หากสื่อไดรับการออกแบบ พัฒนาอยางดี ก็จะสามารถสรางความเขาใจในประเด็นที่ตองการ
นําเสนอไดอยางถูกตองดวย
         กระแสสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Society) นับวาเปนกระแสที่มาแรงมาก ประเทศ
สวนมากในโลกทั้งที่พัฒนาแลว และกําลังพัฒนา ตางก็กาวเขาสูการเปลี่ยนแปลงที่มีการนําเอาเทคโนโลยี
สารสนเทศมารวมพัฒนากิจกรรมตางๆ ของประเทศ การศึกษานับเปนกิจกรรมหนึ่งที่มีการนําเทคโนโลยี
สารสนเทศมารวมผสมผสาน นับตั้งแตการนําคอมพิวเตอรมาใชเปนสื่ออุปกรณในการเรียนการสอน การจัดทํา
หลักสูตรวิชาคอมพิวเตอร       จนกาวสูการใชคอมพิวเตอรพัฒนาสื่อชวยเสริมการเรียนการสอน          ที่เรียกวา
“สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน” หรือที่รูจักกันดีในชื่อ CAI – Computer Aided Instruction เมื่อเทคโนโลยี
คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนามาถึงยุคโลกไรพรมแดน ดวยเครือขายอินเทอรเน็ต (Internet) การ
เรียนการสอนก็ไดปรับเปลี่ยนรูปแบบไปอยางมาก โดยมีการนําบริการตางๆ ของอินเทอรเน็ตมาพัฒนาเปนสื่อ
ถายทอดวิชาการความรูสาขาตางๆ เขาสูระบบ เพิ่มชองทางในการติดตอสื่อสารระหวางผูสอนและผูเรียน

CAI
         ประเทศไทยไดมีการนําคอมพิวเตอร มาใชเปนเครื่องมือในการสรางสื่อการเรียน การถายทอดความรู
เปนระยะเวลานานพอสมควร โดยอาจจะนับไดวา จุดเริ่มตนตั้งแตการใชคอมพิวเตอร เปนเครื่องมือในการเรียน
การสอน วิชาคอมพิวเตอร จากนั้นก็มีการสรางสื่อการเรียนการสอนรูปแบบใหม แทนที่เอกสารหนังสือ ที่เรียกวา
สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน หรือ CAI (Computer Aided Instruction) ซึ่งมีซอฟตแวรที่เปนเครื่องมือใหเลือกใชงาน
ไดหลากหลาย ทั้งที่ทํางานบนระบบปฏิบัติการดอส เชน โปรแกรมจุฬาซีเอไอ (Chula CAI) พัฒนาโดยแพทยจาก
คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โปรแกรม ThaiTas ที่ไดรับการสนับสนุนจากศูนยเทคโนโลยีเล็ก
ทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ รวมถึงซอฟตแวรสําเร็จรูปจากตางประเทศ เชน ShowPartner F/X,
ToolBook, Macromedia Authorware




         รูปที่ 1 โปรแกรมสรางบทเรียนภาษาไทย ไทยทัศน
Macromedia Captivate                                                                                            2

WBI
          ในปจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตไดพัฒนาเติบโตอยางรวดเร็ว และไดกาวมาเปน
เครื่องมือชิ้นสําคัญที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอน การฝกอบรม รวมทั้งการถายทอดความรู โดยพัฒนา
CAI เดิมๆ ใหเปนสื่อการเรียนการสอนที่อยูบนฐานของเทคโนโลยีเว็บ หรือ WBI (Web Based Instruction) สงผล
ใหการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนไดรับความนิยมอยางสูง สามารถเผยแพรไดรวดเร็ว และกวางไกลกวาสื่อ CAI
ปกติ ดวยประเด็นสําคัญ 3 ประการไดแก
         • สามารถประหยัดเงินที่ตองลงทุนในการจัดหาซอฟตแวรสรางสื่อ (Authoring Tools) ไมจําเปนตอง
           ซื้อโปรแกรมราคาแพงๆ มาใชเปนเครื่องมือในการสรางสื่อการเรียนการสอน เพราะสามารถใช
           NotePad ที่มาพรอมกับ Microsoft Windows ทุกรุน หรือ Text Editor ใดๆ ก็ไดลงคําสั่งภาษา
           HTML (HyperText Markup Language) สรางเอกสาร HTML ที่มีลักษณะการถายทอดความรูดาน
           การศึกษา
         • คุณสมบัติของเอกสารเว็บที่สามารถนําเสนอขอมูลไดทั้งขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดิ
           ทัศน และสามารถสรางจุดเชื่อมโยง (Links) ไปตําแหนงตางๆ ไดตามความตองการของผูพัฒนา
         • บริการตางๆ ในเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดชองทางการสื่อสารระหวางผูเรียนกับผูสอนใน
           ระบบ 7 × 24 และไมจํากัดดวยสถานที่

WBI/WBL/WBT
          สื่อการเรียนการสอนที่อยูบนฐานของเทคโนโลยีเว็บ มีการเรียกดวยคําตางๆ เชน WBI (Web Based
Instruction) หรือ WBL (Web Based Learning) หรือ WBT (Web Based Training) คงมีหลายทานสงสัยวาแตละ
คํามีความหมายเหมือน หรือแตกตางกันอยางไร จากการศึกษาเอกสารตางๆ และประสบการณของผูเขียน พบวา
ทั้ง 3 คําคือการเรียนการสอนดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส ผานเครือขายอินเทอรเน็ตเชนเดียวกัน โดยมีจุดเดนที่ชัดเจน
คือ การสงขอมูลระหวางคอมพิวเตอรจะใชโปรโตคอล TCP/IP และ HTTP และรูปแบบการเรียนการสอนก็
เปนไปไดทั้งแบบประสานเวลา (Synchronous: ตัวอยางการพูดคุยดวย IRC) และแบบไมประสานเวลา
(Asynchronous: ตัวอยางการใชอีเมลในการติดตอสื่อสาร)
          แตเหตุผลที่มีการใชคําเรียกแตกตางกันอันเนื่องจากรูปแบบการนําไปประยุกตใช               ทั้งนี้จะพบวา
หนวยงาน องคกรตางๆ ที่ตองการพัฒนาระบบฝกอบรมพนักงานดวยสื่ออิเล็กทรอนิกสผานเครือขายเว็บ มักจะใช
คําวา WBT ในขณะที่สถานศึกษาตางๆ จะใชคําวา WBI สวน WBL จะหมายถึงสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอ
นิสกผานเครือขายเว็บ ที่ผูพัฒนาจะเปนใครก็ได ผูเรียนเปนใครก็ได จึงเนนไปที่การเรียนรูดวยตนเองตลอดชีวิต
นั่นเอง (อยางไรก็ตามเอกสารเลมนี้จะใชคําวา WBI เปนหลัก เพื่อใหสอดคลองกับพัฒนาการจาก CAI นั่นเอง)
ทั้งนี้ WBI นับเปนรูปแบบเริ่มตนของการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต มีทั้งรูปแบบงายๆ
นําเสนอเนื้อหาวิชาการ ความรูเฉพาะดาน จนถึงระบบที่มีการสมัครสมาชิก ใหบริการเฉพาะสมาชิก เนื้อหา
นําเสนอทั้งขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือการจําลองสถานการณผานระบบเครือขายก็ได
Macromedia Captivate                                                                                            3

คุณสมบัตของ WBI
        ิ
       WBI เปนระบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่ประยุกตใชคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด ไวด เว็บ
และคุณสมบัติของสื่อหลายมิติ (Hyper media) ในการจัดการสภาพแวดลอมที่สงเสริมและสนับสนุนการเรียนการ
สอน ในมิติที่ไมมีขอบเขตจํากัดดวยระยะทางและเวลาที่แตกตางกันของผูเรียนโดยอาจเปนบางสวนหรือทั้งหมด
ของกระบวนการเรียนการสอนก็ได
         การใชคุณสมบัติของเครือขายเวิลด ไวด เว็บ หมายถึง การเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถปฏิสัมพันธกับ
ผูสอนหรือผูเรียนอื่นเพื่อการเรียนรู โดยไมจําเปนตองอยูในเวลาเดียวกัน หรือ ณ สถานที่เดียวกัน เชน ผูเรียนนัด
หมายเวลา และเปดหัวขอการสนทนาผานโปรแกรมประเภท Synchronous Conferencing System ดวยโปรแกรม
ยอดนิยมเชน MSN, YahooMessenger หรือผูเรียนสามารถเรียนตามหัวขอและรวมการสนทนาในเวลาที่ตนเอง
สะดวก ผานโปรแกรมประเภท Asynchronous Conferencing System เชน e-Mail หรือกระดานสนทนา
(Webboard) การปฏิสัมพันธเชนนี้เปนไปไดทั้งลักษณะบุคคลตอบุคคล ผูเรียนกับกลุม หรือกลุมตอกลุม
          สวนการใชคุณสมบัติของสื่อหลายมิติในการเรียนการสอนผานเครือขาย หมายถึง การสนับสนุน
ศักยภาพการเรียนดวยตนเอง คือ ผูเรียนสามารถเลือกสรรเนื้อหาบทเรียนที่นําเสนออยูในรูปแบบสื่อหลายมิติ ซึ่ง
เปนเทคนิคการเชื่อมโยงเนื้อหาหลัก ดวยเนื้อหาอื่นที่เกี่ยวของ รูปแบบการเชื่อมโยงนี้เปนไดทั้งการเชื่อมโยง
ขอความไปสูเนื้อหาที่มีความเกี่ยวของ หรือสื่อภาพ และเสียง การเชื่อมโยงดังกลาวจึงเปนการเปดโอกาสให
ผูเรียนสามารถควบคุมการเรียนดวยตนเอง โดยเลือกลําดับเนื้อหาบทเรียนตามความตองการ และเรียนตาม
กําหนดเวลาที่เหมาะสมและสะดวกของตนเอง




                   รูปที่ 2 แสดงเว็บไซต WBI ของศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ
Macromedia Captivate                                                                                                4

          นอกจากนี้ WBI ยังมีจุดเดนเหนือ CAI หลายประการที่ชวยสงเสริมให WBI กาวเขามาแทนที่ CAI จน
เกือบเต็มระบบแลวก็วาได ดังนี้


                                   ตารางที่ 1 เปรียบเทียบจุดเดนของ CAI และ WBI


                                        CAI                                            WBI
การเผยแพร           ทํางานแบบ Stand alone หรือเครือขาย          ทํางานบนเครือขายอินเทอรเน็ต
                     LAN
ระบบสื่อสาร          ระบบสื่อสารระหวางการเรียนเปนแบบ            มีระบบสื่อสารระหวางการเรียนแบบออนไลน
                     Manual                                       โดยอาจจะใชชองทางสื่อสารของอินเทอรเน็ต
                                                                  หรือพัฒนาในระบบก็ได
เครื่องมือพัฒนา      ซอฟตแวรมีราคาแพง                           มีซอฟตแวรฟรีใหเลือกใชงานมากมาย
ความสัมพันธ         เปนการเรียนสวนตัว                          เปนการเรียนที่สามารถติดตอพบปะกับบุคคล
                                                                  ตางๆ ได ทั้งผูเรียนดวยกัน ผูสอน ผูทรงวุฒิ
                                                                  หรือบุคคลอื่นๆ ภายในเครือขายอินเทอรเน็ต
ระบบติดตามผล         ติดตามผลการเรียนไดยาก และตอง               ติดตามผลการเรียนไดทันที โดยไมจํากัด
การเรียน             กําหนดสถานที่การเรียนใหชัดเจนเพื่อ          สถานที่ และเวลา
                     การติดตามผล
การทํากิจกรรม        ทํากิจกรรมไดยาก                             ทํากิจกรรมไดงาย ในลักษณะ Virtual
                                                                  Classroom

e-Learning
           สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning สามารถกลาวไดวาเปนรูปแบบที่พัฒนาตอเนื่องมาจาก
WBI โดยมีจุดเริ่มตนจากแผนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของชาติ สหรัฐอเมริกา (The National Educational
Technology Plan’1996) ของกระทรวงศึกษาธิการสหรัฐอเมริกา ที่ตองการพัฒนารูปแบบการเรียนของนักเรียนให
เขากับศตวรรษที่ 21 การพัฒนาระบบการเรียนรูจึงมีการนําเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตมาชวยเสริมอยางเปนจริงเปน
จัง ดังนั้นสามารถกลาวไดวา e-Learning คือ การนําเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต โดยเฉพาะบริการดานเว็บเพจเขามา
ชวยในการเรียนการสอน การถายทอดความรู และการอบรม
       อยางไรก็ตามความหมายของ e-Learning ก็ยังไมสามารถสรุปแนชัดลงไปได ผูเขียนจึงขอยกคําจํากัด
ความจากแหลงอื่นๆ มาประกอบ เพื่อเปนแนวทางในการตีความหมายตอไป
            เว็บไซต http://www.capella.edu/elearning ไดใหความหมายวา “นวัตกรรมทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลง
วิธีเรียนที่เปนอยูเดิม เปนการเรียนที่ใชเทคโนโลยีที่กาวหนา เชน อินเทอรเน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต ดาวเทียม
วีดิโอเทป แผนซีดี ฯลฯ ดังนั้นจึงหมายรวมถึงการเรียนทางไกล การเรียนผานเว็บ หองเรียนเสมือนจริง ซึ่งมี
จุดเชื่อมโยงคือ เทคโนโลยีการสื่อสารเปนสื่อกลางของการเรียนรู”
Macromedia Captivate                                                                                        5

