SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
1

งานที่ 1 ศึกษาสาระสำาคัญ และ จดเนื้อหาลงสมุด และทำาแบบฝึกหัดที่ 1

                 สาระการเรียนรู้ที่ 1 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
                    เรื่อง ภาษาเบสิกและการเขียนโปรแกรม

สาระสำาคัญ
ประวัติความเป็นมาของภาษาเบสิก สัญลักษณ์ที่ใช้ในภาษาเบสิก ขั้นตอนการทำางาน
ของโอเปอเรชั่นในการคำานวณ การเปรียบเทียบและตรรกศาสตร์

จุดประสงค์ปลายทาง
เข้าใจความเป็นมาของภาษาเบสิกและหลักการเขียนโปรแกรม

จุดประสงค์นำาทาง
1. อธิบายหลักการเรื่องค่าคงที่และตัวแปรได้
2. อธิบายเรื่องเกี่ยวกับโอเปอเรชั่นต่าง ๆ ได้
3. อธิบายลำาดับขั้นตอนการทำางานของโอเปอเรชั่นต่าง ๆ ได้

เนื้อหา
ภาษาเบสิก (BASIC LANGUAGE) ย่อมาจากคำาว่า BASIC ไม่ได้แปลว่าพื้นฐาน หรือ
เบื้องต้น ตามพจนานุกรมภาษาอังกฤษแต่คำาว่า BASIC เป็นคำาย่อ ๆ ซึ่งมาจากคำาเต็มๆ
โดยนำาตัวอักษรตัวแรกมาเขียนเรียงกันซึ่งคำาเต็ม ๆ ก็คือ
Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code
โปรแกรมภาษาเบสิกเป็นโปรแกรมภาษาระดับสูง (High Level language) มีการพัฒนา
ขึ้นในปี ค.ศ. 1960 โดยศาสตราจารย์จอนห์ เคเมนี (John Kemeny) และศาสตราจารย์
โทมัส เคอตซ์ (Thomas Kurtz) แห่งวิทยาลัยดาร์ตเม้าท์ สหรัฐอเมริกา
การจะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางานได้ตามที่เราต้องการ โดยการใช้โปรแกรมภาษา
ระดับสูงอย่างภาษาเบสิกในการสั่งเราเรียกว่า การเขียนโปรแกรม ในความหมายของการ
เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การเขียนคำาสั่งตั้งแต่ 1 คำาสั่งขึ้นไป เพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทำางานอย่างที่ต้องการ เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถรับรู้คำาสั่งได้ค่อนข้าง
จำากัด ดังนั้นการเขียนคำาสั่งแต่ละคำาสั่งต้องอยู่ในรูปแบบ และเป็นไปตามหลักไวยากรณ์

องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
  1. ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
  2. ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำาสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้
      เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางาน (เขียนขึ้นด้วยโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์)
   3. พีเพิ้ลแวร์ หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์
          มนุษย์ติดต่อกับคอมพิวเตอร์โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ซึงเป็นโปรแกรมหรือชุด
                                                                ่
คำาสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน โดยผู้เขียนโปรแกรม(โปรแกรมเมอร์) ต้อง
เข้าใจไวยากรของภาษา
          ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 3 แบบ
          1. ภาษาเครื่อง หมายถึง ชุดคำาสั่งซึ่งประกอบด้วยเลข 0 และ 1 ซึงเครื่อง
                                                                            ่
               คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจคำาสั่งได้ และปฏิบัติตามชุดคำาสั่งนั้นได้ทันที แต่
               มนุษย์ไม่เข้าใจ
          2. ภาษาสัญลักษณ์ (ภาษาระดับตำ่า) เนื่องจากภาษาเครื่องมนุษย์ไม่เข้าใจ
               ยากต่อการจดจำา จึงพัฒนาเป็นภาษาสัญลักษณ์ขึ้น โปรแกรมที่เขียนด้วย
2

               ภาษาสัญลักษณ์ต้องอาศัยตัวแปลภาษาเพื่อทำาให้เครื่องเข้าใจต่อไป เช่น
               ภาษาแอสแซมบลี
           3. ภาษาระดับสูง เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ที่ใช้กันอยู่ ทำาให้
               เขียนโปรแกรมง่ายขึ้น ภาษาระดับสูงจะต้องอาศัยตัวแปลเป็นภาษาเครื่อง
               เสียก่อน เช่น ภาษาเบสิก ปาสคาล โคบอล เป็นต้น
           ตัวแปลภาษา
           ตัวแปลภาษา มี 2 แบบ คือ
           1. คอมไพเลอร์ หมายถึง ตัวแปรภาษาระดับสูง ที่ทำาการแปลโปรแกรมทั้งหมด
               ก่อนจึงจะทำางานตามคำาสั่ง
           2. อินเทอร์พรีเตอร์ หมายถึง ตัวแปรภาษาระดับสูงที่ทำาการแปลครั้งละหนึ่งคำา
               สั่งและทำางานทีละคำาสั่งให้เสร็จก่อนที่จะแปลคำาสั่งต่อไป

ในที่นี้เราจะเขียนโปรแกรมโดยใช้โปรแกรม ภาษาเบสิก(BASIC) กัน
          ประวัติภาษาเบสิก
          ภาษาเบสิกได้พัฒนาขึ้นมาโดยศาสตราจารย์จอห์น เคเมนี (John Kemeny)
และศาสตราจารย์โทมัส ครูสซ์ (Thomas Kurtz) แห่งมหาวิทยาลัยดารห์เมาท์
(Dartmounth College) ในกลางปี ค.ศ. 1964 ภาษาเบสิกใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ขนาด
เล็กถึงขนาดใหญ่ มีการพัฒนาจนทำาให้มีภาษาเบสิกต่าง ๆ กัน เช่น TurboBasic
PowerBasic QBasic และ VisualBasic เป็นต้น
          ภาษาเบสิก ย่อมาจาก Beginner’s All Purpose Symbolic Instruction Code
โดยนำาอักษรตัวแรกมาเรียงต่อกัน
          ประโยชน์ภาษาเบสิก
          1. เป็นภาษาที่เรียนรู้และใช้งานง่าย และใช้กันอย่างแพร่หลาย
          2. เหมาะสมกับผู้ที่เริ่มเรียนเป็นภาษาแรก
          3. ใช้กับคอมพิวเตอร์ทุกขนาด ตั้งแต่ขนาดใหญ่จนถึงไมโครคอมพิวเตอร์
          4. เป็นภาษาที่ยืดหยุ่น สามารถแก้ไขปรับปรุง และพัฒนาโปรแกรมเพื่อนำาไปใช้
             งานได้ง่ายและรวดเร็ว