        ผศ.ดร.ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดใหคําจํากัดความไว 2
ลักษณะ คือ
          e-Learning หมายถึง การเรียนเนื้อหา หรือสารสนเทศสําหรับการสอน หรือการอบรม ซึ่งใชการนําเสนอ
ดวยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกับการใชภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศนและเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยีของเว็บ (Web
Technology) ในการถายทอดเนื้อหา รวมทั้งใชเทคโนโลยีการจัดการหลักสูตร (Course Management System) ใน
การบริหารจัดการงานสอนตางๆ
         • e-Learning คือ การเรียนในลักษณะใดก็ได ซึ่งใชการถายทอดเนื้อหาผานทางอุปกรณ
อิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร เครือขายอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือสัญญาณโทรทัศน
สัญญาณดาวเทียม
          ดร. สุรสิทธิ์ วรรณไกรโรจน ผูอํานวยการโครงการการเรียนรูแบบออนไลนแหง สวทช.
(http://www.thai2learn.com) ไดใหคําจํากัดความของ e-Learning ดังนี้ “การเรียนรูแบบออนไลน หรือ e-Learning
การศึกษา เรียนรูผานเครือขายคอมพิวเตอรอินเทอรเน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เปนการเรียนรูดวย
ตัวเอง ผูเรียนจะไดเรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบดวย
ขอความ รูปภาพ เสียง วีดิทัศนและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกสงไปยังผูเรียนผานเว็บเบราวเซอร โดยผูเรียน ผูสอน
และเพื่อนรวมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดตอ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกันไดเชนเดียวกับการเรียน
ในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดตอสื่อสารที่ทันสมัย (e-Mail, web-board, chat) จึงเปนการเรียนสําหรับ
ทุกคน, เรียนไดทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime)”
         จากความเห็นขางตนจะพบวา e-Learning มี 2 แนวคิด คือ
              • กลุมหนึ่งหมายถึงการจัดระบบการเรียนรู ที่อาศัยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสทุกรูปแบบ ดังนั้น
                การเรียนดวยสื่อโทรทัศน วิทยุ ก็ถือวาเปน e-Learning
              • กลุมหนึ่งใหนิยามอิงเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต จึงหมายถึง การ
                จัดระบบการเรียนรูผานเครือขายอินเทอรเน็ตเปนหลัก
         ทั้งนี้ผูเขียนขอเสนอความหมายกวางๆ ดังนี้
          “การใชทรัพยากรตางๆ ในระบบอินเทอรเน็ต มาออกแบบและจัดระบบ เพื่อสรางระบบการเรียนการ
สอน โดยการสนับสนุนและสงเสริมใหเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย ตรงกับความตองการของผูสอนและ
ผูเรียน เชื่อมโยงระบบเปนเครือขายที่สามารถเรียนรูไดทุกที่ ทุกเวลา และทุกคน สามารถประเมิน ติดตาม
พฤติกรรมผูเรียนไดเสมือนการเรียนในหองเรียนจริง” โดยสามารถพิจารณาไดจากคุณลักษณะ ดังนี้
          • เว็บไซตที่เกี่ยวของกับการศึกษา เกี่ยวของกับเนื้อหารายวิชาใด วิชาหนึ่งเปนอยางนอย หรือ
               การศึกษาตามอัธยาศัย
          • ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง จากทุกที่ทุกเวลาโดยอิสระ
          • ผูเรียนมีอิสระในการเรียน การบรรลุจุดประสงคการเรียนรูแตละเนื้อหา ไมจําเปนตองเหมือนกับ
               หรือพรอมกับผูเรียนรายอื่น
          • มีระบบปฏิสัมพันธกับผูเรียน และสามารถเรียนรูรวมกันได
Macromedia Captivate                                                                                          6

         • มีเครื่องมือที่วัดผลการเรียนได
         • มีการออกแบบการเรียนการสอนอยางมีระบบ
         • ผูสอนมีสภาพเปนผูชวยเหลือผูเรียน ในการคนหา การประเมิน การใชประโยชนจากเนื้อหา จากสื่อ
           รูปแบบตางๆ ที่มีใหบริการ
         • มีระบบบริหารจัดการการเรียนรู (Learning Management System: LMS)
         • มีระบบบริหารจัดการเนื้อหา/หลักสูตร (Content Management System: CMS)




                                               รูปที่ 3 แสดงระบบ e-Learning

ระบบบริหารจัดการการเรียนรู (LMS: Learning Management System)
          ระบบบริหารจัดการการเรียนรูทําหนาที่บริหารจัดการการเรียนการสอนผานเว็บ ประกอบดวยเครื่องมือ
อํานวยความสะดวกใหแกผูสอน ผูเรียน ผูดูแลระบบ เชนระบบสมาชิกสําหรับการสมัครเรียน ตรวจสอบการเขา
เรียน ชื่อผูที่เขาเรียน ความกาวหนาในการเรียน บทที่เรียน เวลาที่เรียน ชื่อผูที่ลงทะเบียนเรียน นอกจากนี้ยังมี
องคประกอบที่สําคัญ คือ การเก็บบันทึกขอมูล กิจกรรมการเรียนของผูเรียนไวบนระบบเพื่อผูสอนสามารถนําไป
วิเคราะห ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชานั้นอยางมีประสิทธิภาพ ซอฟตแวรที่ทํางานใน
ลักษณะ LMS เชน ATutor, PHPNuke, PostNuke, Moodle, LearnSquare
Macromedia Captivate                                                                                            7




         รูปแสดงหนาเว็บไซตระบบ e-Learning: LearnSquare สวนสําคัญไดแกสวนสมาชิก (User
Organization) ที่ใชควบคุมการเขาสูระบบ




         รูปแสดงระบบบริหารจัดการผูเรียน แสดงถึงขอมูลตางๆ เกี่ยวกับผูเรียน เชน ชื่อ เนื้อหาวิชาที่กําลังเรียน
หรือเรียนผานไปแลว วัน/เวลาเริ่มและสิ้นสุดการเรียน สถานภาพการเรียน ตลอดจนประวัติการเขาเรียนอยาง
ละเอียด ดังนี้
        ทั้งนี้ระบบ e-Learning แตละระบบอาจจะมีฟงกชันแตกตางกันออกไป แลวแตลักษณะการพัฒนาหรือ
ความตองการของแตละหนวยงานที่ตองการใชงาน
Macromedia Captivate                                                                                8


ระบบการจัดการขอมูลเว็บไซต (CMS: Content Management System)
          ระบบที่พัฒนาคิดคนขึ้นมา เพื่อชวยลดทรัพยากรในการพัฒนาและบริหารจัดการเนื้อหาของเว็บไซต
เนนระบบจัดการผานเว็บ (Web Interface) เชน การนําเสนอบทความ (Articles) เผยแพรขาวสารตางๆ (News) การ
จัดการไฟลในสวนดาวนโหลด (Downloads) แบบสอบถาม (Polls) ขอมูลสถิติตางๆ (Statistics) ที่สามารถ
เพิ่มเติม ดัดแปลง แกไข แลวประยุกตนํามาใชงานใหเหมาะสมตามแตรูปแบบและประเภทของเว็บไซตนั้นๆ
ซอฟตแวรที่ทํางานในลักษณะ CMS เชน ATutor, PHPNuke, PostNuke, Moodle, LearnSquare ในสวน CMS




          รูปแสดงฟงกชันบริหารจัดการเนื้อหา ที่ผูสรางเนื้อหาสามารถเลือกไดวาจะปอนเนื้อหาในลักษณะ
Authoring หรือการลงรหัส HTML ตัวอยางสวนเริ่มตนการสรางเนื้อหาที่อํานวยความสะดวกในการปอนรายการ
ตางๆ ดังนี้
Macromedia Captivate                                                                               9

        รวมทั้งระบบสรางและบริหารคลังขอสอบออนไลน




Open Source e-Learning System: LearnSquare
           การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติได
พัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบ Open Source Software แบบ GNU General
Public License (GNU GPL) ออกมา ภายใตชื่อเรียก “LearnSquare” ผูสนใจทุกทานสามารถนําไปใชงานไดโดย
ไมตองซื้อ และสามารถดัดแปลง แกไขโปรแกรมตนฉบับ (Source Code) ไดตามที่ตองการ
          การดาวนโหลดโปรแกรม สามารถเขาสูเว็บไซต http://elearning.nectec.or.th แลวคลิกเลือกไอคอน
LearnSquare จากหมวด “Download” จากนั้นจึงสมัครสมาชิก แลวใชบัญชีและรหัสผานที่ระบุล็อกอินเขาสูระบบ
เพื่อดาวนโหลดโปรแกรม คูมือการใชงาน พรอมทั้งตัวอยางบทเรียน




สวนประกอบของระบบ LearnSquare
       ระบบ LearnSquare แบงไดเปน 3 กลุมใหญๆ คือ การจัดการกับสมาชิก การจัดการเกี่ยวกับหลักสูตร
และระบบสนับสนุนการเรียน
          การจัดการกับสมาชิก LearnSquare ไดแบงกลุมสมาชิกเปน 4 กลุมประกอบดวย คือ ผูเรียน ผูสอน
ผูดูแลระบบ และผูชวยสอน
Macromedia Captivate                                                                                     10

        การจัดการหลักสูตร ระบบจะแบงวิชาที่เปดสอนออกเปนกลุมของวิชา (Schools) มีผูสอนและผูดูแล
ระบบเปนผูสรางหลักสูตร โดยเนื้อหาการสอน และขอสอบของแตละวิชาจะถูกเก็บไวในระบบสรางหลักสู ตร
และกําหนดชวงเวลาเรียนของวิชานั้น ผูเรียนจะเขามาลงทะเบียนและเขาเรียนไดตามตองการ
         ระบบสนัสนุนการเรียน ไดแก เครื่องมือตางๆ ที่ใชในการติดตอสื่อสารระหวางสมาชิก ไดแก หอง
สนทนา กระดานขาว การรับ-สงขอความ สมุดบันทึก และตารางนัดหมาย โดยทุกเครื่องมือจะเปดบริการเฉพาะ
สมาชิกเทานั้น จึงมั่นใจในความปลอดภัยของระบบ

การติดตั้ง LearnSquare
         ระบบ LearnSquare สามารถใชงานไดแบบ Online และ Offline รวมทั้งใชไดทั้งในระบบปฏิบัติการ
Windows และ Unix/Linux ทั้งนี้การใชระบบ Offline กับเครื่องพีซีในระบบปฏิบัติการ Windows จําเปนตอง
จําลองเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชใหเปน Web Server ที่สามารถทํางานกับตัวแปลภาษา PHP และระบบฐานขอมูล
MySQL โดยการติดตั้ง AppServe หรือ IIS (Internet Information Server) หรือ PWS (Personal Web Servier) หรือ
Omni Httpd
          จากนั้นใหคัดลอกไฟลตางๆ ของโปรแกรม LearnSquare ซึ่งประกอบดวยโฟลเดอรและไฟลตาม
โครงสรางดังนี้ ไปไวใน Web Server เชน กรณีที่ติดตั้ง AppServ บนเครื่องพีซี ก็คัดลอกไปไวในโฟลเดอร
c:appservwwwชื่อโฟลเดอรที่จะใชงาน เชนระบุโฟลเดอรชื่อ biology ก็จะเปน c:appservwwwbiology




         โครงสรางไฟลและโฟลเดอรของ LearnSquare
          จากนั้นเรียกใชงานโปรแกรมเว็บเบราวเซอร ที่บรรทัด Address ใหพิมพคําสั่งติดตั้ง เชน
http://127.0.0.1/biology/install.php (เปลี่ยนคา 127.0.0.1/biology ใหตรงกับระบบที่ใชจริง) จากนั้นจะเขาสู
จอภาพการติดตั้งโปรแกรมที่ทํางานงาย ดวยคําอธิบายภาษาไทยแตละจอ ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ก็จะได
เว็บไซต e-Learing ที่พรอมใชงานไดทันที
         หมายเหตุ ศึกษาวิธีการติดตั้งอยางละเอียดจากเว็บไซต http://elearning.nectec.or.th
Macromedia Captivate                                                                                     11


การสรางเนื้อหาวิชา
            LearnSquare มีระบบบริหารจัดการเนื้อหาวิชา ที่อํานวยความสะดวกใหครู และผูดูแลระบบสราง หรือ
นําเขาเนื้อหาวิชาไดงาย ทั้งจากเครื่องมือสรางที่โปรแกรมจัดเตรียมให การนําเขาเนื้อหาวิชาตามมาตรฐาน
SCORM (Sharble Content Object Reference Model) การลิงกไปหาเนื้อหาวิชาในฟอรแมตมาตรฐาน เชน HTML,
PDF, Windows Movie Format (.wmv) และ Flash Movie (.swf), PowerPoint slide (.mht)
         การสรางเนื้อหาวิชาจากเครื่องมือของระบบ
        การสรางเนื้อหาวิชาจากเครื่องมือของระบบ หรือ Content Authoring ทําไดโดยการล็อกอินเขาสูระบบ
(อาจจะเปนครู หรือผูดูแลระบบก็ได) จากนั้นเลือกเมนู “จัดการระบบ” แลวเลือกไอคอน Courses




          เมื่อคลิกเลือกไอคอน Courses จะปรากฏจอภาพการสรางหลักสูตรคลิกปุม Create เพื่อเริ่มเขาสูการ
สรางเนื้อหา โดยจะตองเลือกกลุมวิชา (สามารถปรับแกไขกลุมวิชา ไดจากไอคอน School จากจอภาพจัดการ
ระบบ) แลวระบุรหัสวิชา, ชื่อหลักสูตร และเนื้อหาโดยยอของหลักสูตร (จําเปนตองปอนใหครบทุกรายการ)
สําหรับรายการอื่นๆ สามารถเลือกปอนไดตามความเหมาะสม
Macromedia Captivate                                                                                       12

         เมื่อปอนรายการตางๆ แลวจะมีตัวเลือก 2 ตัวเลือกดานลาง คือ “เรียนไดตลอดเวลา (ไมตองลงทะเบียน”
สําหรับการกําหนดใหเนื้อหาวิชานี้เปดเรียนไดฟรี หรือเฉพาะสมาชิกเทานั้นที่จะเรียนได ถาตองการใหเฉพาะ
สมาชิกเทานั้นที่เขามาเรียนได ไมตองคลิกเลือกรายการนี้ อีกรายการคือ “เปดใชงาน” บางครั้งอาจจะตองใชเวลา
ในการสรางเนื้อหาวิชานาน ยังไมพรอมเปดใหเรียน เมื่อพัฒนาเรียบรอยแลวจึงจะเปดเรียน ก็คอยคลิกเลือก “เปด
ใชงาน”
         จากนั้นใหคลิกปุม “สรางหลักสูตร” ก็จะปรากฏจอภาพการสรางเนื้อหาวิชาแตละบทเรียน ดังนี้




         คลิกปุม “เพิ่มบทเรียน” เพื่อเริ่มสรางเนื้อหาแตละบท




            ปอนรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาตามจอภาพ ทั้งนี้โปรแกรมจะสรางไฟล HTML พรอมกําหนดชื่อ
ไฟล และโฟลเดอรใหอัตโนมัติเมื่อคลิกปุม “เพิ่มบทเรียน” บทเรียนที่เพิ่มแลวสามารถใสเนื้อหาไดโดยเลื่อนเมาส
มาชี้ที่ชื่อบทเรียนที่ตองการ แลวเลือกคําสั่ง “สราง/แกไขบทเรียน”




                                          รายการคําสั่งควบคุม
                                          การบริหารบทเรียน
Macromedia Captivate                                                                                      13

         เมื่อเลือกรายการ “สราง/แกไขบทเรียน” จะปรากฏเครื่องมือสรางเนื้อหา (Content Authoring) ดังนี้




          การใชงานเครื่องมือสรางเนื้อหา ใหยึดหลักการพิมพงานสรางงานดวย Microsoft Word ที่ทานคุนเคย
ทั้งนี้จะพบวาเครื่องมือตางๆ มีลักษณะคลายคลึงกับเครื่องมือใน Microsoft Word นั่นเอง เมื่อสรางเนื้อหาตางๆ
แลวจึงคลิกปุม Save เพื่อบันทึกเนื้อหา
           จุดเดนของเครื่องมือสรางเนื้อหา LearnSquare คือสามารถคัดลอกเนื้อหาจากโปรแกรมอื่นๆ ที่ใชอยู
เชน Microsoft Word แลวนํามาวาง (Paste) ไดทันที รวมทั้งสามารถแบงเนื้อหาเปนหนาจอยอยๆ โดยการพิมพ
คําสั่งบังคับ คือ {PAGE} คั่นเนื้อหาที่ตองการแบงจอภาพ




                          คําสั่ง {PAGE} เปน
                          คําบังคับใชแสดงผล
                                 หนาใหม




         เมื่อนําเสนอเนื้อหาผานเว็บเบราวเซอร จะปรากฏแถบเมนูแสดงจํานวนหนาเอกสาร พรอมปุมเลื่อนดู
เนื้อหาโดยอัตโนมัติ
Macromedia Captivate                                                                                 14




         การสรางเนื้อหาวิชาจากไฟลภายนอก
         ไฟลเนื้อหาในรูปแบบ HTML, PDF, Windows Movie Format (.wmv) และ Flash Movie (.swf),
PowerPoint slide (.mht) สามารถนําเขาสูบทเรียนไดงาย สะดวก และรวดเร็ว โดยไมตองมาเสียเวลาลงรหัส
HTML เพียงแตเตรียมไฟลตางๆ ใหพรอม จากนั้นเขาสูโหมดการสรางเนื้อหาวิชา เลือกบัตรรายการ “จัดการไฟล”
เลือกไฟลที่ตองการแลวโอนเขาสูระบบดวยปุม Upload




         จากนั้นกลับมาที่บัตรรายการ “บทเรียน” สรางบทเรียนใหม (หรือจะนําบทเรียนเดิมมาแกไขก็ได)
Macromedia Captivate                                                                                          15

          เมื่อสรางบทเรียนใหม โดยการเลื่อนเมาสไปชี้ที่บทเรียนที่มีอยูเดิม เลือกคําสั่ง “เพิ่มบทเรียน” ใหปอน
รายละเอียดเนื้อหาบทเรียน เฉพาะรายการไฟลบทเรียน ใหคลิกเลือกหาไฟลเนื้อหาวิชาที่ได Upload ไปกอนหนา
(ตัวอยางเลือกไฟลชื่อ 012search.swf ซึ่งเปน Flash Movie)




         เพียงไมกี่ขั้นตอน ก็จะไดบทเรียนที่เชื่อมโยงกับไฟลเนื้อหาวิชาในฟอรแมตตางๆ ตามตองการ
Macromedia Captivate                                                                                           16


Macromedia Captivate

          สื่อ e-Learning นั้นจะเปนสื่อที่เผยแพรอยูบนอินเทอรเน็ตมากมาก เพียงแคเราอยากที่จะรูเรื่องอะไรก็เขา
ไปคนหา ก็จะเจอเรื่องที่เราตอง เปรียบเสมือนการแลกเปลี่ยนขอมูลกัน โดยขอมูลที่ไดมานั้นคนอื่นเปนผูสราง
ขึ้นมา แตถาเราอยากจะสรางบางละจะทําไดหรือเปลา คําตอบคือทําไดครับ ซึ่งจะมีวิธีการสรางอยูในบทความ
เรื่องนี้ อยางเปนขั้นเปนตอนสามารถที่จะทําตามไปไดเลย แตกอนอื่นตองกลาวถึงรูปแบบของสื่อที่เปน e-
Learning กอน
          การสรางสื่อ e-Learning เพื่อเผยแพรบนอินเทอรเน็ตนั้น มีขอที่ตองคํานึงหลายขอดวยกัน ดังนั้น
ขอจํากัดแตละขอจะกลาวถึงโดยอธิบายอยูในเนื้อหาเลย        ในการสรางสื่อเอกสารชุดนี้นั้นจะใชโปรแกรม
Macromedia Flash, และ Macromedia Captivate ในการสรางเปนหลัก และใชโปรแกรม Macromedia Firework
ในการแกไขภาพ
             การสรางสื่อใหรวดเร็วนั้น ควรที่จะหาเครื่องมือมาชวยในการสรางเพราะการที่จะสรางดวยโปรแกรม
เพียงโปรแกรมเดียวนั้นคงตองใชเวลานานบางครั้งอาจจะตองลงมือเขียนโปรแกรมเองหรือใส Script ซึ่งบางคน
อาจจะตองไปศึกษาภาษา Script ในการเขียนทําใหตองใชเวลาในการศึกษาอีก จึงทําใหงานที่จะสรางนั้นตองยืด
ออกไปอีก แตถามีเครื่องมือที่มาชวยสรางและไมตองไปศึกษาภาษา Script ก็จะดีมากและจะทําใหงานออกมาได
เร็วยิ่งขึ้น
          โปรแกรม        Macromedia        Captivate        เปนโปรแกรมที่ใชในการสรางสื่อในรูปแบบของ
e-learning โดยเฉพาะ เนื่องจากเปนโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยเฉพาะ อีกทั้งยังสามารถเปนสื่อที่ใชเรียนรูได
ทั้ง ออนไลนและออฟไลน ที่เรียกวา Rich Text Media ที่อยูในรูปแบบของ CD ROM ไดเปนอยางดี เพราะเมื่อ
เทียบกับโปรแกรมในลักษณะเดียวกัน ไมวาจะเปน Lotus Screencam, WinCam2000 Professional หรือ
Techsmith Camtasia แลว Macromedia Captivate มีขอดีกวาหลายอยาง เพราะนอกจากจะจับภาพการสาธิต
หนาจอคอมพิวเตอรไดเหมือนโปรแกรมทั่วๆ ไปแลว ยังมีความสามารถในเรื่องของการสรางคําถามในรูปแบบ
ตางๆ ไดอยางครอบคลุม และหลากหลาย รวมถึงสามารถใชงานรวมกับเว็บแอปพลิเคชันแบบ e-Learning ใน
ระบบ LMS อยาง Blackboard หรือกับโปรแกรมสําหรับสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวนสอน (CAI) อยาง
Macromedia Authoreware, Asymetrix Toolbook ที่ไดรับความนิยมอยางมากไดเปนอยางดี

จุดเดนของโปรแกรม
         • สรางสื่อการเรียนรูหรือสื่อนําเสนอมัลติมีเดียไดอยางงายดาย
         • ตัดตอวิดีโอไดทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว
         • สรางสื่อการเรียนรูโดยการจัดภาพหนาจอ (Screen capture movie) ประกอบเสียงบรรยาย เหมาะ
           สําหรับการนําไปใชเปนสื่อการเรียนการสอน
         • สรางแบบทดสอบไดหลายประเภททั้งปรนัย จับคู ไดอยางงาย
         • นําเขาไฟลจากแหลงตางๆ ไดหลายฟอรเมต
                      ไฟลรูปภาพ (Image) เชน JPG,BMP,GIF
Macromedia Captivate                                                                           17

                  ไฟลเสียง (Sound) เชน MP3, WAV
                  เสียงบรรยายผานไมโครโฟน
                  ไฟลวิดีโอ (Video) เชน AVI
                  สไลดจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint
        • สงออกไฟลไดหลายรูปแบบ
                  Flash movie File (.swf) ลักษณะเชนเดียวกับโปรแกรม Macromedia Flash
                  HTML File (.html) สําหรับการนําไปใชกับเว็บไซต
                  EXE File (.exe) สําหรับการนําไปใชแบบ Stand alone คือการแสดงผลโดยไมตองติดตั้ง
                  โปรแกรมเพื่อแสดงผล

ความตองการระบบ
        การใชงานโปรแกรม Macromedia Captivate ควรมีคอมพิวเตอรคุณสมบัติขั้นต่ําดังนี้
        • Microsoft Windows 2000 หรือ Windows XP
        • Computer Intel Pentium III processor 600-MHz หรือ เทียบเทา
              o 128 MB of RAM (แนะนํา 256 MB)
              o พื้นที่วางฮารดดิสก 100 MB
              o จอภาพความละเอียด 800 × 600 จุดตอนิ้ว (แนะนํา 1024 × 768 จุดตอนิ้ว)

การเรียกใช
        • คลิกปุม
        • เลือกรายการ Program, Macromedia, Macromedia Captivate รอสักครูจะปรากฏหนาตางการ
          ทํางาน




        • จากจอภาพดังกลาว มีโหมดการทํางานใหเลือกไดหลายลักษณะ
Macromedia Captivate                                                                                    18

            1) Open a recent movie            แสดงไฟลลาสุดที่เคยบันทึกไวในโปรแกรม และสามารถเปด
               ไฟลในรายการนี้ได
            2) Record new movie               สําหรับสราง movie
            3) Other movie types              สําหรับนําเขา Movie, สราง Movie จากแมแบบ, สรางเมนู)
            4) Getting started movies         แนะนําวิธีการสรางงานดวย Macromedia Captivate โดยมี
               เนื้อหาดังตอไปนี้
                 •     การสรางชิ้นงาน
                 •     การแกไขชิ้นงาน
                 •     การสงออกชิ้นงาน
                 •     การนําไฟลเสียงเขามารวมกับชิ้นงานที่ไดทํา
                 •     การสรางสวนตอบโต หรือ Interactivity
                 •     การใสลูกเลนตางๆ เพื่อเพิ่มความนาสนใจใหกับชิ้นงาน

เริ่มตนสรางผลงานใหม
        • คลิกที่ Record of create a new movie จะปรากฏหนาตาง New movie options




        • เลือกรูปแบบการสรางงาน
               o Application การ Capture Movie ทั้งหนาจอ
               o Custom size การ Capture Movie แบบกําหนดหนาจอดวยตนเอง
               o Full screen การ Capture Movie ทั้งหนาจอ
               o Blank movie การสราง Movie ในการกําหนดรูปแบบของตนเองทั้งหมด
               o Image movie การสราง Movie ดวยรูปภาพที่เตรียมไว
        • เลือก Blank movie เพื่อกําหนดรูปแบบการสรางในแบบที่ตองการ
Macromedia Captivate                                                                            19




          • User defined (custom)          กําหนดขนาดของจอภาพที่ตองการบันทึกโดยระบุความกวาง
                และความสูงเอง
          • Preset size                    กําหนดขนาดของจอภาพที่ตองการบันทึก โดยเลือกขนาดที่
                โปรแกรมมีมาให
        • เมื่อรูปแบบที่ตองการไดแลว คลิกปุม OK จะไดหนาตางงานขึ้นมา
Macromedia Captivate                                                                              20


จอภาพการทํางาน
        จอภาพการทํางานของโปแกรม ประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้

                                                    Main Toolbar


                                           Layer                                Time Line

      Document Tab


                                                                             Stage & Workspace




              Object Tools          Alignment Tools

        • แถบเครื่องมือหลัก (Main Toolbar)
          แถบเครื่องมือควบคุมการทํางานหลักของโปรแกรม เชน การบันทึกไฟล การแสดงผล การสงออก
          ไฟล เปนตน โดยสามารถควบคุมโดยคลิกเลือกคําสั่ง View, Main Toolbar



        • Document Tab
          สวนควบคุมเอกสาร สามารถคลิกเพื่อสลับเปลี่ยนจอภาพเอกสาร


            Storyboard แท็บรูปแบบของชิ้นงานที่แสดงชิ้นงานทั้งหมดเปนแบบสไลด (Frame)
            Edit           แท็ลรูปแบบของชิ้นงานที่แสดงเปน Timeline สามารถแกไขชิ้นงานที่ละสไลดโดย
            เลือกสไลดที่ตองการจะแกไข
Macromedia Captivate                                                                               21

        • Timeline
          Timeline เปนสวนหนึ่งที่สามารถแกไขได หรือปรับเปลี่ยนชวงเวลาได แตตองเปลี่ยนสวนควบคุม
          เอกสารเปนสวนของ Editที่ทําหนาตางควบคุมการนําเสนอผลงาน สามารถเปด/ปดดวยคําสั่ง View,
          Show Timeline




        • Stage & Workspace
          Stage และ Workspace เปนพื้นที่สวนใหญของหนาตางโปรแกรม มีลักษณะการทํางานคลายๆ กับ
          เวทีการแสดง




        • Object Tools
          เปนเครื่องมือสําหรับการสรางวัตถุ เมื่อคลิกเพิ่มจะปรากฎบน Time line เหมือนเปน Layer



        • Alignment Tools
          เปนเครื่องมือในการจัดตําแหนงวัตถุใน Work Area



        • Layer
          สวนควบคุมการสรางชั้นงาน เพื่อใหชิ้นงานแตละชิ้นมีอิสระ และสะดวกตอการแกไข ปรับแตง
Macromedia Captivate                                                                                         22


ทํางานกับไฟล Movie
          ไฟลของ Captivate เรียกวา Movie มีสองฟอรแมตหลัก คือไฟลตนฉบับ ซึ่งมีสวนขยายเปน .cp และ
ไฟลที่พรอมนําไปใชงาน ซึ่งมีสวนขยายเปน .swf การสราง/เปดแกไขจะทํางานกับไฟลตนฉบับ นอกจากนี้ยังมี
ไฟลใชงานฟอรแมต zip ที่ zip ไฟลงานทั้งหมดใหโดยอัตโนมัติ และสรางไฟล html ใหเรียบรอยใชสําหรับการ
เรียกใชงานผานเบราวเซอรไดอีกดวย

สรางไฟลใหม
        การสรางไฟลใหมของ Captivate มีวิธีการเรียกใชงานหลายลักษณะ เชน จากจอภาพ Start Page สามารถ
เลือกการสรางไฟลใหมได 2 ลักษณะคือ
         • Record new movie กรณีที่ตองการสราง Movie โดยการเริ่มตนดวยตนเองทั้งหมด
         • Other movie types กรณีที่ตองการสราง Movie จากแมแบบที่ Captivate เตรียมไวให
         นอกจากนี้ยังสามารถเลือกคําสั่งไดจากเมนูคําสั่ง File, Record or create a new movie...