           *** จากประโยชน์ภาษาเบสิก เราจึงเลือกใช้ภาษาเบิสิก ในการเขียนโปรแกรม
ครั้งนี้

ค่าคงที่ (Constants)
ค่าคงที่หมายถึง ค่าของข้อมูลที่มีค่าแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง ค่าคงทีสามารถแบ่งออกได้
                                                                 ่
เป็น 3 ประเภท คือ
1. ค่าคงที่ทเป็นจำานวน (Numeric Constants) หมายถึง ค่าคงที่ที่เป็นจำานวนและนำาไป
             ี่
ใช้ในการคำานวณ จะเป็นจำานวนเต็ม หรือทศนิยมก็ได้
2. ค่าคงที่ทางตรรกศาสตร์ (Logical Constants) หมายถึง ค่าคงที่ที่แสดงถึงความเป็น
จริง (True) หรือเท็จ (False) ในภาษาเบสิกสำาหรับคอมพิวเตอร์บางระบบกำาหนดให้ 1
แทนจริงและ 0 แทนเท็จ
3. ค่าคงที่อักขระ (String Constants) หมายถึง ตังอักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป หรือเป็น
ตัวเลขปนก็ได้ ตัวอักขระจะเป็นข้อความที่มีความยาวได้ระหว่าง 1 ถึง 255 ตัวอักษร
การเขียนค่าคงที่อักขระจะต้องอยู่ภายในเครื่องหมายคำาพูดเสมอ

ตัวแปร (Variables)
ตัวแปร หมายถึง ชื่อที่ผู้เขียนโปรแกรมกำาหนดขึ้นเพื่อใช้เก็บหรือแทนข้อมูล ตัวแปรจึง
เป็นเสมือนชื่อกล่องที่เก็บข้อมูล การตั้งชื่อตัวแปรจะเป็นตัวอักษรทั้งหมดหรือมีตัวเลข
ปนก็ได้ แต่ละตัวแปรจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรเสมอ เช่น NAME SCORE X3
การตั้งชื่อตัวแปรควรตั้งชื่อให้สื่อความหมายเพื่อผู้ใช้จะได้เข้าใจง่าย ตัวแปรแบ่งเป็น 2
3

ประเภทคือ
1. ตัวแปรจำานวน (Numeric Variables) คือบอกให้รู้ว่าข้อมูลที่เก็บอยู่เป็นจำานวน
2. ตัวแปรอักขระ (String Variables) คือ ตัวแปรที่จะบอกให้รู้ว่าเก็บข้อมูลอยู่ในรูปตัว
อักษรหรือข้อความต่าง ๆ เช่น ชื่อบ้านเลขที่ จะต้องปิดท้ายด้วยเครื่องหมาย $ เช่น
NAME$ ADDRESS$

โอเปอเรชั่นในการคำานวณ การเปรียบเทียบและตรรกศาสตร์
ในการที่จะสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำาการคำานวณหรือเปรียบเทียบนั้น จะต้องมีสัญลักษณ์
แทนโอเปอเรชั่นต่าง ๆ เพื่อบอกคอมพิวเตอร์ว่าเป็นการคำานวณ หรือ การเปรียบเทียบ
ดังนี้

1. สัญลักษณ์ในการคำานวณ ซึ่งจะใช้ในการคำานวณทางคณิตศาสตร์ ได้แก่

                      สัญลักษณ์ ความหมาย            ตัวอย่าง
                             +          บวก           A+B
                             -           ลบ          145-45
                             *          คูณ            6*9
                             /          หาร          120/12
                             ^        ยกกำาลัง         Y^3


สำาหรับเครื่องหมายบวก เราสามารถใช้เครื่องหมายบวกในการเชื่อมค่าคงที่ ที่เป็นอักขระ
หรือ ตัวแปรอักขระก็ได้ ซึงจะหมายถึงการให้นำาตัวอักขระหรือค่าที่เก็บในตัวแปรอักขระ
                         ่
มาต่อกัน เช่น “GOOD”+”MORNING”,A$+B$

2. สัญลักษณ์แสดงการเปรียบเทียบ ใช้เปรียบเทียบจำานวนและเปรียบเทียบอักขระ

                    สัญลักษณ์ ความหมาย              ตัวอย่าง
                         =          เท่ากับ           X=Y
                         <          น้อยกว่า     “ANT”>”BOY”
                         >          มากกว่า      SCORE>80
                                  น้อยกว่าหรือ
                        <=                     IQ<=40
                                   เืืืท่ากับ
                                       ่
                                  มากกว่าหรือ
                        >=                    PERCENT>=90
                                    เท่ากับ
                    <>หรือ ><      ไม่เท่ากับ        X<>0
4

3. สัญลักษณ์ตรรกศาสตร์

           สัญลักษณ์         ความหมาย                    ตัวอย่าง
                                           NOT A(ถ้า A เป็นจริง (-1) ก็จะกลับ
              NOT                ไม่ใช่
                                                   เป็น 0 คือ เท็จ)
                                            X AND Y (จะเป็นจริงเมื่อ X และ Y
              AND                 และ
                                                    เป็นจริงทั้งคู่)
                                           A OR B(OR จะเป็นจริง ถ้าจริงเพียง
               OR                หรือ
                                                    กรณีเดียว)

ขั้นตอนการทำางานของโอเปอเรชั่น
เนื่องจากสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่อยู่ในนิพจน์มีลำาดับขั้นในการทำางานที่แตกต่างกัน ดังนั้น
เมื่อเขียนนิพจน์จะต้องทราบว่า สัญลักษณ์ใดทำางานก่อนหรือหลัง ผลการคำานวณจึงจะ
ออกมาถูกต้อง
สัญลักษณ์คำานวณมีลำาดับในการทำางาน ดังนี้
      ลำาดับที่ 1 วงเล็บ ( )
      ลำาดับที่ 2 ยกกำาลัง ^
      ลำาดับที่ 3 คูณและหาร *,/
      ลำาดับที่ 4 บวกและลบ +,-

ตัวอย่างที่ 1.1 5 + 2 – 3 - 2 มีลำาดับการทำางานดังนี้
    ขั้นที่ 1 7 – 3 - 2
    ขั้นที่ 2 4 - 2
    ขั้นที่ 3 2

ตัวอย่างที่ 1.2 5 / 2 - 3.5 * 2 - 3 มีลำาดับการทำางานดังนี้
    ขั้นที่ 1 2.5 - 3.5 * 2 - 3
    ขั้นที่ 2 2.5 – 7 - 3
    ขั้นที่ 3 -4.5 - 3
    ขั้นที่ 4 -7.5

ตัวอย่างที่ 1.3 จงหาผลลัพธ์ของ 16 / 2 * 4 – 3 ^ 2 + 10
เครื่องจะคำานวณตามลำาดับดังนี้
      1. 16 / 2 * 4 – 3 ^ 2 + 10 จะคำานวณ 3^2 =9
      2. 16 / 2 * 4 – 9 + 10     จะคำานวณ 16/2 =8
      3. 8 * 4 – 9 + 10           จะคำานวณ 8*4 =32
      4. 32 – 9 + 10             จะคำานวณ 32-9 =23
      5. 23 + 10                  จะคำานวณ 23+10 =33
5

                               แบบฝึกหัดที่ 1
                   เรื่อง ภาษาเบสิกและการเขียนโปรแกรม

1. ภาษาเบสิกย่อมาจากคำาว่าอะไร
2. ผู้ที่พฒนาโปรแกรมแกรมภาษาเบสิกคือใคร
          ั
3. จงอธิบายความแตกต่างระหว่าค่าคงที่กับตัวแปร
4. จงลำาดับการทำางานและหาผลลัพธ์ของนิพจน์ต่อไปนี้
4.1 2 ^ 3 ^ 2
4.2 8 * 1 / 3
4.3 16 ^ (1 / 2)
4.4 2 + 5 > 5 / 2 - 2
4.5 7 <= 3 + 2 AND 8 / 4 * 2 > 3 ^ 2
5. NOT AND OR จัดเป็น Operator ประเภทใด




งานที่ 2 ศึกษาสาระสำาคัญ และ จดเนื้อหาลงสมุด และทำาแบบฝึกหัดที่ 2
6

                  สาระการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
              เรื่อง คำาสั่งสำาหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาเบสิก
สาระสำาคัญ
รูปแบบการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิก เครื่องหมายในการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ประเภทของคำาสั่งในภาษาเบสิก
จุดประสงค์ปลายทาง
เข้าใจรูปแบบ ประเภทคำาสั่งและเครื่องหมายที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมได้
จุดประสงค์นำาทาง
1. อธิบายรูปแบบของคำาสั่งในการเขียนโปรแกรมได้
2. อธิบายวิธีการและคำาสั่งการเขียนโปรแกรมได้
3. นักเรียนสามารถเลือกใช้คำาสั่งในการเขียนโปรแกรมได้ถูกต้อง
เนื้อหา
โปรแกรมภาษาเบสิก จัดเป็นภาษาโปรแกรมระดับสูง แต่เป็นภาษาที่มีเทคนิควิธีการและ
รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายไม่ซับซ้อน จึงเหมาะสำาหรับผู้เริมต้นเขียนโปรแกรม ซึ่ง
                                                            ่
องค์ประกอบในการเขียนโปรแกรมจะประกอบด้วย
1. ค่าคงที่ (Constants)
2. ตัวแปร (Variable)
3. นิพจน์ (Expression)
แต่องค์ประกอบของโปรแกรมที่สำาคัญยังต้องประกอบไปด้วย รูปแบบในการเขียน
โปรแกรมและคำาสั่ง เฉพาะสำาหรับการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา ซึงรูปแบบและคำาสั่ง
                                                               ่
ของโปรแกรมภาษาเบสิกก็จะมีรปแบบเฉพาะเป็นของตนเองเช่นกัน
                               ู
รูปแบบการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิก
การเขียนโปรแกรมภาษาเบสิกจะมีรูปแบบเป็นของตนเอง ซึ่งมีลักษณะค่อนข้างง่ายต่อ
การเข้าใจ เนื่องจากลักษณะการใช้ตัวอักษรและอักขระที่ผู้อ่านสามารถเข้าใจการทำางาน
ของโปรแกรมได้ รูปแบบการเขียนได้แก่
1. การเขียนโปรแกรมแบบมีหมายเลขบรรทัด (Line Number) ใช้หมายเลขสำาหรับ
กำาหนดลำาดับของคำาสั่ง โดยใช้หมายเลขกำากับหน้าคำาสั่งในแต่ละบรรทัด เช่น

10 LET A = 10
20 LET B = 5
30 LET C = A+B

2. สำาหรับการพิมพ์บรรทัด จะพิมพ์บรรทัดใดก่อนก็ได้ เครื่องจะทำางานเรียงหมายเลข
บรรทัดจากน้อยไปหาหมายเลขบรรทัดมาก ในกรณีหมายเลขซำ้ากันโปรแกรมจะถือเอา
คำาสั่งในหมายเลขที่พิมพ์หลังสุด
3. การทำางานของโปรแกรมจะทำางานตามหมายเลขบรรทัด โดยจะทำางานจากหมายเลข
บรรทัดน้อยไปหามาก
4. กรณีที่กำาหนดหมายเลขบรรทัดในโปรแกรม จะต้องกำาหนดหมายเลขให้มีระยะห่าง
กันพอสมควรเพื่อที่จะแทรกหมายเลขเพิ่มเติม
5. การเขียนโปรแกรมจะกำาหนดให้เป็นตัวพิมพ์เล็กหรือพิมพ์ใหญ่ก็ได้ ซึงโปรแกรมจะ
                                                                   ่
เปลียนให้เป็นตัวพิมพ์ใหญ่โดยอัตโนมัติ
     ่
6. การทำางานของคำาสั่งโปรแกรมจะทำาจากซ้ายไปขวา
7. การเขียนโปรแกรมสามารถรวมคำาสั่งหลายคำาสั่งเอาไว้บรรทัดเดียวกันได้ โดยการใช้
เครื่องหมาย (;)

เครื่องหมายในการเขียนโปรแกรม
1. เครื่องหมายโคลอน (Colon) เป็นเครื่องหมายสำาหรับการเชื่อมคำาสั่งซึ่งเราได้ทำา
หลาย ๆ คำาสั่งต่อกัน
7

2. เครื่องหมายจุลภาคหรือคอมมา (Comma “,”) ในกรณีคำาสั่ง PRINT เป็นการสั่งแบ่ง
ระยะโดยจะทำาให้ระยะระหว่างข้อมูลที่จะแสดงผลที่จอภาพถูกจัดแบ่งเป็นระยะเท่า ๆ
กัน
3. เครื่องหมายอัฒภาค หรือ เซมิโคลอน (Semicolon “;”) เมื่อแสดงผลที่จอภาพข้อมูล
จะถูกพิมพ์ต่อเนื่องกัน
ประเภทคำาสั่งในภาษาเบสิก
1. คำาสั่งสำาหรับรับและส่งข้อมูล
คือ กลุ่มคำาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อรับข้อมูลเข้าไปทำาการประมวลผลในโปรแกรมและกลุ่มคำา
สั่งที่สั่งให้โปรแกรมแสดงผลที่อุปกรณ์ประกอบคำาสั่งเหล่านี้ได้แก่
1.1 คำาสั่ง INPUT เป็นคำาสั่งที่รับข้อมูลโดยการป้อนผ่านแป้นพิมพ์ เพื่อให้โปรแกรมรับ
ทราบว่าใส่ข้อมูลใด เมื่อเวลาแสดงผลจะแสดงเครื่องหมายคำาถาม เพื่อป้อนข้อมูลที่
ต้องการต่อท้ายเครื่องหมายคำาถาม
1.2 คำาสั่ง PRINT เป็นคำาสั่งในภาษาเบสิก เพื่อแสดงผลของข้อมูลที่โปรแกรมสั่งให้
ทำางานออกทางจอภาพ
1.3 คำาสั่ง LPRINT เป็นคำาสั่งในภาษาเบสิก ที่แสดงผลของข้อมูลที่โปรแกรมสั่งออก
ทางเครื่องพิมพ์
2. คำาสั่งเกียวกับการกำาหนดค่าให้กับตัวแปรและการตั้งสมการคำานวณ
               ่
2.1 คำาสั่ง LET เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการกำาหนดค่าคงที่ให้กับ ไม่ว่าเป็นตัวแปรแบบอักขระ
หรือตัวแปรแบบตัวเลข และใช้ตั้งสมการทางคณิตศาสตร์
3. คำาสั่งในการคำานวณ
ลักษณะของคำาสั่งประเภทนี้จะอยู่ในรูปของเครื่องหมาย แสดงแทนเครื่องหมายทาง
คณิตศาสตร์ จะใช้ประกอบกับคำาสั่งประเภทอื่น ๆ
4. คำาสั่งสำาหรับการควบคุม
ลักษณะของคำาสั่งในการควบคุม เป็นการสั่งในแบบกำาหนดเงื่อนไข และแบบไม่มี
เงื่อนไขรวมถึงคำาสั่งควบคุมการวนซำ้า
4.1 คำาสั่งแบบมีเงื่อนไข ได้แก่ IF/THEN/ELSE DO..LOOP WHILE..WEND
4.2 คำาสั่งแบบไม่มีเงื่อนไข ได้แก่ GO,GOSUB
1.3 คำาสั่งควบคุมการวนซำ้า คือ คำาสั่งที่ควบคุมการกระทำาซำ้า ได้แก่ FOR/NEXT
5. คำาสั่งเกียวกับการกำาหนดรูปแบบ
                 ่
เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการกำาหนดการวางรูปแบบของการแสดงผลโปรแกรม บางครั้งก็จะอยู่
ในรูปเครื่องหมาย ใช้ร่วมกับคำาสั่งทั่วไป
6. คำาสั่งฟังก์ชัน
เป็นกลุ่มคำาสั่งประเภทหนุ่งที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อำานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ โดยคำาสั่ง
ประเภทนี้จะมีค่าฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
7. คำาสั่งทั่วไป
NEW เป็นคำาสั่งลบโปรแกรมและค่าตัวแปรที่อยู่ในหน่วยความจำา โดยจะลบหล้าจอ
ทั้งหมดก่อนที่จะเขียนโปรแกรมใหม่
REM เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการหมายเหตุ
END เป็นคำาสั่งให้หยุดการทำางานของโปรแกรม
CLS เป็นคำาสั่งให้ลบหน้าจอใหม่ โดยไม่แสดงผลเดิม