เปดไฟล
         ไฟลที่สรางไวแลวเปดขึ้นมาแสดงผลไดดวยคําสั่ง File, Open... หรือใชคียลัด Co


          ไฟลตัวอยางของ Captivate เปดผาน C:My DocumentsMy Captivate Projectes Samples

ปดไฟล
         ไฟลที่สราง หรือเปดอยู หากตองการปดไฟล สามารถใชคําสั่ง File, Close ทั้งนี้ไฟลที่ยังไมไดผานการ
บันทึก โปรแกรมจะแสดงกรอบเตือน ถาตองการบันทึกไฟลกอนปด ก็คลิกปุม Yes เพื่อเขาสูโหมดการบันทึก
ไฟล แตถาตองการปดไฟลโดยไมบันทึกก็คลิกปุม No หรือคลิกปุม Cancel เพื่อยกเลิกการปดไฟล กลับสูจอภาพ
สรางงานตามปกติ
Macromedia Captivate                                                                                  23


การบันทึกไฟล
       Movie ที่สรางแลว หรือปรับแตงแกไขแลว ควรบันทึกไฟล จะไดสวนขยายเปน .cp การบันทึกไฟล
สามารถใชคําสั่ง File, Save… หรือกดปุม Cs หรือคลิกปุม             จาก Main Toolbar ซึ่งจะปรากฏ
จอภาพการบันทึกไฟล ดังนี้

                                                                    เลือกไดรฟ และโฟลเดอร




                                                                     ตั้งชื่อไฟล แลวคลิกปุม Save

         จุดสังเกตวาไฟลไดผานการบันทึกแลวหรือไม ก็ดูไดจากชื่อไฟลใน Title Bar หากมีเครื่องหมาย *
แสดงวายังไมผานการบันทึก



สรางงานจากการ Capture จอภาพ
           ฟงกชันหนึ่งของโปรแกรม Captivate เปนลักษณะการทํางานที่ใชความสามารถ Capture หนาจอเปน
ภาพ เหมือนการถายภาพใหตอเนื่องกันเปนเฟรม สามารถแสดงผลเปนแบบภาพเคลื่อนไหวหรือที่เรียกวาสื่อ
มัลติมีเดียนั่นเอง ซึ่งมีขั้นตอนการสรางงานดังนี้
        1. เปดโปรแกรม Macromedia Captivate โดยไปที่ Start, Program, Macromedia, Macromedia
           Captivate
        2. เลือกรายการ Record or create a new movie



        3. ในที่นี้จะสรางสรรคงานดวยรูปแบบที่กําหนดเองและกระดาษเปลา โดยเลือก Blank movie แลว
           คลิก OK
Macromedia Captivate                                                      24




        4. กําหนดขนาดของหนาจอการทํางาน เชนกําหนดเองเปน 800 × 600 pxs




        5. เมื่อกําหนดขนาดไดแลวคลิก OK จะปรากฏหนาตางดังนี้
Macromedia Captivate                                                                                   25

        6. เริ่มการทํางานของโปรแกรมโดยคลิก Record ที่อยูบน Main Toolbar




        7. คลิกปุม OK ในหนาตางนี้แลวจะไดกรอบสีแดงที่มีขนาด 800 × 600 ที่ไดกําหนดไวในตอนแรก
           เมื่อไดกรอบสีแดงกับเครื่องมือที่ควบคุมการบันทึก เมื่อไดเครื่องมือทั้งสองอยางแลวใหยอ
           โปรแกรมที่ ตองการบันทึกไวในกรอบนี้ เนื่องจากโปรแกรมจะบันทึกหรือ Capture ภาพ
           เฉพาะที่อยูในกรอบสีแดงทานั้น
        8. ไดหนาตางที่มีปุมในการบันทึก เหมือนการบันทึกวีดีโอ




             • Record specific window      เปนการเลือกโปรแกรมหรืองานที่จะบันทึก
             • Record narration            เปนการบันทึกเสียงบรรยายพรอมๆ กับการ Screen capture
               movie
             • Recording size              ขนาดของ Capture movie
             • Options…                    เปนการปรับแตงเพิ่มเติม
             • Record                      เริ่มบันทึกการ Capture movie หนาจอ
Macromedia Captivate                                                                                       26

        9. คลิกปุม Record เพื่อเริ่มการบันทึกหรือ Capture movie หนาจอ โดยโปรแกรมจะบันทึกตอเมื่อมี
           การคลิกเมาส หนึ่งครั้งตอหนึ่งสไลด เมื่อบันทึกเสร็จแลวหรือตองการหยุดใหกดปุม <End> เพื่อ
           ยุติการบันทึก โปรแกรมจะโหลดภาพหรือสไลดที่ได Capture ขึ้นมา




        10. ตองการแกไขสไลดสามารถทําไดโดยคลิกที่ Document Tab มาที่แท็บ Edit จะปรากฏ Timeline
            ของแตละสไลด


                                                        ปรับแตง Timeline




                                                               โปรแกรมจะสรางขอความใหเมื่อ
                                                               มีการคลิกเครื่องมือตางๆ สามารถ
                                                               แกไขไดดวยการดับเบิลคลิก



        11. การปรับแตง Timeline
            • โดยปกติเวลาของสไลดจะอยูที่ 4 วินาทีถาไมมีการคลิกเมาสหรือหยุดไว 10 วินาที หลังจาก
                คลิกสไลดที่ 2 ใน Timeline จะตองมีระยะเวลาหางกัน 10 วินาที แตโปรแกรมนี้จะไมเอา 10
                วินาทีนั้นมาจะปรับเปน 4 วินาทีแทน โดยถาคลิกเมาสเร็วกวานั้นก็จะบันทึกไดเร็วกวา 4
                วินาทีเวลาในการแสดงผลนั้นขึ้นอยูกับการคลิกเมาสของผูบันทึก สามารถปรับขยายหรือลด
                เวลาไดอยางอิสระ
            • วัตถุที่วางบนสไลดจะวางเรียงกันเปนเลเยอร (Layer) ถาตองการปรับแตง layer ไหนก็คลิก
                ลาก layer นั้นได
            • สามารถเพิ่ม Timeline ไดดวยเครื่องมือ Object Tools และ Alignment Tools
Macromedia Captivate                                                                                 27

             • เมื่อคลิกเครื่องมือใดเครื่องมือหนึ่งจะปรากฏหนาตางคุณสมบัติของเครื่องมือนั้นสามารถ
               ปรับแตงไดหรือปรับที่หลังก็ได โดยเครื่องมือนั้นจะไปแสดงผลในหนา Stage และบน
               Timline


                                                             Layer 4
                                                             Layer 3
                                                             Layer 2
                                                             Layer 4
                                                             Play Sound

                           Play Timeline

                       Stop Timeline

        12. การแกไขขอความในสไลด
            การแกไขขอความสามารถทําไดโดยการดับเบิลคลิกที่กรอบขอความนั้น


                                                      ดับเบิลคลิกเพื่อแกไข



            หนาตางปรับแกไขขอความ



                                                                          ปรับแกไข รูปแบบ ขนาด และ
                                                                          สี ของฟอนต


                                                                          ขอความที่ตองการแกไข




        13. การลบสไลดที่ไมตองการ ทําไดโดยการคลิกเลือกสไลด แลวกดปุม <Delete> หรือคลิกขวาที่
            สไลดนั้นเลือก Delete ไดเหมือนกันโดยโปรแกรมจะมีขอความขึ้นมาถามเพื่อยืนยันการลบอีกครั้ง
Macromedia Captivate                                                                                    28

        14. การเพิ่มสไลดหรือแทรกสไลด นั้นสามารถเพิ่มสไลดในสวนไหนก็ได ไมวาจะเปนในตอนแรก,
            ตอนกลาง, ตอนทาย ของงานชิ้นนี้ มีความเปนอิสระตอกัน และในการเพิ่มสไลดหรืองานนั้น
            โปรแกรมไดเตรียมฟงกชั่นในสวนนี้มาให โดยสามารถเพิ่ม สไลดเปลา นํารูปมาเปนสไลด เพิ่ม
            คําถามคําตอบ นําสไลดจาก Microsoft PowerPoint มาเพิ่มในโปรแกรม Captivate หรือจะนําไฟลอ
            นิเมชั่นมาเพิ่มก็สามารถทําได ในสวนนี้จะอธิบายแคการเพิ่ม สไลดเปลา ในสวนอื่นจะขออธิบาย
            ในหัวขอตอไป ในการเพิ่มทําไดโดย คลิกที่เมนู Insert, Blank Slide เมื่อไดเพิ่มสไลดแลวก็สราง
            Text animation หรือเพิ่มขอความในรูปแบบของตนเองได อีกทั้งยังเพิ่มสไลดที่เปนรูปภาพเพียง
            เลือก Image Slide แทนก็ได




        15. ปรับแตงสไลดใหนาสนใจมากขึ้น
            เลือกสไลดที่ตองการปรับแตง คลิกขวาที่พื้นที่ stage เลือก Properties




                                                                              ปรับสีพื้นหลังของสไลด




             -    Label ใสชื่อใหกับสไลดนี้
             -    Display Time การแสดงผลของสไลดนี้จะอยูที 3 วินาทีถาตองการมากขึ้นก็ใสตัวเองที่
                  ตองการ
             -    Transitionใส Effect ใหกับสไลดนี้
Macromedia Captivate                                                                                     29

             -    Qualityเลือกคุณภาพของสีอยูในระดับไหน
             -    Colorปรับสีพื้นหลังใหกับสไลด

        16. ใสเสียงหรือนําเขาเสียงใหกับสไลด
             ในการใสเสียงใหกับชิ้นงานเพื่อการเปนสื่อการเรียนการรูโดยการคลิก ขวาที่ Stage เลือก
        Properties คลิกที่บัตรรายการ Audio




             Record newการใสเสียงใหกับสไลด
             Import การนําเขาไฟลเสียง

                                                                 Layer ไฟลเสียงที่บันทึกหรือนําเขา




        เมื่อไดบันทึกเสียงหรือนําเขาไฟลเสียงแลวจะปรากฎ layer ที่ Timeline

        17. แสดง Movie เมื่อมีการปรับแตงชิ้นงาน เปนที่เรียบรอยมาถึงขั้นตอนนี้ก็จะเปนการแสดงผลงานที่
             ไดสรางขึ้นมาก วิธีการดูทําไดหลายวิธีตั้งแตไปที่เมนู File, Preview, หรือคลิกที่ Main Toolbar
                         จะมีรายการขึ้นมาใหเลือกดังนี้
             Play this slide          แสดงผลสไลดปจจุบันเทานั้นหรือที่เลือก
             Movie                    แสดงผลสไลดทั้งหมด
             From this slide          แสดงผลสไลดจากปจจุบันจนจบ
             Next 5 slides            แสดงผลสไลดถัดไป 5 สไลดเทานั้นตั้งแตสไลดที่เลือกหรือสไลดปจจุบัน
        ถึงจะมีมากกวาก็จะไมแสดงผล
             In Web Browser           ใชเบราวเซอรในการแสดงผล

การสราง Text Animation
        ในการสราง Text Animation นั้นจะเปนการสรางเพื่อนําเสนองานใหนาสนใจ หรือเพิ่มลูกเลนใหกับ
งาน
        • คลิกที่ Object Tools ที่ชื่อ Text Animation
Macromedia Captivate                                                                     30




                                                                     ขอความที่ตองการ




             -   Animation บัตรรายการ Text
                 Effect           เลือกรูปแบบการแสดงผลขอความ
                 Text             พิมพขอความที่ตองการ
                 Chang font… เปลี่ยนรูปแบบ ขนาดหรือสีของตัวอักษร




             -   บัตรรายการ Options
                 Timing          กําหนดเวลาการแสดงผลของ Movie
                 Loop            คลิกเลือกเพื่อใหแสดงซ้ํา
                 Transition      กําหนด Effect ในการเปลี่ยนฉากแตละสไลด (Frame)
Macromedia Captivate                                                                                      31




              -    บัตรรายการ Audio
                  Record new… บันทึกเสียงใหม
                  Import           นําเขาไฟลเสียง
                  Audio library… เลือกไฟลเสียงที่เคยมีการใชงานมากอนหนานี้

การนําเขาไฟล
         ในการนําเขาไฟลนั้นโปรแกรม Captivate รองรับไฟลประเภทตางๆ พอสมควร โดยแบงเปน 3 ประเภท
ดังนี้
     1. ไฟลรูปภาพ Picture File ไดแกไฟล
         - JPEG Images (*.jpg, *.jpeg)
         - GIF Images (*.gif)
         - Portable Network Graphics (*.png)
         - Bitmaps (*.bmp)
         - Icons (*.ico)
         - Enhanced Metafiles (*.emf)
         - Metafiles (*.wmf)
         สรางสไลดขึ้นมาหนึ่งสไลด หรือจะนําสไลดที่มีอยูแลวก็ได คลิกเมนู Insert, Image… หรือคลิกที่แถบ
         เครื่องมือ Object Tools ใชคียลัดไดดวยการกดปุม <Shift + Ctrl + M> โปรแกรมจะเปดหนาตาง
ขึ้นมาใหม เพื่อใหเลือกไฟลรูปที่ตองการ
Macromedia Captivate                                                                                      32




                                                                   ตองการใหรูปโปรงใสหรือเปลา
                                                                   สามารถเพิ่มคาหรือลดคาได




                                                                   รูปที่เลือกมา




    2. ไฟลเสียง Audio File ไดแกไฟล
       - Wave Files (*.wav)
       - MP3 Files (*.mp3)
       ในการนําไฟลเสียงที่มีอยูแลวนั้นสามารถจะนําเขามาไดตอเมื่อวัตถุนั้นๆ มีบัตรรายการ Audio มาให ถา
       มีบัตรรายการนี้เมื่อไหรก็สามารถที่จะนําไฟลเสียงเขามาประกอบการแสดงผลได

    3. ภาพเคลื่อนไหว Animation Files ไดแกไฟล
        - Macromedia SWF Files (*.swf)
        - Compuserver Animated GIF Files (*.gif)
        - Windows AVI Files (*.avi)
        - FLA Projectes (*.fla)
        ในการนําภาพเคลื่อนไหว หรือ Animation สามารถนําเขามาไวในสไลดไดเลยโดยคลิกที่เมนู Insert,
Animation… คลิกที่แถบเครื่องมือ Object Tools          ใชคียลัดไดดวยการกดปุม <Shift + Ctrl + A> โปรแกรม
จะเปดหนาตางขึ้นมาใหม เพื่อใหเลือกไฟลรูปที่ตองการ
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate
Macromedia Captivate

Contenu connexe

Tendances

Thailand E-commerce 2008 Forum2
Thailand E-commerce 2008 Forum2Thailand E-commerce 2008 Forum2
Thailand E-commerce 2008 Forum2Ouizz Saebe
 
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2tltutortutor
 
G­HB 구해요 『텔­레&카톡 BF258 _ 라인 KS346』 흥­분­제판­매처 흥­분­제직거래
G­HB 구해요 『텔­레&카톡 BF258 _ 라인 KS346』 흥­분­제판­매처 흥­분­제직거래 G­HB 구해요 『텔­레&카톡 BF258 _ 라인 KS346』 흥­분­제판­매처 흥­분­제직거래
G­HB 구해요 『텔­레&카톡 BF258 _ 라인 KS346』 흥­분­제판­매처 흥­분­제직거래 wanghaliui
 
여성최­음­제팝니다 (라인ks346 ◈ 카톡& | 카톡&텔레 : BF258)여성최­음­제판매하는곳 최­음­제구입
여성최­음­제팝니다  (라인ks346  ◈ 카톡&  |  카톡&텔레 : BF258)여성최­음­제판매하는곳 최­음­제구입여성최­음­제팝니다  (라인ks346  ◈ 카톡&  |  카톡&텔레 : BF258)여성최­음­제판매하는곳 최­음­제구입
여성최­음­제팝니다 (라인ks346 ◈ 카톡& | 카톡&텔레 : BF258)여성최­음­제판매하는곳 최­음­제구입haili25
 

Tendances (15)

Smart Purse Internet Payment User Manual
Smart Purse Internet Payment User ManualSmart Purse Internet Payment User Manual
Smart Purse Internet Payment User Manual
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
Thailand E-commerce 2008 Forum2
Thailand E-commerce 2008 Forum2Thailand E-commerce 2008 Forum2
Thailand E-commerce 2008 Forum2
 
How to read article
How to read articleHow to read article
How to read article
 
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
รายงานเครื่องชี้การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2551
 
Case Study 3 -OD & Change
Case Study 3 -OD & ChangeCase Study 3 -OD & Change
Case Study 3 -OD & Change
 
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
 
KKU Faculty Staff Development
KKU Faculty Staff DevelopmentKKU Faculty Staff Development
KKU Faculty Staff Development
 
Irfanview
IrfanviewIrfanview
Irfanview
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3
 
P F1
P F1P F1
P F1
 
Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2
 
US Financial Crisis (Jan 09)
US Financial Crisis (Jan 09)US Financial Crisis (Jan 09)
US Financial Crisis (Jan 09)
 
G­HB 구해요 『텔­레&카톡 BF258 _ 라인 KS346』 흥­분­제판­매처 흥­분­제직거래
G­HB 구해요 『텔­레&카톡 BF258 _ 라인 KS346』 흥­분­제판­매처 흥­분­제직거래 G­HB 구해요 『텔­레&카톡 BF258 _ 라인 KS346』 흥­분­제판­매처 흥­분­제직거래
G­HB 구해요 『텔­레&카톡 BF258 _ 라인 KS346』 흥­분­제판­매처 흥­분­제직거래
 
여성최­음­제팝니다 (라인ks346 ◈ 카톡& | 카톡&텔레 : BF258)여성최­음­제판매하는곳 최­음­제구입
여성최­음­제팝니다  (라인ks346  ◈ 카톡&  |  카톡&텔레 : BF258)여성최­음­제판매하는곳 최­음­제구입여성최­음­제팝니다  (라인ks346  ◈ 카톡&  |  카톡&텔레 : BF258)여성최­음­제판매하는곳 최­음­제구입
여성최­음­제팝니다 (라인ks346 ◈ 카톡& | 카톡&텔레 : BF258)여성최­음­제판매하는곳 최­음­제구입
 

En vedette

การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่Teemtaro Chaiwongkhot
 
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
คู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google Docsคู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google DocsKanda Runapongsa Saikaew
 
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีkruwaeo
 
CLE-based learning model
CLE-based learning modelCLE-based learning model
CLE-based learning modelMETRO DESIGN
 
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13พัน พัน
 

En vedette (11)

Adobe captivate 4
Adobe captivate 4Adobe captivate 4
Adobe captivate 4
 
Microsoft Office PowerPoint 2007
Microsoft Office PowerPoint 2007Microsoft Office PowerPoint 2007
Microsoft Office PowerPoint 2007
 
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
การตัดต่อวีดิทัศน์ ด้วยโปรแกรม Sony vegas สำหรับเผยแพร่
 
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
 
คู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google Docsคู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google Docs
 
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
CLE-based learning model
CLE-based learning modelCLE-based learning model
CLE-based learning model
 