                                  แบบฝึกหัดที่ 2
           ให้นักเรียนนำาเนื้อหามาออกข้อสอบพร้อมเฉลย แบบปรนัย 5 ข้อ

งานที่ 3 ให้ศกษาสาระสำาคัญ และฝึกปฏิบติกบคอมพิวเตอร์
             ึ                       ั ั
เข้าโปรแกรมภาษาเบสิก และจดเนื้อหา พร้อมทำาแบบฝึกหัดที่ 3
8

                 สาระการเรียนรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
      เรื่อง แนะนำาโปรแกรมภาษาเบสิกและแนะนำาการทำางานของ BASIC

สาระสำาคัญ
วิธีการเข้าโปรแกรมภาษเบสิก รายละเอียดต่าง ๆ ของหน้าจอโปรแกรม

จุดประสงค์ปลายทาง
เข้าใจการทำางานของโปรแกรมภาษาเบสิก หลักการทำางานของคำาสั่งภาษาเบสิก

จุดประสงค์นำาทาง
1. อธิบายการทำางานของโปรแกรมภาษาเบสิกได้
2. สามารถเข้าสู่โปรแกรมภาษาเบสิกได้
3. อธิบายการทำางานของคำาสั่งพื้นฐานในรายการย่อยต่าง ๆ ของเมนู File ได้

เนื้อหา
ลำาดับขั้นการทดลอง
1. เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อเครื่องพร้อมที่จะทำางานให้สังเกต หน้าจอจะมี Folder
ดังภาพ




               ใครไม่มีให้ copy จากเครื่องที่มี        แล้วคลิกเปิดเข้าไปใน Folder
จะเจอไฟล์ ให้คลิกที่ QBASIC.EXE




รอสักครู่ก็จะเข้าสู่หน้าจอโปรแกรมเบสิก
9




2. บนจอภาพจะปรากฎหน้าจอของโปรแกรม BASIC ทีประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 3 ส่วน
                                                   ่
คือ
     หมายเลข 1 เมนูบาร์ (Menu bar) เป็นบรรทัดบนสุดแสดงรายการย่อยใน BASIC มี
8 รายการ
     หมายเลข 2 ไดอะล๊อกบล็อก (Dialog box) เป็นกรอบสี่เหลี่ยมปรากฏอยู่กลาง
จอภาพเพื่อแสดงรายละเอียดต่าง ๆ และในการเข้าโปรแกรมครั้งแรกจะแสดงถึงการ
ทำางาน
     หมายเลข 3 สเตตัสบาร์(Status bar) แสดงสภาวะการทำางานต่าง ๆ ของ Basic หรือ
กดแป้นต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้งานเร่งด่วน
3. การเลือกการทำางานระหว่างการเข้าสู่คำาแนะนำาหรือเข้าสู่โปรแกรม
เมื่อปรากฏหน้าจอ ถ้ากด ESC จะปรากฏหน้าจอดังนี้
10




4. การเข้าและออกจากเมนู
ให้ทำาการกด Alt เพื่อเข้าสู่เมนู จะปรากฏแถบสว่างขึ้นที่ตัวอักษรตัวแรกของรายการใน
เมนูบาร์ทั้ง 8 รายการ ถ้าเรากด F จะเข้าเมนู File
5. แนะนำาเมนู File
ก่อนอื่นให้กด Alt+F จะปรากฏเมนู File บนหน้าจอดังนี้




เมนู File เป็นเมนูที่สำาคัญมากสำาหรับผู้ที่เริ่มต้นจะมีรายการย่อย 6 รายการดังนี้
     New        ใช้สำาหรับลบโปรแกรมเก่าและเริมต้นเขียนโปรแกรมใหม่
                                                    ่
     Open       ใช้สำาหรับเปิดแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่แล้วมาแก้ไข
     Save       ใช้สำาหรับจัดเก็บแฟ้มข้อมูลลงบนแผ่นบันทึกตามชื่อเดิม
     Save As ใช้สำาหรับเก็บแฟ้มข้อมูลลงบนแผ่นบันมึกโดยเปลี่ยนชื่อใหม่ได้
11

    Print      ใช้สำาหรับพิมพ์โปรมแกรมภาษาเบสิกออกทางเครื่องพิมพ์
    Exit       ใช้สำาหรับออกจากโปรแกรมสู่การทำางานของดอสพร้อมซ์

ขั้นตอนการ Save
   - กด Alt เพื่อเข้าสู่เมนู File
   - เมื่ออยู่ที่เมนู File แล้วใช้ลูกศรไปยังรายการ Save แล้วกด Enter เครื่องจะปรากฏ
หน้าจอให้ใส่ชื่อแฟ้มที่ต้องการ




การออกจากโปรแกรม Basic
   ให้ไปที่เมนู File จากนั้นเลื่อนลูกศรไปที่ Exit

                                   แบบฝึกหัดที่ 3

1. ให้นักเรียนศึกษารวบรวมคำาสั่งประเภทต่าง ๆ สำาหรับโปรแกรม BASIC ตั้งแต่ A – Z
โดยดูจากเมนูหลัก HELP ในเมนูย่อย CONTENT จากนั้นบอกว่าเป็นคำาสั่งในกลุ่มใด
ได้แก่
1.1 STATEMENT
1.2 FUNCTION
1.3 KEYWORD
1.4 OPERATION
1.5 MATACOMMAND
2. ให้นักเรียนแยกประเภทของคำาสั่งเฉพาะกลุ่มที่เป็น FUNCTION และกลุ่มที่เป็น
STATEMENT
3. ให้นักเรียนเข้าไปยัง HELP ของ BASIC เข้าไปยัง CONTENT จากนั้นเลื่อน
CURSOR ไปยังคำาสั่งต่าง ๆ กด ENTET จะพบคำาอธิบายคำาสั่งเป็นภาษาอังกฤษ แบ่งคำา
สั่งประเภทต่าง ๆ นำาไปแปลคนละอย่างน้อย 5 คำาสั่ง




            งานที่ 4 ให้ศึกษาสาระสำาคัญ จดเนื้อหา ทำาแบบฝึกหัดที่ 4
12

                สาระการเรียนรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
                   เรื่อง แนะนำาให้รู้จกเมนูต่าง ๆ ใน Basic
                                       ั

สาระสำาคัญ
การใช้เมนูคำาสั่งต่าง ๆ ในโปรแกรมภาษาเบสิก

จุดประสงค์ปลายทาง
เข้าใจหลักการทำางานของคำาสั่งโปรแกรมภาษาเบสิก

จุดประสงค์นำาทาง
1. นักเรียนเข้าใจและสามารถใช้งานเมนู Edit ได้
2. นักเรียนเข้าใจและสามารถใช้งานเมนู Run ได้
3. นักเรียนเข้าใจและสามารถใช้งานเมนู View ได้
4. นักเรียนเข้าใจและสามารถใช้งานเมนู Search ได้
5. อธิบายการทำางานของเมนูต่าง ๆ ใน Basic ได้

เนื้อหา
เมนู Edit
เมนู Edit เป็นเมนูซึ่งใช้ในการสร้างและแก้ไขข้อมูลในหน้าจอเอดิเตอร์ เมื่อรายการใน
เมนู Edit จะประกอบด้วย 6 รายการ
     Cut      ใช้ลบข้อความในบล๊อก (Block)
     Copy ใช้คัดลอกข้อความลงในบัฟเฟอร์
     Paste ใช้คัดลอกข้อความลงในบล๊อก (Block)
     Clear ใช้ลบข้อความหรือตัวอักษร
การใช้งาน 4 รายการนี้ต้องสร้างบล๊อกคลุมข้อความ ที่เกิดขึ้นกับข้อความที่ต้องการ
ทำางานต่าง ๆ
     New Sub           ใช้สร้างโปรแกรมย่อย
     New Function ใช้สร้างฟังก์ชัน

เมนู Run
เป็นเมนูที่ใช้ในการรันโปรแกรม หรือประมวลผลโปรแกรมที่เขียนเสร็จแล้วเมื่อต้องการ
เลือกเมนูนี้ทำาได้โดยการกด Alt+R ซึงเมนูนี้มีรายการย่อยให้เลือก 3 รายการ คือ
                                        ่
     Start       เป็นคำาสั่งให้เริ่มประมวลผลโปรแกรมที่อยู่ในหน่วยความจำา
     Restart ใช้ในกรณีที่ต้องการประมวลผลโปรแกรมทีละบรรทัด
     Continue เป็นคำาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลเหมือน Restart

เมนู View
เมนูนี้เป็นเมนูการทำางานที่เกี่ยวกับการแสดงผลระหว่างหน้าจอของโปรแกรมมีรายการ
ย่อยดังนี้
     SUBS ใช้เมื่อต้องการโหลดโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันที่สร้างไว้แล้วมาทำาการ
แก้ไขหรือลบ
ออกจากโปรแกรมหลัก การทำางานนี้ใช้ F2 แทนการเลือกรายการ คำาสั่งนี้เพื่อรวดเร็วใน
การทำางาน
     Split      ใช้แบ่งจอภาพของหน้าจอ Untitled ออกเป็น 2 ส่วน จะได้สะดวกในการ
พิมพ์โปรแกรมเพราะ เมื่อพิมพ์โปรแกรมไปแล้วบรรทัดที่พิมพ์ในบรรทัดแรกจะหายไป
ถ้าใช้ตัวนี้จะเห็นโปรแกรมที่พิมพ์ทั้งหมด
     Output Screen ใช้เมื่อรันโปรแกรมไปแล้วต้องการจะกลับไปดูผลลัพธ์ทจอภาพ
                                                                      ี่
หรือ F4
13

เมนู SEARCH
เมนูนี้เป็นเมนูที่ใช้ในการค้นหาคำาต่าง ๆ หรือข้อความ ที่เขียนไว้ในโปรแกรมว่ามีอยู่หรือ
ไม่ การค้นหาคำาหรือข้อความนี้ อาจมีจุืุืดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงคำาหรือ
                                          ุ
ข้อความ จะมีรายการย่อย 3 รายการ
    Find ใช้ค้นหาข้อความ หรือคำาสั่งโดยมีไดอะล๊อกบล๊อกปรากฏขึ้นมาเพื่อถามข้อ
ความที่ต้องการค้นหา ให้ป้อนคำาหรือข้อความที่ต้องการค้นหา
     Repeat last find เลือกเพื่อค้นหาคำาหรือข้อความที่ได้ Find ไว้ครั้งสุดท้าย
     Cheng ใช้เมื่อต้องการค้นหาคำาหรือข้อความที่ต้องการหาและปลี่ยนแปลงคำาหรือ
ข้อความใหม่



                             แบบฝึกหัดที่ 4
      เรื่อง แนะนำาโปรแกรมภาษาเบสิกและแนะนำาการทำางานของ BASIC

1. จงอธิบายคำาศัพท์ต่อไปนี้
1.1 Menu Bar
1.2 Dialog Box
1.3 Status Bar
2. ถ้าต้องการเข้าและออกจากเมนูของ Basic จะต้องกดปุ่มใด
3. คำาสั่ง Save และ Save As ในเมนู File ต่างกันอย่างไร
4. ถ้าต้องการพิมพ์โปรแกรมโปรแกรมหนึ่งและต้องการเก็บลงบนแผ่นดิสก์ โดยตั้งชื่อ
โปรแกรมนี้ว่า Work1.bas ซึ่งโปรแกรมประกอบด้วยคำาสั่งข้างล่างนี้ จะต้องทำาอย่างไร
บ้างจงอธิบายขั้นตอนการทำางานตั้งแต่เข้าโปรแกรม พิมพ์โปรแกรม จนกระทั่งบันทึกลง
บนแผ่นเสร็จเรียบร้อย
CLS
PRINT “I LOVE COMPUTER”
PRINT “PROGRAM BASIC”
END
5. ถ้าต้องการออกจากโปรแกรม Basic สู่การทำางาน DOS Prompt จะต้องใช้คำาสั่งมด
จงเขียนขั้นตอนของการใช้คำาสั่ง




งานที่ 5 ให้ศกษาสาระสำาคัญ จดเนื้อหา ทำาแบบฝึกหัดที่ 5
             ึ
14

                  สาระการเรียนรู้ที่ 5 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
                       เรื่อง การใช้คำาสั่งและเครื่องหมาย