Desktop Author 5
Desktop Author 5Desktop Author 5
Desktop Author 5
 
Ebook flip
Ebook flipEbook flip
Ebook flip
 
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
 

Plus de Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Macromedia Captivate

  • 1. สรางสื่อเรียนรูอยางงายดวย Macromedia Captivate โดย บุญเลิศ อรุณพิบูลย และบุญเกียรติ เจตจํานงนุช ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค) วันที่ 16 ธันวาคม 2549
  • 2. สารบัญ เทคโนโลยีการเรียนการสอนดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส ..................................................................1 CAI ........................................................................................................................................1 WBI .......................................................................................................................................2 WBI/WBL/WBT................................................................................................................2 คุณสมบัติของ WBI............................................................................................................3 e-Learning..............................................................................................................................4 ระบบบริหารจัดการการเรียนรู (LMS: Learning Management System)................................6 ระบบการจัดการขอมูลเว็บไซต (CMS: Content Management System)................................8 Open Source e-Learning System: LearnSquare.....................................................................9 สวนประกอบของระบบ LearnSquare ...............................................................................9 การติดตั้ง LearnSquare.....................................................................................................10 การสรางเนื้อหาวิชา..........................................................................................................11 จุดเดนของโปรแกรม ...............................................................................................................16 ความตองการระบบ..............................................................................................................17 การเรียกใช ...........................................................................................................................17 เริ่มตนสรางผลงานใหม........................................................................................................18 จอภาพการทํางาน ................................................................................................................20 ทํางานกับไฟล Movie ..............................................................................................................22 สรางไฟลใหม ......................................................................................................................22 เปดไฟล................................................................................................................................22 ปดไฟล .................................................................................................................................22 การบันทึกไฟล .....................................................................................................................23 สรางงานจากการ Capture จอภาพ ...........................................................................................23 การสราง Text Animation ....................................................................................................29 การนําเขาไฟล ......................................................................................................................31 การสงออกไฟล (Publish)........................................................................................................33 การสรางสื่อ e-Learning ตอบโตกับผูเรียน ..............................................................................35 กําหนดหัวขอหรือวิชาในการที่จะสราง ...............................................................................35 ขั้นตอนการออกแบบ .......................................................................................................35
  • 3. แยกชินงานตามไฟลที่กําหนด..........................................................................................35 ้ การเตรียมตัวเบื้องตน .......................................................................................................36 สรางชิ้นงานของหนาตอนรับ และวัตถุประสงค ..................................................................36 สรางชิ้นงานวัตถุประสงค ....................................................................................................41 สรางชิ้นงาน Menu...............................................................................................................46 สรางชิ้นงานแบบทดสอบกอนเรียน และหลังเรียน..............................................................50 จัดการกับไฟล posttest.....................................................................................................54 จัดการกับไฟล pretest.......................................................................................................56 สรางชิ้นงานเนื้อหา ..............................................................................................................58 สรางชิ้นงานสรุป..................................................................................................................59 ทดสอบการแสดงผล............................................................................................................60 บทสรุป ................................................................................................................................60 ภาคผนวก.................................................................................................................................61
  • 4. Macromedia Captivate 1 เทคโนโลยีการเรียนการสอนดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส การพัฒนาสื่อเพื่อใชในการเรียนการสอนมีพัฒนาการมายาวนาน เนื่องจากสื่อเปนตัวกลางในการ ถายทอดความรู ความเขาใจ ทักษะตางๆ จากผูสอนไปยังผูเรียนไดเปนอยางดี เปรียบเสมือนสะพานเชื่อมความคิด ระหวางกันและกัน หากสื่อไดรับการออกแบบ พัฒนาอยางดี ก็จะสามารถสรางความเขาใจในประเด็นที่ตองการ นําเสนอไดอยางถูกตองดวย กระแสสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Society) นับวาเปนกระแสที่มาแรงมาก ประเทศ สวนมากในโลกทั้งที่พัฒนาแลว และกําลังพัฒนา ตางก็กาวเขาสูการเปลี่ยนแปลงที่มีการนําเอาเทคโนโลยี สารสนเทศมารวมพัฒนากิจกรรมตางๆ ของประเทศ การศึกษานับเปนกิจกรรมหนึ่งที่มีการนําเทคโนโลยี สารสนเทศมารวมผสมผสาน นับตั้งแตการนําคอมพิวเตอรมาใชเปนสื่ออุปกรณในการเรียนการสอน การจัดทํา หลักสูตรวิชาคอมพิวเตอร จนกาวสูการใชคอมพิวเตอรพัฒนาสื่อชวยเสริมการเรียนการสอน ที่เรียกวา “สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน” หรือที่รูจักกันดีในชื่อ CAI – Computer Aided Instruction เมื่อเทคโนโลยี คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนามาถึงยุคโลกไรพรมแดน ดวยเครือขายอินเทอรเน็ต (Internet) การ เรียนการสอนก็ไดปรับเปลี่ยนรูปแบบไปอยางมาก โดยมีการนําบริการตางๆ ของอินเทอรเน็ตมาพัฒนาเปนสื่อ ถายทอดวิชาการความรูสาขาตางๆ เขาสูระบบ เพิ่มชองทางในการติดตอสื่อสารระหวางผูสอนและผูเรียน CAI ประเทศไทยไดมีการนําคอมพิวเตอร มาใชเปนเครื่องมือในการสรางสื่อการเรียน การถายทอดความรู เปนระยะเวลานานพอสมควร โดยอาจจะนับไดวา จุดเริ่มตนตั้งแตการใชคอมพิวเตอร เปนเครื่องมือในการเรียน การสอน วิชาคอมพิวเตอร จากนั้นก็มีการสรางสื่อการเรียนการสอนรูปแบบใหม แทนที่เอกสารหนังสือ ที่เรียกวา สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน หรือ CAI (Computer Aided Instruction) ซึ่งมีซอฟตแวรที่เปนเครื่องมือใหเลือกใชงาน ไดหลากหลาย ทั้งที่ทํางานบนระบบปฏิบัติการดอส เชน โปรแกรมจุฬาซีเอไอ (Chula CAI) พัฒนาโดยแพทยจาก คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โปรแกรม ThaiTas ที่ไดรับการสนับสนุนจากศูนยเทคโนโลยีเล็ก ทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ รวมถึงซอฟตแวรสําเร็จรูปจากตางประเทศ เชน ShowPartner F/X, ToolBook, Macromedia Authorware รูปที่ 1 โปรแกรมสรางบทเรียนภาษาไทย ไทยทัศน
  • 5. Macromedia Captivate 2 WBI ในปจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตไดพัฒนาเติบโตอยางรวดเร็ว และไดกาวมาเปน เครื่องมือชิ้นสําคัญที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอน การฝกอบรม รวมทั้งการถายทอดความรู โดยพัฒนา CAI เดิมๆ ใหเปนสื่อการเรียนการสอนที่อยูบนฐานของเทคโนโลยีเว็บ หรือ WBI (Web Based Instruction) สงผล ใหการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนไดรับความนิยมอยางสูง สามารถเผยแพรไดรวดเร็ว และกวางไกลกวาสื่อ CAI ปกติ ดวยประเด็นสําคัญ 3 ประการไดแก • สามารถประหยัดเงินที่ตองลงทุนในการจัดหาซอฟตแวรสรางสื่อ (Authoring Tools) ไมจําเปนตอง ซื้อโปรแกรมราคาแพงๆ มาใชเปนเครื่องมือในการสรางสื่อการเรียนการสอน เพราะสามารถใช NotePad ที่มาพรอมกับ Microsoft Windows ทุกรุน หรือ Text Editor ใดๆ ก็ไดลงคําสั่งภาษา HTML (HyperText Markup Language) สรางเอกสาร HTML ที่มีลักษณะการถายทอดความรูดาน การศึกษา • คุณสมบัติของเอกสารเว็บที่สามารถนําเสนอขอมูลไดทั้งขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดิ ทัศน และสามารถสรางจุดเชื่อมโยง (Links) ไปตําแหนงตางๆ ไดตามความตองการของผูพัฒนา • บริการตางๆ ในเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดชองทางการสื่อสารระหวางผูเรียนกับผูสอนใน ระบบ 7 × 24 และไมจํากัดดวยสถานที่ WBI/WBL/WBT สื่อการเรียนการสอนที่อยูบนฐานของเทคโนโลยีเว็บ มีการเรียกดวยคําตางๆ เชน WBI (Web Based Instruction) หรือ WBL (Web Based Learning) หรือ WBT (Web Based Training) คงมีหลายทานสงสัยวาแตละ คํามีความหมายเหมือน หรือแตกตางกันอยางไร จากการศึกษาเอกสารตางๆ และประสบการณของผูเขียน พบวา ทั้ง 3 คําคือการเรียนการสอนดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส ผานเครือขายอินเทอรเน็ตเชนเดียวกัน โดยมีจุดเดนที่ชัดเจน คือ การสงขอมูลระหวางคอมพิวเตอรจะใชโปรโตคอล TCP/IP และ HTTP และรูปแบบการเรียนการสอนก็ เปนไปไดทั้งแบบประสานเวลา (Synchronous: ตัวอยางการพูดคุยดวย IRC) และแบบไมประสานเวลา (Asynchronous: ตัวอยางการใชอีเมลในการติดตอสื่อสาร) แตเหตุผลที่มีการใชคําเรียกแตกตางกันอันเนื่องจากรูปแบบการนําไปประยุกตใช ทั้งนี้จะพบวา หนวยงาน องคกรตางๆ ที่ตองการพัฒนาระบบฝกอบรมพนักงานดวยสื่ออิเล็กทรอนิกสผานเครือขายเว็บ มักจะใช คําวา WBT ในขณะที่สถานศึกษาตางๆ จะใชคําวา WBI สวน WBL จะหมายถึงสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอ นิสกผานเครือขายเว็บ ที่ผูพัฒนาจะเปนใครก็ได ผูเรียนเปนใครก็ได จึงเนนไปที่การเรียนรูดวยตนเองตลอดชีวิต นั่นเอง (อยางไรก็ตามเอกสารเลมนี้จะใชคําวา WBI เปนหลัก เพื่อใหสอดคลองกับพัฒนาการจาก CAI นั่นเอง) ทั้งนี้ WBI นับเปนรูปแบบเริ่มตนของการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต มีทั้งรูปแบบงายๆ นําเสนอเนื้อหาวิชาการ ความรูเฉพาะดาน จนถึงระบบที่มีการสมัครสมาชิก ใหบริการเฉพาะสมาชิก เนื้อหา นําเสนอทั้งขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือการจําลองสถานการณผานระบบเครือขายก็ได
  • 6. Macromedia Captivate 3 คุณสมบัตของ WBI ิ WBI เปนระบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่ประยุกตใชคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด ไวด เว็บ และคุณสมบัติของสื่อหลายมิติ (Hyper media) ในการจัดการสภาพแวดลอมที่สงเสริมและสนับสนุนการเรียนการ สอน ในมิติที่ไมมีขอบเขตจํากัดดวยระยะทางและเวลาที่แตกตางกันของผูเรียนโดยอาจเปนบางสวนหรือทั้งหมด ของกระบวนการเรียนการสอนก็ได การใชคุณสมบัติของเครือขายเวิลด ไวด เว็บ หมายถึง การเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถปฏิสัมพันธกับ ผูสอนหรือผูเรียนอื่นเพื่อการเรียนรู โดยไมจําเปนตองอยูในเวลาเดียวกัน หรือ ณ สถานที่เดียวกัน เชน ผูเรียนนัด หมายเวลา และเปดหัวขอการสนทนาผานโปรแกรมประเภท Synchronous Conferencing System ดวยโปรแกรม ยอดนิยมเชน MSN, YahooMessenger หรือผูเรียนสามารถเรียนตามหัวขอและรวมการสนทนาในเวลาที่ตนเอง สะดวก ผานโปรแกรมประเภท Asynchronous Conferencing System เชน e-Mail หรือกระดานสนทนา (Webboard) การปฏิสัมพันธเชนนี้เปนไปไดทั้งลักษณะบุคคลตอบุคคล ผูเรียนกับกลุม หรือกลุมตอกลุม สวนการใชคุณสมบัติของสื่อหลายมิติในการเรียนการสอนผานเครือขาย หมายถึง การสนับสนุน ศักยภาพการเรียนดวยตนเอง คือ ผูเรียนสามารถเลือกสรรเนื้อหาบทเรียนที่นําเสนออยูในรูปแบบสื่อหลายมิติ ซึ่ง เปนเทคนิคการเชื่อมโยงเนื้อหาหลัก ดวยเนื้อหาอื่นที่เกี่ยวของ รูปแบบการเชื่อมโยงนี้เปนไดทั้งการเชื่อมโยง ขอความไปสูเนื้อหาที่มีความเกี่ยวของ หรือสื่อภาพ และเสียง การเชื่อมโยงดังกลาวจึงเปนการเปดโอกาสให ผูเรียนสามารถควบคุมการเรียนดวยตนเอง โดยเลือกลําดับเนื้อหาบทเรียนตามความตองการ และเรียนตาม กําหนดเวลาที่เหมาะสมและสะดวกของตนเอง รูปที่ 2 แสดงเว็บไซต WBI ของศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ
  • 7. Macromedia Captivate 4 นอกจากนี้ WBI ยังมีจุดเดนเหนือ CAI หลายประการที่ชวยสงเสริมให WBI กาวเขามาแทนที่ CAI จน เกือบเต็มระบบแลวก็วาได ดังนี้ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบจุดเดนของ CAI และ WBI CAI WBI การเผยแพร ทํางานแบบ Stand alone หรือเครือขาย ทํางานบนเครือขายอินเทอรเน็ต LAN ระบบสื่อสาร ระบบสื่อสารระหวางการเรียนเปนแบบ มีระบบสื่อสารระหวางการเรียนแบบออนไลน Manual โดยอาจจะใชชองทางสื่อสารของอินเทอรเน็ต หรือพัฒนาในระบบก็ได เครื่องมือพัฒนา ซอฟตแวรมีราคาแพง มีซอฟตแวรฟรีใหเลือกใชงานมากมาย ความสัมพันธ เปนการเรียนสวนตัว เปนการเรียนที่สามารถติดตอพบปะกับบุคคล ตางๆ ได ทั้งผูเรียนดวยกัน ผูสอน ผูทรงวุฒิ หรือบุคคลอื่นๆ ภายในเครือขายอินเทอรเน็ต ระบบติดตามผล ติดตามผลการเรียนไดยาก และตอง ติดตามผลการเรียนไดทันที โดยไมจํากัด การเรียน กําหนดสถานที่การเรียนใหชัดเจนเพื่อ สถานที่ และเวลา การติดตามผล การทํากิจกรรม ทํากิจกรรมไดยาก ทํากิจกรรมไดงาย ในลักษณะ Virtual Classroom e-Learning สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning สามารถกลาวไดวาเปนรูปแบบที่พัฒนาตอเนื่องมาจาก WBI โดยมีจุดเริ่มตนจากแผนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของชาติ สหรัฐอเมริกา (The National Educational Technology Plan’1996) ของกระทรวงศึกษาธิการสหรัฐอเมริกา ที่ตองการพัฒนารูปแบบการเรียนของนักเรียนให เขากับศตวรรษที่ 21 การพัฒนาระบบการเรียนรูจึงมีการนําเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตมาชวยเสริมอยางเปนจริงเปน จัง ดังนั้นสามารถกลาวไดวา e-Learning คือ การนําเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต โดยเฉพาะบริการดานเว็บเพจเขามา ชวยในการเรียนการสอน การถายทอดความรู และการอบรม อยางไรก็ตามความหมายของ e-Learning ก็ยังไมสามารถสรุปแนชัดลงไปได ผูเขียนจึงขอยกคําจํากัด ความจากแหลงอื่นๆ มาประกอบ เพื่อเปนแนวทางในการตีความหมายตอไป เว็บไซต http://www.capella.edu/elearning ไดใหความหมายวา “นวัตกรรมทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลง วิธีเรียนที่เปนอยูเดิม เปนการเรียนที่ใชเทคโนโลยีที่กาวหนา เชน อินเทอรเน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต ดาวเทียม วีดิโอเทป แผนซีดี ฯลฯ ดังนั้นจึงหมายรวมถึงการเรียนทางไกล การเรียนผานเว็บ หองเรียนเสมือนจริง ซึ่งมี จุดเชื่อมโยงคือ เทคโนโลยีการสื่อสารเปนสื่อกลางของการเรียนรู”
  • 8. Macromedia Captivate 5 ผศ.ดร.ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดใหคําจํากัดความไว 2 ลักษณะ คือ e-Learning หมายถึง การเรียนเนื้อหา หรือสารสนเทศสําหรับการสอน หรือการอบรม ซึ่งใชการนําเสนอ ดวยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกับการใชภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศนและเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) ในการถายทอดเนื้อหา รวมทั้งใชเทคโนโลยีการจัดการหลักสูตร (Course Management System) ใน การบริหารจัดการงานสอนตางๆ • e-Learning คือ การเรียนในลักษณะใดก็ได ซึ่งใชการถายทอดเนื้อหาผานทางอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร เครือขายอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือสัญญาณโทรทัศน สัญญาณดาวเทียม ดร. สุรสิทธิ์ วรรณไกรโรจน ผูอํานวยการโครงการการเรียนรูแบบออนไลนแหง สวทช. (http://www.thai2learn.com) ไดใหคําจํากัดความของ e-Learning ดังนี้ “การเรียนรูแบบออนไลน หรือ e-Learning การศึกษา เรียนรูผานเครือขายคอมพิวเตอรอินเทอรเน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เปนการเรียนรูดวย ตัวเอง ผูเรียนจะไดเรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบดวย ขอความ รูปภาพ เสียง วีดิทัศนและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกสงไปยังผูเรียนผานเว็บเบราวเซอร โดยผูเรียน ผูสอน และเพื่อนรวมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดตอ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกันไดเชนเดียวกับการเรียน ในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดตอสื่อสารที่ทันสมัย (e-Mail, web-board, chat) จึงเปนการเรียนสําหรับ ทุกคน, เรียนไดทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime)” จากความเห็นขางตนจะพบวา e-Learning มี 2 แนวคิด คือ • กลุมหนึ่งหมายถึงการจัดระบบการเรียนรู ที่อาศัยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสทุกรูปแบบ ดังนั้น การเรียนดวยสื่อโทรทัศน วิทยุ ก็ถือวาเปน e-Learning • กลุมหนึ่งใหนิยามอิงเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต จึงหมายถึง การ จัดระบบการเรียนรูผานเครือขายอินเทอรเน็ตเปนหลัก ทั้งนี้ผูเขียนขอเสนอความหมายกวางๆ ดังนี้ “การใชทรัพยากรตางๆ ในระบบอินเทอรเน็ต มาออกแบบและจัดระบบ เพื่อสรางระบบการเรียนการ สอน โดยการสนับสนุนและสงเสริมใหเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย ตรงกับความตองการของผูสอนและ ผูเรียน เชื่อมโยงระบบเปนเครือขายที่สามารถเรียนรูไดทุกที่ ทุกเวลา และทุกคน สามารถประเมิน ติดตาม พฤติกรรมผูเรียนไดเสมือนการเรียนในหองเรียนจริง” โดยสามารถพิจารณาไดจากคุณลักษณะ ดังนี้ • เว็บไซตที่เกี่ยวของกับการศึกษา เกี่ยวของกับเนื้อหารายวิชาใด วิชาหนึ่งเปนอยางนอย หรือ การศึกษาตามอัธยาศัย • ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง จากทุกที่ทุกเวลาโดยอิสระ • ผูเรียนมีอิสระในการเรียน การบรรลุจุดประสงคการเรียนรูแตละเนื้อหา ไมจําเปนตองเหมือนกับ หรือพรอมกับผูเรียนรายอื่น • มีระบบปฏิสัมพันธกับผูเรียน และสามารถเรียนรูรวมกันได
  • 9. Macromedia Captivate 6 • มีเครื่องมือที่วัดผลการเรียนได • มีการออกแบบการเรียนการสอนอยางมีระบบ • ผูสอนมีสภาพเปนผูชวยเหลือผูเรียน ในการคนหา การประเมิน การใชประโยชนจากเนื้อหา จากสื่อ รูปแบบตางๆ ที่มีใหบริการ • มีระบบบริหารจัดการการเรียนรู (Learning Management System: LMS) • มีระบบบริหารจัดการเนื้อหา/หลักสูตร (Content Management System: CMS) รูปที่ 3 แสดงระบบ e-Learning ระบบบริหารจัดการการเรียนรู (LMS: Learning Management System) ระบบบริหารจัดการการเรียนรูทําหนาที่บริหารจัดการการเรียนการสอนผานเว็บ ประกอบดวยเครื่องมือ อํานวยความสะดวกใหแกผูสอน ผูเรียน ผูดูแลระบบ เชนระบบสมาชิกสําหรับการสมัครเรียน ตรวจสอบการเขา เรียน ชื่อผูที่เขาเรียน ความกาวหนาในการเรียน บทที่เรียน เวลาที่เรียน ชื่อผูที่ลงทะเบียนเรียน นอกจากนี้ยังมี องคประกอบที่สําคัญ คือ การเก็บบันทึกขอมูล กิจกรรมการเรียนของผูเรียนไวบนระบบเพื่อผูสอนสามารถนําไป วิเคราะห ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชานั้นอยางมีประสิทธิภาพ ซอฟตแวรที่ทํางานใน ลักษณะ LMS เชน ATutor, PHPNuke, PostNuke, Moodle, LearnSquare
  • 10. Macromedia Captivate 7 รูปแสดงหนาเว็บไซตระบบ e-Learning: LearnSquare สวนสําคัญไดแกสวนสมาชิก (User Organization) ที่ใชควบคุมการเขาสูระบบ รูปแสดงระบบบริหารจัดการผูเรียน แสดงถึงขอมูลตางๆ เกี่ยวกับผูเรียน เชน ชื่อ เนื้อหาวิชาที่กําลังเรียน หรือเรียนผานไปแลว วัน/เวลาเริ่มและสิ้นสุดการเรียน สถานภาพการเรียน ตลอดจนประวัติการเขาเรียนอยาง ละเอียด ดังนี้ ทั้งนี้ระบบ e-Learning แตละระบบอาจจะมีฟงกชันแตกตางกันออกไป แลวแตลักษณะการพัฒนาหรือ ความตองการของแตละหนวยงานที่ตองการใชงาน
  • 11. Macromedia Captivate 8 ระบบการจัดการขอมูลเว็บไซต (CMS: Content Management System) ระบบที่พัฒนาคิดคนขึ้นมา เพื่อชวยลดทรัพยากรในการพัฒนาและบริหารจัดการเนื้อหาของเว็บไซต เนนระบบจัดการผานเว็บ (Web Interface) เชน การนําเสนอบทความ (Articles) เผยแพรขาวสารตางๆ (News) การ จัดการไฟลในสวนดาวนโหลด (Downloads) แบบสอบถาม (Polls) ขอมูลสถิติตางๆ (Statistics) ที่สามารถ เพิ่มเติม ดัดแปลง แกไข แลวประยุกตนํามาใชงานใหเหมาะสมตามแตรูปแบบและประเภทของเว็บไซตนั้นๆ ซอฟตแวรที่ทํางานในลักษณะ CMS เชน ATutor, PHPNuke, PostNuke, Moodle, LearnSquare ในสวน CMS รูปแสดงฟงกชันบริหารจัดการเนื้อหา ที่ผูสรางเนื้อหาสามารถเลือกไดวาจะปอนเนื้อหาในลักษณะ Authoring หรือการลงรหัส HTML ตัวอยางสวนเริ่มตนการสรางเนื้อหาที่อํานวยความสะดวกในการปอนรายการ ตางๆ ดังนี้
  • 12. Macromedia Captivate 9 รวมทั้งระบบสรางและบริหารคลังขอสอบออนไลน Open Source e-Learning System: LearnSquare การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติได พัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบ Open Source Software แบบ GNU General Public License (GNU GPL) ออกมา ภายใตชื่อเรียก “LearnSquare” ผูสนใจทุกทานสามารถนําไปใชงานไดโดย ไมตองซื้อ และสามารถดัดแปลง แกไขโปรแกรมตนฉบับ (Source Code) ไดตามที่ตองการ การดาวนโหลดโปรแกรม สามารถเขาสูเว็บไซต http://elearning.nectec.or.th แลวคลิกเลือกไอคอน LearnSquare จากหมวด “Download” จากนั้นจึงสมัครสมาชิก แลวใชบัญชีและรหัสผานที่ระบุล็อกอินเขาสูระบบ เพื่อดาวนโหลดโปรแกรม คูมือการใชงาน พรอมทั้งตัวอยางบทเรียน สวนประกอบของระบบ LearnSquare ระบบ LearnSquare แบงไดเปน 3 กลุมใหญๆ คือ การจัดการกับสมาชิก การจัดการเกี่ยวกับหลักสูตร และระบบสนับสนุนการเรียน การจัดการกับสมาชิก LearnSquare ไดแบงกลุมสมาชิกเปน 4 กลุมประกอบดวย คือ ผูเรียน ผูสอน ผูดูแลระบบ และผูชวยสอน
  • 13. Macromedia Captivate 10 การจัดการหลักสูตร ระบบจะแบงวิชาที่เปดสอนออกเปนกลุมของวิชา (Schools) มีผูสอนและผูดูแล ระบบเปนผูสรางหลักสูตร โดยเนื้อหาการสอน และขอสอบของแตละวิชาจะถูกเก็บไวในระบบสรางหลักสู ตร และกําหนดชวงเวลาเรียนของวิชานั้น ผูเรียนจะเขามาลงทะเบียนและเขาเรียนไดตามตองการ ระบบสนัสนุนการเรียน ไดแก เครื่องมือตางๆ ที่ใชในการติดตอสื่อสารระหวางสมาชิก ไดแก หอง สนทนา กระดานขาว การรับ-สงขอความ สมุดบันทึก และตารางนัดหมาย โดยทุกเครื่องมือจะเปดบริการเฉพาะ สมาชิกเทานั้น จึงมั่นใจในความปลอดภัยของระบบ การติดตั้ง LearnSquare ระบบ LearnSquare สามารถใชงานไดแบบ Online และ Offline รวมทั้งใชไดทั้งในระบบปฏิบัติการ Windows และ Unix/Linux ทั้งนี้การใชระบบ Offline กับเครื่องพีซีในระบบปฏิบัติการ Windows จําเปนตอง จําลองเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชใหเปน Web Server ที่สามารถทํางานกับตัวแปลภาษา PHP และระบบฐานขอมูล MySQL โดยการติดตั้ง AppServe หรือ IIS (Internet Information Server) หรือ PWS (Personal Web Servier) หรือ Omni Httpd จากนั้นใหคัดลอกไฟลตางๆ ของโปรแกรม LearnSquare ซึ่งประกอบดวยโฟลเดอรและไฟลตาม โครงสรางดังนี้ ไปไวใน Web Server เชน กรณีที่ติดตั้ง AppServ บนเครื่องพีซี ก็คัดลอกไปไวในโฟลเดอร c:appservwwwชื่อโฟลเดอรที่จะใชงาน เชนระบุโฟลเดอรชื่อ biology ก็จะเปน c:appservwwwbiology โครงสรางไฟลและโฟลเดอรของ LearnSquare จากนั้นเรียกใชงานโปรแกรมเว็บเบราวเซอร ที่บรรทัด Address ใหพิมพคําสั่งติดตั้ง เชน http://127.0.0.1/biology/install.php (เปลี่ยนคา 127.0.0.1/biology ใหตรงกับระบบที่ใชจริง) จากนั้นจะเขาสู จอภาพการติดตั้งโปรแกรมที่ทํางานงาย ดวยคําอธิบายภาษาไทยแตละจอ ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ก็จะได เว็บไซต e-Learing ที่พรอมใชงานไดทันที หมายเหตุ ศึกษาวิธีการติดตั้งอยางละเอียดจากเว็บไซต http://elearning.nectec.or.th
  • 14. Macromedia Captivate 11 การสรางเนื้อหาวิชา LearnSquare มีระบบบริหารจัดการเนื้อหาวิชา ที่อํานวยความสะดวกใหครู และผูดูแลระบบสราง หรือ นําเขาเนื้อหาวิชาไดงาย ทั้งจากเครื่องมือสรางที่โปรแกรมจัดเตรียมให การนําเขาเนื้อหาวิชาตามมาตรฐาน SCORM (Sharble Content Object Reference Model) การลิงกไปหาเนื้อหาวิชาในฟอรแมตมาตรฐาน เชน HTML, PDF, Windows Movie Format (.wmv) และ Flash Movie (.swf), PowerPoint slide (.mht) การสรางเนื้อหาวิชาจากเครื่องมือของระบบ การสรางเนื้อหาวิชาจากเครื่องมือของระบบ หรือ Content Authoring ทําไดโดยการล็อกอินเขาสูระบบ (อาจจะเปนครู หรือผูดูแลระบบก็ได) จากนั้นเลือกเมนู “จัดการระบบ” แลวเลือกไอคอน Courses เมื่อคลิกเลือกไอคอน Courses จะปรากฏจอภาพการสรางหลักสูตรคลิกปุม Create เพื่อเริ่มเขาสูการ สรางเนื้อหา โดยจะตองเลือกกลุมวิชา (สามารถปรับแกไขกลุมวิชา ไดจากไอคอน School จากจอภาพจัดการ ระบบ) แลวระบุรหัสวิชา, ชื่อหลักสูตร และเนื้อหาโดยยอของหลักสูตร (จําเปนตองปอนใหครบทุกรายการ) สําหรับรายการอื่นๆ สามารถเลือกปอนไดตามความเหมาะสม
  • 15. Macromedia Captivate 12 เมื่อปอนรายการตางๆ แลวจะมีตัวเลือก 2 ตัวเลือกดานลาง คือ “เรียนไดตลอดเวลา (ไมตองลงทะเบียน” สําหรับการกําหนดใหเนื้อหาวิชานี้เปดเรียนไดฟรี หรือเฉพาะสมาชิกเทานั้นที่จะเรียนได ถาตองการใหเฉพาะ สมาชิกเทานั้นที่เขามาเรียนได ไมตองคลิกเลือกรายการนี้ อีกรายการคือ “เปดใชงาน” บางครั้งอาจจะตองใชเวลา ในการสรางเนื้อหาวิชานาน ยังไมพรอมเปดใหเรียน เมื่อพัฒนาเรียบรอยแลวจึงจะเปดเรียน ก็คอยคลิกเลือก “เปด ใชงาน” จากนั้นใหคลิกปุม “สรางหลักสูตร” ก็จะปรากฏจอภาพการสรางเนื้อหาวิชาแตละบทเรียน ดังนี้ คลิกปุม “เพิ่มบทเรียน” เพื่อเริ่มสรางเนื้อหาแตละบท ปอนรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาตามจอภาพ ทั้งนี้โปรแกรมจะสรางไฟล HTML พรอมกําหนดชื่อ ไฟล และโฟลเดอรใหอัตโนมัติเมื่อคลิกปุม “เพิ่มบทเรียน” บทเรียนที่เพิ่มแลวสามารถใสเนื้อหาไดโดยเลื่อนเมาส มาชี้ที่ชื่อบทเรียนที่ตองการ แลวเลือกคําสั่ง “สราง/แกไขบทเรียน” รายการคําสั่งควบคุม การบริหารบทเรียน
  • 16. Macromedia Captivate 13 เมื่อเลือกรายการ “สราง/แกไขบทเรียน” จะปรากฏเครื่องมือสรางเนื้อหา (Content Authoring) ดังนี้ การใชงานเครื่องมือสรางเนื้อหา ใหยึดหลักการพิมพงานสรางงานดวย Microsoft Word ที่ทานคุนเคย ทั้งนี้จะพบวาเครื่องมือตางๆ มีลักษณะคลายคลึงกับเครื่องมือใน Microsoft Word นั่นเอง เมื่อสรางเนื้อหาตางๆ แลวจึงคลิกปุม Save เพื่อบันทึกเนื้อหา จุดเดนของเครื่องมือสรางเนื้อหา LearnSquare คือสามารถคัดลอกเนื้อหาจากโปรแกรมอื่นๆ ที่ใชอยู เชน Microsoft Word แลวนํามาวาง (Paste) ไดทันที รวมทั้งสามารถแบงเนื้อหาเปนหนาจอยอยๆ โดยการพิมพ คําสั่งบังคับ คือ {PAGE} คั่นเนื้อหาที่ตองการแบงจอภาพ คําสั่ง {PAGE} เปน คําบังคับใชแสดงผล หนาใหม เมื่อนําเสนอเนื้อหาผานเว็บเบราวเซอร จะปรากฏแถบเมนูแสดงจํานวนหนาเอกสาร พรอมปุมเลื่อนดู เนื้อหาโดยอัตโนมัติ
  • 17. Macromedia Captivate 14 การสรางเนื้อหาวิชาจากไฟลภายนอก ไฟลเนื้อหาในรูปแบบ HTML, PDF, Windows Movie Format (.wmv) และ Flash Movie (.swf), PowerPoint slide (.mht) สามารถนําเขาสูบทเรียนไดงาย สะดวก และรวดเร็ว โดยไมตองมาเสียเวลาลงรหัส HTML เพียงแตเตรียมไฟลตางๆ ใหพรอม จากนั้นเขาสูโหมดการสรางเนื้อหาวิชา เลือกบัตรรายการ “จัดการไฟล” เลือกไฟลที่ตองการแลวโอนเขาสูระบบดวยปุม Upload จากนั้นกลับมาที่บัตรรายการ “บทเรียน” สรางบทเรียนใหม (หรือจะนําบทเรียนเดิมมาแกไขก็ได)
  • 18. Macromedia Captivate 15 เมื่อสรางบทเรียนใหม โดยการเลื่อนเมาสไปชี้ที่บทเรียนที่มีอยูเดิม เลือกคําสั่ง “เพิ่มบทเรียน” ใหปอน รายละเอียดเนื้อหาบทเรียน เฉพาะรายการไฟลบทเรียน ใหคลิกเลือกหาไฟลเนื้อหาวิชาที่ได Upload ไปกอนหนา (ตัวอยางเลือกไฟลชื่อ 012search.swf ซึ่งเปน Flash Movie) เพียงไมกี่ขั้นตอน ก็จะไดบทเรียนที่เชื่อมโยงกับไฟลเนื้อหาวิชาในฟอรแมตตางๆ ตามตองการ