สาระสำาคัญ
เริ่มต้นการใช้คำาสั่งพื้นฐานและเครื่องหมายและการทดลองทำาโปรแกรม

จุดประสงค์ปลายทาง
รู้จักและเข้าใจรูปแบบของคำาสั่ง Print ได้

จุดประสงค์นำาทาง
1. เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้คำาสั่ง Print ในการแสดงผลลัพธ์ต่าง ๆ ได้
2. เพื่อให้นักเรียนใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ร่วมกับคำาสั่งได้อย่างถูกต้อง

เนื้อหา
คำาสั่ง Print
      คำาสั่ง Print เป็นคำาสั่งในภาษาเบสิก ใช้เพื่อกำาหนดรูปแบบการพิมพ์ข้อความ หรือ
แสดงผลข้อมูลที่โปรแกรมทำางานเสร็จแล้วออกทางจอภาพ ข้อมูลที่แสดงออกมานั้น
อาจจะมีค่าเก็บอยู่ในตัวแปร ซึงตัวแปรในภาษาเบสิกมีอยู่ด้วยกันหลายประเภท เช่น
                                  ่
ตัวแปรตัวเลข ก็จะเก็บค่าที่เป็นตัวเลข ตัวแปรตัวอักษร ก็จะเก็บค่าที่เป็นข้อความ
นอกจากนี้การแสดงผลลัพธ์ที่มีค่าเก็บอยู่ในตัวแปรแล้วยังอาจจะแสดงผลลัพธ์ค่าคงที่ที่
เป็นตัวเลขหรือแสดงข้อความเลยก็ได้ หรือจะใช้คำาสั่งนี้ในการบันทึกข้อมูลให้เก็บอยู่ใน
รูปของไฟล์ ถ้าต้องการแสดงผลลัพธ์ที่เป็นข้อความจะใช้คำาสั่ง Print แล้วตามด้วย
ข้อความที่จะแสดงแต่ต้องใช้เครื่องหมายคำาพูดเปิด-ปิด คร่อมข้อความที่ต้องการแสดง
ไว้ด้วย

รูปแบบของคำาสั่ง Print

         Print “ข้อความ”[;][,] ตัวแปร 1[;][,] ตัวแปร 1.. ตัวแปร n

ตัวอย่างที่ 5.1 การใช้คำาสั่ง print

       การพิมพ์ข้อความ                          ผลลัพธ์
      print “I LOVE YOU”                    I LOVE YOU
      print “I Love You”                      I Love You
      print “100-70”                            100-70

      การพิมพ์ตัวแปร                           ผลลัพธ์
      print Na$                                จะพิมพ์ข้อความที่เก็บอยู่ในตัวแปร
Na$
    print A%+B%                                จะนำาค่าคงที่ที่เก็บในตัวแปร A% และ
B% มาบวกกันแล้วพิมพ์ผลลัพธ์ออกมา
    print N$+C$                                 จะนำาข้อความที่เก็บในตัวแปร N$ และ
C$ มาพิมพ์ต่อกัน

       การพิมพ์ค่าคงที่                       ผลลัพธ์
      print “123”+”456”                      123456
      print 560                                560
15

    print 5 * 6                              30
    print “I”+”am”+”a”+”woman”+”.”       I am a woman.

                                   แบบฝึกหัดที่ 5
              เรื่อง คำาสั่งสำาหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาเบสิก

1. ในการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิก ถ้าในบรรทัดหนึ่ง ๆ มีหลายคำาสั่งจะต้องคั่นระหว่าง
คำาสั่งแต่ละคำาสั่งด้วยเครื่องหมายใด
2. จงอธิบายความแตกต่างในการใช้เครื่องหมายเซมิโคลอนและเครื่องหมายคอมม่า กับ
คำาสั่ง PRINT
3. เราแบ่งกลุ่มคำาสั่งในภาษาเบสิกได้กี่กลุ่มอะไรบ้าง
4. คำาสั่งในการคำานวณมีประกอบด้วยอะไรบ้าง
5. เราแบ่งคำาสั่งฟังก์ชันออกได้กี่แบบอะไรบ้างอธิบายมาพอเข้าใจ
6. ถ้าเราต้องการจะทำาการรันโปรแกรมเมื่อเราโหลดโปรแกรมมาเรียบร้อยแล้ว จะต้องใช้
คำาสั่งในเมนูใด
7. ถ้าต้องการจะทำาการสร้างโปรแกรมย่อยเราจะต้องเลือกใช้คำาสั่งใด
8. เมนูใดเป็นเมนูที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถติดต่อไปยังโปรแกรมย่อยอื่นได้
9. เมนู Option มีประโยชน์อย่างไร
10. เมนู Help มีประโยชน์อย่างไร




งานที่ 6 จงตอบคำาถามต่อไปนี้
16

6.1 ให้ค้นหา ตัวอย่างคำาสั่งภาษาเบสิก โดยใช้คำาสั่ง Print จากอินเทอร์เน็ต

และจดตัวอย่างนั้นลงสมุด        (ค้นหามา 2 ตัวอย่าง)

เช่น ตัวอย่าง คำาสั่ง Print แสดงชื่อตนเอง

โปรแกรม

Cls

Print “napaporn”



ผลรัน

Napaporn



6.2 จงตอบคำาถามต่อไปนี้

   1. ภาษาใดที่ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมมากที่สุด
   2. ภาษาใดที่ยากต่อการเขียนโปรแกรมมากที่สุด
   3. ภาษาใดที่มนุษย์เข้าใจมากที่สุด
   4. ภาษาใดที่มนุษย์เข้าใจน้อยที่สุด
   5. ภาษาระดับตำ่า เช่น
   6. ภาษาระดับสูง เช่น
   7. คอมไพเลอร์ หมายถึง
   8. อินเทอร์พลีเทอร์ หมายถึง
   9. ผู้พัฒนาภาษาเบสิก คือ ....
   10.จงบอกประโยชน์ของภาษาเบสิก




งานที่ 7 ศึกษาและบันทึกสาระสำาคัญ และทำาแบบฝึกหัดที่ 6
17

        วิธการทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง ขั้นตอนในการเตรียมงาน ในการเขียน
           ี
โปรแกรมสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง แบ่งเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้
        1. การวิเคราะห์งาน เป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางคอมพิวเตอร์ในการรวบรวม
ข้อมูลต่าง ๆ ของงาน และศึกาวิเคราะห์งานโดยละเอียดว่า ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำา
อะไร มีข้อมูลเข้า ตัวแปรที่ใช้ ขันตอนการประมวลผล และรูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ
                                  ้
เป็นอย่างไร ขั้นตอนนี้ถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำาคัญที่สุด
        ตัวอย่าง 1.1 การวิเคราะห์งาน
        บริษัทสหไทย จำากัด ต้องการคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย มีเงื่อนไขดังนี้
        ถ้ายอดขายน้อยกว่า หรือเท่ากับ 100,000 บาท ให้คิดค่าคอมมิชชั่น 7.5 %
        ถ้ายอดขายมากกว่า 100,000 บาทให้คิดค่าคอมมิชชั่น 9%
        จงหาค่าคอมมิชชันของพนักงานขายแต่ละคน และเงินรวมค่าคอมมิชชันที่บริษัท
ต้องจ่ายขั้นตอนการวิเคราะห์งาน
        1. สิ่งที่ต้องการ
                1.1 คำานวณเงินค่าคอมมิชชัน และเงินรวมค่าคอมมิชชันที่บริษัทต้อง
                จ่าย
        2. ข้อมูลนำาเข้า
                2.1 ชื่อ และ ยอดขายของพนักงานขายแต่ละคน
        3. ตัวแปร
                EmpName : ชื่อพนักงาน และใช้ทดสอบว่า ข้อมูลหมดหรือยัง
                               ถ้า EmpName เท่ากับ “END” แสดงว่า หมดข้อมูล
                Sales          : ยอดขาย
                Commis                 : ค่าคอมมิชชัน
                Total          : เงินรวมค่าคอมมิชชัน
        4. ข้อมูลนำาออก
                4.1 ชื่อพนักงาน , ยอดขาย ,ค่าคอมมิชชัน และเงินร่วมค่าคอมมิชชัน
        5. วิธีการประมวลผล
                5.1 Total = 0
                5.2 รับค่า ตัวแปร
                5.3 เปรียบเทียบ ตัวแปร
                5.4 เปรียบเทียบ Sales กัย 100000
                5.5 Total = Total + Commis
                5.6 พิมพ์ผลลัพธ์ ตัวแปร
                5.7 รับค่าตัวแปร
                5.8 ไปทำาขั้นตอนที่ 5.3
        2. การเขียนผังงาน หรือผังโปรแกรม (Flow Chart)
        การเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนต่อจากการวิเคราะห์งานโดยนำาวิธีการที่ได้จาก
การวิเคราะห์มาเขียนเป็นสัญลักษณ์ หรือภาพแสดงขั้นตอนการทำางานตามลำาดับก่อน
หลัง

       ٣. การเขียนโปรแกรม
       การเขียนโปรแกรม หมายถึง การเปลี่ยนขั้นตอนของการทำางานในผังงานให้เป็น
รูปแบบภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ภาษาคอมพิวเตอร์มีมากมายหลากหลาย
ภาษา แต่ละภาษาเหมาะกับงานต่าง ๆ กัน ดังนั้นการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใด
นั้น ควรคำานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
       1. ขีดจำากันของเครื่อง หรือโปรแกรมแปลภาษา เช่น ตัวแปรภาษาบางภาษา
           ใช้เนื้อที่หน่วยความจำามาก
       2. ความถนัดและความชำานาญของผู้เขียนโปรแกรม
18

         3. ลักษณะและประเภทของงาน เช่น ถ้าเป็นงานทางด้านธุรกิจเลือกภาษาโค
            บอลหรืออาร์พีจี เป็นต้น
         4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
         การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม หมายถึง การตรวจสอบความถูกต้องของคำาสั่ง
หรือโปรแกรมทีเขียน เพื่อหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรมที่ทำาให้ผลลัพธ์ไม่ตรงกับความ
                 ่
ต้องการ การแก้ไขข้อผิดพลาด เรียกว่า Debug ซึงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการเขียน
                                                   ่
โปรแกรม แบ่งได้ 2 แบบ
         1. ข้อผิดพลาดจากการเขียนคำาสั่ง หรือโปรแกรมไม่ถูกต้องตามรูปแบบ หรือ
            หลักไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ ข้อผิดพลาดนี้เรียกว่า Syntax Error
            ในกรณีที่เขียนคำาสั่งหรือรูปแบบของภาษาผิด ทำาการตรวจสอบได้โดยใน
            รอบแปลจะให้ข่าวสารความผิดพลาดนั้นออกมา
         2. ข้อผิดพลาดทางตรรก เป็นข้อผิดพลาดที่ทำาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้องหรือตรง
            กับความต้องการ ข้อผิดพลาดนี้เรียกว่า Logical Error การตรวจหาความผิด
            พลาดนี้ทำาได้ยากเพราะ เครื่องไม่สามารถบอกได้ว่าผิดตรงไหน จึงเป็น
            หน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมจะต้องตรวจสอบหาที่ผิดเองโดยอาจดูจากผัง
            งานช่วยในการค้นหาที่ผิดได้ เช่น ผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้สูตรการ
            คำานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม ซึ่งพื้นที่สามเหลี่ยม = ½ X ฐาน X สูง แต่ผู้
            เขียนโปรแกรมเขียนผิดเป็น พื้นที่สามเหลี่ยม = ½ + ฐาน + สูง เครื่อง
            คอมพิวเตอร์ไม่สามารถตรวจหาที่ผิดได้ ดังนั้นเมื่อประมวลผลโปรแกรมจะ
            ให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้องกับความต้องการ
         5. การนำาโปรแกรมพร้อมข้อมูลจริงเข้าเครื่อง
         หลังจากการทดสอบโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว ขันตอนต่อไปเป็นการนำาข้อมูลจริง
                                                      ้
เข้าเครื่องประมวลผลตามโปรแกรมจนได้ผลลัพธ์ถูกต้อง หรือตรงกับความต้องการ
         6. การจัดทำาเอกสารและบำารุงรักษาโปรแกรม
         เอกสารประกอบโปรแกรม เป็นเอกสารที่จัดทำาขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อผู้ใช้โปรแกรม
และการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมในอนาคต
         การบำารุงรักษาโปรแกรม เป็นการแก้ไขหรือปรับปรุงโปรแกรมให้ทันสมัยอยู่เสมอ
เช่น โปรแกรมการคำานวณเงินโบนัส ที่ใช้ในปัจจุบัน ในอนาคตอาจมีการเปลี่ยนแปลง
การคิดคำานวณโบนัสใหม่ จึงต้องมีการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมใหม่เพื่อให้ใช้งานได้




ผังงาน (Flowchart) ที่สำาคัญ
19


             เริ่มต้น – สิ้นสุด


             รับข้อมูล/กำาหนดตัวแปร
                                                        ทิศทางข้อมูล

                 ตัดสินใจ


                 การแสดงผล/คำานวณ


   ตัวอย่างการเขียนผังงาน การคำานวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า

                                    เริ่มต้น


                              กว้าง ,ยาว



                                    พื้นที่ =
                                  กว้าง X ยาว



                                    พื้นที่




                                แบบฝึกหัดที่ 6

1. วิธีการทางคอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้าง อธิบาย

2. จากโปรแกรม จงเขียนผลรันที่ได้
20

cls
print   “    X” กด enter
print   “ XXX” กด enter
print   “ XXXXX” กด enter
print   “XXXXXXX’ กด enter
end

3. ให้พิมพ์คำาสั่งต่อไปนี้ทีละบรรทัดแล้วรัน(F5) ให้แสดงผลลัพธ์ของคำาสั่งแต่ละบรรทัด


print “LUCKY” กด (F5)
ผลลัพธ์…………………………………………………
อธิบาย………………………………………………….

Print “100+200” กด (F5)
ผลลัพธ์…………………………………………………
อธิบาย………………………………………………….