  • 19. Macromedia Captivate 16 Macromedia Captivate สื่อ e-Learning นั้นจะเปนสื่อที่เผยแพรอยูบนอินเทอรเน็ตมากมาก เพียงแคเราอยากที่จะรูเรื่องอะไรก็เขา ไปคนหา ก็จะเจอเรื่องที่เราตอง เปรียบเสมือนการแลกเปลี่ยนขอมูลกัน โดยขอมูลที่ไดมานั้นคนอื่นเปนผูสราง ขึ้นมา แตถาเราอยากจะสรางบางละจะทําไดหรือเปลา คําตอบคือทําไดครับ ซึ่งจะมีวิธีการสรางอยูในบทความ เรื่องนี้ อยางเปนขั้นเปนตอนสามารถที่จะทําตามไปไดเลย แตกอนอื่นตองกลาวถึงรูปแบบของสื่อที่เปน e- Learning กอน การสรางสื่อ e-Learning เพื่อเผยแพรบนอินเทอรเน็ตนั้น มีขอที่ตองคํานึงหลายขอดวยกัน ดังนั้น ขอจํากัดแตละขอจะกลาวถึงโดยอธิบายอยูในเนื้อหาเลย ในการสรางสื่อเอกสารชุดนี้นั้นจะใชโปรแกรม Macromedia Flash, และ Macromedia Captivate ในการสรางเปนหลัก และใชโปรแกรม Macromedia Firework ในการแกไขภาพ การสรางสื่อใหรวดเร็วนั้น ควรที่จะหาเครื่องมือมาชวยในการสรางเพราะการที่จะสรางดวยโปรแกรม เพียงโปรแกรมเดียวนั้นคงตองใชเวลานานบางครั้งอาจจะตองลงมือเขียนโปรแกรมเองหรือใส Script ซึ่งบางคน อาจจะตองไปศึกษาภาษา Script ในการเขียนทําใหตองใชเวลาในการศึกษาอีก จึงทําใหงานที่จะสรางนั้นตองยืด ออกไปอีก แตถามีเครื่องมือที่มาชวยสรางและไมตองไปศึกษาภาษา Script ก็จะดีมากและจะทําใหงานออกมาได เร็วยิ่งขึ้น โปรแกรม Macromedia Captivate เปนโปรแกรมที่ใชในการสรางสื่อในรูปแบบของ e-learning โดยเฉพาะ เนื่องจากเปนโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยเฉพาะ อีกทั้งยังสามารถเปนสื่อที่ใชเรียนรูได ทั้ง ออนไลนและออฟไลน ที่เรียกวา Rich Text Media ที่อยูในรูปแบบของ CD ROM ไดเปนอยางดี เพราะเมื่อ เทียบกับโปรแกรมในลักษณะเดียวกัน ไมวาจะเปน Lotus Screencam, WinCam2000 Professional หรือ Techsmith Camtasia แลว Macromedia Captivate มีขอดีกวาหลายอยาง เพราะนอกจากจะจับภาพการสาธิต หนาจอคอมพิวเตอรไดเหมือนโปรแกรมทั่วๆ ไปแลว ยังมีความสามารถในเรื่องของการสรางคําถามในรูปแบบ ตางๆ ไดอยางครอบคลุม และหลากหลาย รวมถึงสามารถใชงานรวมกับเว็บแอปพลิเคชันแบบ e-Learning ใน ระบบ LMS อยาง Blackboard หรือกับโปรแกรมสําหรับสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวนสอน (CAI) อยาง Macromedia Authoreware, Asymetrix Toolbook ที่ไดรับความนิยมอยางมากไดเปนอยางดี จุดเดนของโปรแกรม • สรางสื่อการเรียนรูหรือสื่อนําเสนอมัลติมีเดียไดอยางงายดาย • ตัดตอวิดีโอไดทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว • สรางสื่อการเรียนรูโดยการจัดภาพหนาจอ (Screen capture movie) ประกอบเสียงบรรยาย เหมาะ สําหรับการนําไปใชเปนสื่อการเรียนการสอน • สรางแบบทดสอบไดหลายประเภททั้งปรนัย จับคู ไดอยางงาย • นําเขาไฟลจากแหลงตางๆ ไดหลายฟอรเมต ไฟลรูปภาพ (Image) เชน JPG,BMP,GIF
  • 20. Macromedia Captivate 17 ไฟลเสียง (Sound) เชน MP3, WAV เสียงบรรยายผานไมโครโฟน ไฟลวิดีโอ (Video) เชน AVI สไลดจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint • สงออกไฟลไดหลายรูปแบบ Flash movie File (.swf) ลักษณะเชนเดียวกับโปรแกรม Macromedia Flash HTML File (.html) สําหรับการนําไปใชกับเว็บไซต EXE File (.exe) สําหรับการนําไปใชแบบ Stand alone คือการแสดงผลโดยไมตองติดตั้ง โปรแกรมเพื่อแสดงผล ความตองการระบบ การใชงานโปรแกรม Macromedia Captivate ควรมีคอมพิวเตอรคุณสมบัติขั้นต่ําดังนี้ • Microsoft Windows 2000 หรือ Windows XP • Computer Intel Pentium III processor 600-MHz หรือ เทียบเทา o 128 MB of RAM (แนะนํา 256 MB) o พื้นที่วางฮารดดิสก 100 MB o จอภาพความละเอียด 800 × 600 จุดตอนิ้ว (แนะนํา 1024 × 768 จุดตอนิ้ว) การเรียกใช • คลิกปุม • เลือกรายการ Program, Macromedia, Macromedia Captivate รอสักครูจะปรากฏหนาตางการ ทํางาน • จากจอภาพดังกลาว มีโหมดการทํางานใหเลือกไดหลายลักษณะ
  • 21. Macromedia Captivate 18 1) Open a recent movie แสดงไฟลลาสุดที่เคยบันทึกไวในโปรแกรม และสามารถเปด ไฟลในรายการนี้ได 2) Record new movie สําหรับสราง movie 3) Other movie types สําหรับนําเขา Movie, สราง Movie จากแมแบบ, สรางเมนู) 4) Getting started movies แนะนําวิธีการสรางงานดวย Macromedia Captivate โดยมี เนื้อหาดังตอไปนี้ • การสรางชิ้นงาน • การแกไขชิ้นงาน • การสงออกชิ้นงาน • การนําไฟลเสียงเขามารวมกับชิ้นงานที่ไดทํา • การสรางสวนตอบโต หรือ Interactivity • การใสลูกเลนตางๆ เพื่อเพิ่มความนาสนใจใหกับชิ้นงาน เริ่มตนสรางผลงานใหม • คลิกที่ Record of create a new movie จะปรากฏหนาตาง New movie options • เลือกรูปแบบการสรางงาน o Application การ Capture Movie ทั้งหนาจอ o Custom size การ Capture Movie แบบกําหนดหนาจอดวยตนเอง o Full screen การ Capture Movie ทั้งหนาจอ o Blank movie การสราง Movie ในการกําหนดรูปแบบของตนเองทั้งหมด o Image movie การสราง Movie ดวยรูปภาพที่เตรียมไว • เลือก Blank movie เพื่อกําหนดรูปแบบการสรางในแบบที่ตองการ
  • 22. Macromedia Captivate 19 • User defined (custom) กําหนดขนาดของจอภาพที่ตองการบันทึกโดยระบุความกวาง และความสูงเอง • Preset size กําหนดขนาดของจอภาพที่ตองการบันทึก โดยเลือกขนาดที่ โปรแกรมมีมาให • เมื่อรูปแบบที่ตองการไดแลว คลิกปุม OK จะไดหนาตางงานขึ้นมา
  • 23. Macromedia Captivate 20 จอภาพการทํางาน จอภาพการทํางานของโปแกรม ประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้ Main Toolbar Layer Time Line Document Tab Stage & Workspace Object Tools Alignment Tools • แถบเครื่องมือหลัก (Main Toolbar) แถบเครื่องมือควบคุมการทํางานหลักของโปรแกรม เชน การบันทึกไฟล การแสดงผล การสงออก ไฟล เปนตน โดยสามารถควบคุมโดยคลิกเลือกคําสั่ง View, Main Toolbar • Document Tab สวนควบคุมเอกสาร สามารถคลิกเพื่อสลับเปลี่ยนจอภาพเอกสาร Storyboard แท็บรูปแบบของชิ้นงานที่แสดงชิ้นงานทั้งหมดเปนแบบสไลด (Frame) Edit แท็ลรูปแบบของชิ้นงานที่แสดงเปน Timeline สามารถแกไขชิ้นงานที่ละสไลดโดย เลือกสไลดที่ตองการจะแกไข
  • 24. Macromedia Captivate 21 • Timeline Timeline เปนสวนหนึ่งที่สามารถแกไขได หรือปรับเปลี่ยนชวงเวลาได แตตองเปลี่ยนสวนควบคุม เอกสารเปนสวนของ Editที่ทําหนาตางควบคุมการนําเสนอผลงาน สามารถเปด/ปดดวยคําสั่ง View, Show Timeline • Stage & Workspace Stage และ Workspace เปนพื้นที่สวนใหญของหนาตางโปรแกรม มีลักษณะการทํางานคลายๆ กับ เวทีการแสดง • Object Tools เปนเครื่องมือสําหรับการสรางวัตถุ เมื่อคลิกเพิ่มจะปรากฎบน Time line เหมือนเปน Layer • Alignment Tools เปนเครื่องมือในการจัดตําแหนงวัตถุใน Work Area • Layer สวนควบคุมการสรางชั้นงาน เพื่อใหชิ้นงานแตละชิ้นมีอิสระ และสะดวกตอการแกไข ปรับแตง
  • 25. Macromedia Captivate 22 ทํางานกับไฟล Movie ไฟลของ Captivate เรียกวา Movie มีสองฟอรแมตหลัก คือไฟลตนฉบับ ซึ่งมีสวนขยายเปน .cp และ ไฟลที่พรอมนําไปใชงาน ซึ่งมีสวนขยายเปน .swf การสราง/เปดแกไขจะทํางานกับไฟลตนฉบับ นอกจากนี้ยังมี ไฟลใชงานฟอรแมต zip ที่ zip ไฟลงานทั้งหมดใหโดยอัตโนมัติ และสรางไฟล html ใหเรียบรอยใชสําหรับการ เรียกใชงานผานเบราวเซอรไดอีกดวย สรางไฟลใหม การสรางไฟลใหมของ Captivate มีวิธีการเรียกใชงานหลายลักษณะ เชน จากจอภาพ Start Page สามารถ เลือกการสรางไฟลใหมได 2 ลักษณะคือ • Record new movie กรณีที่ตองการสราง Movie โดยการเริ่มตนดวยตนเองทั้งหมด • Other movie types กรณีที่ตองการสราง Movie จากแมแบบที่ Captivate เตรียมไวให นอกจากนี้ยังสามารถเลือกคําสั่งไดจากเมนูคําสั่ง File, Record or create a new movie... เปดไฟล ไฟลที่สรางไวแลวเปดขึ้นมาแสดงผลไดดวยคําสั่ง File, Open... หรือใชคียลัด Co ไฟลตัวอยางของ Captivate เปดผาน C:My DocumentsMy Captivate Projectes Samples ปดไฟล ไฟลที่สราง หรือเปดอยู หากตองการปดไฟล สามารถใชคําสั่ง File, Close ทั้งนี้ไฟลที่ยังไมไดผานการ บันทึก โปรแกรมจะแสดงกรอบเตือน ถาตองการบันทึกไฟลกอนปด ก็คลิกปุม Yes เพื่อเขาสูโหมดการบันทึก ไฟล แตถาตองการปดไฟลโดยไมบันทึกก็คลิกปุม No หรือคลิกปุม Cancel เพื่อยกเลิกการปดไฟล กลับสูจอภาพ สรางงานตามปกติ
  • 26. Macromedia Captivate 23 การบันทึกไฟล Movie ที่สรางแลว หรือปรับแตงแกไขแลว ควรบันทึกไฟล จะไดสวนขยายเปน .cp การบันทึกไฟล สามารถใชคําสั่ง File, Save… หรือกดปุม Cs หรือคลิกปุม จาก Main Toolbar ซึ่งจะปรากฏ จอภาพการบันทึกไฟล ดังนี้ เลือกไดรฟ และโฟลเดอร ตั้งชื่อไฟล แลวคลิกปุม Save จุดสังเกตวาไฟลไดผานการบันทึกแลวหรือไม ก็ดูไดจากชื่อไฟลใน Title Bar หากมีเครื่องหมาย * แสดงวายังไมผานการบันทึก สรางงานจากการ Capture จอภาพ ฟงกชันหนึ่งของโปรแกรม Captivate เปนลักษณะการทํางานที่ใชความสามารถ Capture หนาจอเปน ภาพ เหมือนการถายภาพใหตอเนื่องกันเปนเฟรม สามารถแสดงผลเปนแบบภาพเคลื่อนไหวหรือที่เรียกวาสื่อ มัลติมีเดียนั่นเอง ซึ่งมีขั้นตอนการสรางงานดังนี้ 1. เปดโปรแกรม Macromedia Captivate โดยไปที่ Start, Program, Macromedia, Macromedia Captivate 2. เลือกรายการ Record or create a new movie 3. ในที่นี้จะสรางสรรคงานดวยรูปแบบที่กําหนดเองและกระดาษเปลา โดยเลือก Blank movie แลว คลิก OK
  • 27. Macromedia Captivate 24 4. กําหนดขนาดของหนาจอการทํางาน เชนกําหนดเองเปน 800 × 600 pxs 5. เมื่อกําหนดขนาดไดแลวคลิก OK จะปรากฏหนาตางดังนี้
  • 28. Macromedia Captivate 25 6. เริ่มการทํางานของโปรแกรมโดยคลิก Record ที่อยูบน Main Toolbar 7. คลิกปุม OK ในหนาตางนี้แลวจะไดกรอบสีแดงที่มีขนาด 800 × 600 ที่ไดกําหนดไวในตอนแรก เมื่อไดกรอบสีแดงกับเครื่องมือที่ควบคุมการบันทึก เมื่อไดเครื่องมือทั้งสองอยางแลวใหยอ โปรแกรมที่ ตองการบันทึกไวในกรอบนี้ เนื่องจากโปรแกรมจะบันทึกหรือ Capture ภาพ เฉพาะที่อยูในกรอบสีแดงทานั้น 8. ไดหนาตางที่มีปุมในการบันทึก เหมือนการบันทึกวีดีโอ • Record specific window เปนการเลือกโปรแกรมหรืองานที่จะบันทึก • Record narration เปนการบันทึกเสียงบรรยายพรอมๆ กับการ Screen capture movie • Recording size ขนาดของ Capture movie • Options… เปนการปรับแตงเพิ่มเติม • Record เริ่มบันทึกการ Capture movie หนาจอ
  • 29. Macromedia Captivate 26 9. คลิกปุม Record เพื่อเริ่มการบันทึกหรือ Capture movie หนาจอ โดยโปรแกรมจะบันทึกตอเมื่อมี การคลิกเมาส หนึ่งครั้งตอหนึ่งสไลด เมื่อบันทึกเสร็จแลวหรือตองการหยุดใหกดปุม <End> เพื่อ ยุติการบันทึก โปรแกรมจะโหลดภาพหรือสไลดที่ได Capture ขึ้นมา 10. ตองการแกไขสไลดสามารถทําไดโดยคลิกที่ Document Tab มาที่แท็บ Edit จะปรากฏ Timeline ของแตละสไลด ปรับแตง Timeline โปรแกรมจะสรางขอความใหเมื่อ มีการคลิกเครื่องมือตางๆ สามารถ แกไขไดดวยการดับเบิลคลิก 11. การปรับแตง Timeline • โดยปกติเวลาของสไลดจะอยูที่ 4 วินาทีถาไมมีการคลิกเมาสหรือหยุดไว 10 วินาที หลังจาก คลิกสไลดที่ 2 ใน Timeline จะตองมีระยะเวลาหางกัน 10 วินาที แตโปรแกรมนี้จะไมเอา 10 วินาทีนั้นมาจะปรับเปน 4 วินาทีแทน โดยถาคลิกเมาสเร็วกวานั้นก็จะบันทึกไดเร็วกวา 4 วินาทีเวลาในการแสดงผลนั้นขึ้นอยูกับการคลิกเมาสของผูบันทึก สามารถปรับขยายหรือลด เวลาไดอยางอิสระ • วัตถุที่วางบนสไลดจะวางเรียงกันเปนเลเยอร (Layer) ถาตองการปรับแตง layer ไหนก็คลิก ลาก layer นั้นได • สามารถเพิ่ม Timeline ไดดวยเครื่องมือ Object Tools และ Alignment Tools
  • 30. Macromedia Captivate 27 • เมื่อคลิกเครื่องมือใดเครื่องมือหนึ่งจะปรากฏหนาตางคุณสมบัติของเครื่องมือนั้นสามารถ ปรับแตงไดหรือปรับที่หลังก็ได โดยเครื่องมือนั้นจะไปแสดงผลในหนา Stage และบน Timline Layer 4 Layer 3 Layer 2 Layer 4 Play Sound Play Timeline Stop Timeline 12. การแกไขขอความในสไลด การแกไขขอความสามารถทําไดโดยการดับเบิลคลิกที่กรอบขอความนั้น ดับเบิลคลิกเพื่อแกไข หนาตางปรับแกไขขอความ ปรับแกไข รูปแบบ ขนาด และ สี ของฟอนต ขอความที่ตองการแกไข 13. การลบสไลดที่ไมตองการ ทําไดโดยการคลิกเลือกสไลด แลวกดปุม <Delete> หรือคลิกขวาที่ สไลดนั้นเลือก Delete ไดเหมือนกันโดยโปรแกรมจะมีขอความขึ้นมาถามเพื่อยืนยันการลบอีกครั้ง
  • 31. Macromedia Captivate 28 14. การเพิ่มสไลดหรือแทรกสไลด นั้นสามารถเพิ่มสไลดในสวนไหนก็ได ไมวาจะเปนในตอนแรก, ตอนกลาง, ตอนทาย ของงานชิ้นนี้ มีความเปนอิสระตอกัน และในการเพิ่มสไลดหรืองานนั้น โปรแกรมไดเตรียมฟงกชั่นในสวนนี้มาให โดยสามารถเพิ่ม สไลดเปลา นํารูปมาเปนสไลด เพิ่ม คําถามคําตอบ นําสไลดจาก Microsoft PowerPoint มาเพิ่มในโปรแกรม Captivate หรือจะนําไฟลอ นิเมชั่นมาเพิ่มก็สามารถทําได ในสวนนี้จะอธิบายแคการเพิ่ม สไลดเปลา ในสวนอื่นจะขออธิบาย ในหัวขอตอไป ในการเพิ่มทําไดโดย คลิกที่เมนู Insert, Blank Slide เมื่อไดเพิ่มสไลดแลวก็สราง Text animation หรือเพิ่มขอความในรูปแบบของตนเองได อีกทั้งยังเพิ่มสไลดที่เปนรูปภาพเพียง เลือก Image Slide แทนก็ได 15. ปรับแตงสไลดใหนาสนใจมากขึ้น เลือกสไลดที่ตองการปรับแตง คลิกขวาที่พื้นที่ stage เลือก Properties ปรับสีพื้นหลังของสไลด - Label ใสชื่อใหกับสไลดนี้ - Display Time การแสดงผลของสไลดนี้จะอยูที 3 วินาทีถาตองการมากขึ้นก็ใสตัวเองที่ ตองการ - Transitionใส Effect ใหกับสไลดนี้
  • 32. Macromedia Captivate 29 - Qualityเลือกคุณภาพของสีอยูในระดับไหน - Colorปรับสีพื้นหลังใหกับสไลด 16. ใสเสียงหรือนําเขาเสียงใหกับสไลด ในการใสเสียงใหกับชิ้นงานเพื่อการเปนสื่อการเรียนการรูโดยการคลิก ขวาที่ Stage เลือก Properties คลิกที่บัตรรายการ Audio Record newการใสเสียงใหกับสไลด Import การนําเขาไฟลเสียง Layer ไฟลเสียงที่บันทึกหรือนําเขา เมื่อไดบันทึกเสียงหรือนําเขาไฟลเสียงแลวจะปรากฎ layer ที่ Timeline 17. แสดง Movie เมื่อมีการปรับแตงชิ้นงาน เปนที่เรียบรอยมาถึงขั้นตอนนี้ก็จะเปนการแสดงผลงานที่ ไดสรางขึ้นมาก วิธีการดูทําไดหลายวิธีตั้งแตไปที่เมนู File, Preview, หรือคลิกที่ Main Toolbar จะมีรายการขึ้นมาใหเลือกดังนี้ Play this slide แสดงผลสไลดปจจุบันเทานั้นหรือที่เลือก Movie แสดงผลสไลดทั้งหมด From this slide แสดงผลสไลดจากปจจุบันจนจบ Next 5 slides แสดงผลสไลดถัดไป 5 สไลดเทานั้นตั้งแตสไลดที่เลือกหรือสไลดปจจุบัน ถึงจะมีมากกวาก็จะไมแสดงผล In Web Browser ใชเบราวเซอรในการแสดงผล การสราง Text Animation ในการสราง Text Animation นั้นจะเปนการสรางเพื่อนําเสนองานใหนาสนใจ หรือเพิ่มลูกเลนใหกับ งาน • คลิกที่ Object Tools ที่ชื่อ Text Animation
  • 33. Macromedia Captivate 30 ขอความที่ตองการ - Animation บัตรรายการ Text Effect เลือกรูปแบบการแสดงผลขอความ Text พิมพขอความที่ตองการ Chang font… เปลี่ยนรูปแบบ ขนาดหรือสีของตัวอักษร - บัตรรายการ Options Timing กําหนดเวลาการแสดงผลของ Movie Loop คลิกเลือกเพื่อใหแสดงซ้ํา Transition กําหนด Effect ในการเปลี่ยนฉากแตละสไลด (Frame)
  • 34. Macromedia Captivate 31 - บัตรรายการ Audio Record new… บันทึกเสียงใหม Import นําเขาไฟลเสียง Audio library… เลือกไฟลเสียงที่เคยมีการใชงานมากอนหนานี้ การนําเขาไฟล ในการนําเขาไฟลนั้นโปรแกรม Captivate รองรับไฟลประเภทตางๆ พอสมควร โดยแบงเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. ไฟลรูปภาพ Picture File ไดแกไฟล - JPEG Images (*.jpg, *.jpeg) - GIF Images (*.gif) - Portable Network Graphics (*.png) - Bitmaps (*.bmp) - Icons (*.ico) - Enhanced Metafiles (*.emf) - Metafiles (*.wmf) สรางสไลดขึ้นมาหนึ่งสไลด หรือจะนําสไลดที่มีอยูแลวก็ได คลิกเมนู Insert, Image… หรือคลิกที่แถบ เครื่องมือ Object Tools ใชคียลัดไดดวยการกดปุม <Shift + Ctrl + M> โปรแกรมจะเปดหนาตาง ขึ้นมาใหม เพื่อใหเลือกไฟลรูปที่ตองการ
  • 35. Macromedia Captivate 32 ตองการใหรูปโปรงใสหรือเปลา สามารถเพิ่มคาหรือลดคาได รูปที่เลือกมา 2. ไฟลเสียง Audio File ไดแกไฟล - Wave Files (*.wav) - MP3 Files (*.mp3) ในการนําไฟลเสียงที่มีอยูแลวนั้นสามารถจะนําเขามาไดตอเมื่อวัตถุนั้นๆ มีบัตรรายการ Audio มาให ถา มีบัตรรายการนี้เมื่อไหรก็สามารถที่จะนําไฟลเสียงเขามาประกอบการแสดงผลได 3. ภาพเคลื่อนไหว Animation Files ไดแกไฟล - Macromedia SWF Files (*.swf) - Compuserver Animated GIF Files (*.gif) - Windows AVI Files (*.avi) - FLA Projectes (*.fla) ในการนําภาพเคลื่อนไหว หรือ Animation สามารถนําเขามาไวในสไลดไดเลยโดยคลิกที่เมนู Insert, Animation… คลิกที่แถบเครื่องมือ Object Tools ใชคียลัดไดดวยการกดปุม <Shift + Ctrl + A> โปรแกรม จะเปดหนาตางขึ้นมาใหม เพื่อใหเลือกไฟลรูปที่ตองการ