Print “100”+”200” กด (F5)
ผลลัพธ์…………………………………………………
อธิบาย………………………………………………….

Print 100+200 กด (F5)
ผลลัพธ์…………………………………………………
อธิบาย………………………………………………….

Print 1,2,3 กด (F5)
ผลลัพธ์…………………………………………………
อธิบาย………………………………………………….

Print 1;2;3 กด (F5)
ผลลัพธ์…………………………………………………
อธิบาย………………………………………………….




4. จงเขียนโปรแกรม แสดงการคำานวณให้ได้ผลรันดังนี้

         7+5 = 12
21

        7-5 =2

        7 X 5 = 35

หมายเหตุ ผลการคำานวณให้คำานวณอัตโนมัติ (และแยกส่วนให้เรียบร้อย)

โปรแกรม




ผลรัน




5. จงบอกความหมายของสัญลักษณ์ต่อไปนี้ (5 คะแนน)




6. จงเขียนผังงาน การคำานวณ พื้นที่ สามเหลี่ยม

                                        เริ่มต้น


                                       สูง,ฐาน



                                     พื้นที่ = ½ *
                                      สูง * ฐาน



                                         พื้นที่


งานที่ 8 ศึกษาสาระสำาคัญ บันทึกสาระสำาคัญ และทำาแบบฝึกหัดที่ 7


                     สาระการเรียนรู้ที่ 6 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
                           เรื่อง คำาสั่งในการรับข้อมูล
22


สาระสำาคัญ
การใช้คำาสั่ง Input ในการรับข้อมูลเพื่อเป็นการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ และการใช้คำาสั่ง Read/Data ควบคู่

จุดประสงค์ปลายทาง
เข้าใจและสามารถใช้คำาสั่งในการรับข้อมูลได้

จุดประสงค์นำาทาง
1. สามารถใช้คำาสั่ง Input รูปแบบต่าง ๆ เพื่อทำาการกำาหนดค่าได้อย่างถูกต้อง
2. สามารถใช้คำาสั่ง Read/Data เพื่อทำาการกำาหนดค่าได้ถูกต้อง
3. สามารถแยกความแตกต่างระหว่าง Input และ Read/Data ได้
4. สามารถกำาหนดค่าให้กำาตัวแปรได้
5. สามารถเขียนโปรแกรมด้วยคำาสั่ง Read/Data และ Input ได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง

เนื้อหา
คำาสั่ง INPUT
          คำาสั่ง INPUT เป็นคำาสั่งที่ทำาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยตรง การใช้คำาสั่งนี้จึง
เสมือนผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้ ซึงจะรอรับข้อมูลผ่านทางแป้นพิมพ์ เพื่อนำา
                                             ่
ข้อมูลไปประมวลผลต่อไปในการรับข้อมูลเข้าไปนี้ข้อม๔ลจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำา
ดังนั้น จึงต้องมีการกำาหนดตัวแปรต่าง ๆ เพื่อเก็บค่าที่รบเข้าไป ค่าต่าง ๆ นี้จะ
                                                          ั
เปลียนแปลงไปตามการคำานวณในเวลาต่าง ๆ กัน คำาสั่งนี้มีรปแบบดังนี้
     ่                                                          ู

รูปแบบคำาสั่ง INPUT

         INPUT Variable,Variable..n

          Variable คือ ค่าของตัวแปรแบบตัวเลขหรือแบบสตริง
รายการตัวแปร Variable ถึง n จะเป็นตัวแปรทีเป็นจำานวนหรือตัวแปรอักขระก็ได้ในกรณี
                                              ่
ที่มีตัวแปรมากกว่า 1 ตัวแปร ให้ใช้เครื่องหมายคอมม่า (,) คั่นระหว่างตัวแปรแต่ละตัว
เมื่อโปรแกรมรันมาถึงบรรทัดที่สั่งให้มีการรับค่าจะเกิดเครื่องหมาย ? รอให้ผู้ใช้ใส่ค่า
เข้าไป การใส่ค่านี้จะต้องใส่ค่าให้ตรงกับตัวแปรที่กำาหนด

ตัวอย่างที่ 6.1
        INPUT A$,B,C
        INPUT A,B
        INPUT A$,B$




ตัวอย่างที่ 6.2 การใช้คำาสั่ง INPUT เพื่อรอรับค่าเลขโดยมีตัวแปรหลายตัวในคำา
สั่งเดียวกัน
         INPUT A,B,C
         PRINT A,B,C
23

        RUN
        ? 1,2,3

ตัวอย่างที่ 6.3 การใช้คำาสั่ง INPUT เพื่อรอรับตัวอักษรและตัวเลข
        PRINT “YOUR NAME IS =”
        INPUT NA$
        PRINT “YOUR AGE IS =”
        INPUT AGE
        RUN
        YOUR NAME IS =
        ? KOUNJIT ใส่ค่าทีเป็นตัวอักษร ตัวเลขหรือพยัญชนะต่าง ๆ
                             ่
        YOUR AGE IS =
        ? 28 ใส่ค่าทีเป็นตัวเลขเท่านั้น
                     ่

ตัวอย่างที่ 6.4 การใช้เครื่องหมายเซมิโคล่อน(;) ในคำาสั่ง INPUT
         INPUT “YOUR NAME IS =”;NA$
         INPUT “YOUR AGE IS =”;AGE
         PRINT “NAME = “;NA$
         PRINT “AGE =”;AGE
         RUN
        YOUR NAME IS = ? KOUNJIT
        YOUR AGE IS = ? 28
        NAME = KOUNJIT
       AGE = 28

 คำาสั่ง READ/DATA
          นอกจากคำาสั่ง INPUT ที่ทำาหน้าที่รับข้อมูลแล้ว คำาสั่ง READ มีหน้าที่รับข้อมูล
เช่นกัน แต่คำาสั่ง READ จะต้องใช้คู่กับคำาสั่ง DATA เสมอ คำาสั่ง READ กับ DATA ใช้
ในการอ่านข้อมูลให้กับตัวแปร ซึงจะได้ผลดีมากในกรณีที่มรข้อมูลมากๆ และไม่
                               ่
เปลียนแปลง
    ่

รูปแบบคำาสั่ง READ/DATA

          READ Var1,Var2…Var n DATA C1,C2,…Cn
          หรือ
          DATA C1,C2,…Cn READ Var1,Var2…Var n

          โดยที่ Var1,Var2…Var n คือตัวแปรตัวที่ 1 ถึง n
C1,C2,…Cn คือข้อมูลซึ่งอาจเป็นค่าคงที่จำานวนหรืออักขระก็ได้
ตัวแปรใน READ และข้อมูลในคำาสั่ง DATA ต้องสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ถ้าตัวแปรเป็น
ตัวแปรจำานวน ข้อมูลก็จะต้องเป็นค่าคงที่จำานวน แต่ถ้าตัวแปรเป็นอักขระ ข้อมูลก็ต้อง
เป็นอักขระด้วย ตัวอย่างเช่น

ตัวอย่างที่ 6.5
        READ A$,B$,C$
        DATA AA,123,C$
24

ตัวอย่างที่ 6.6
        DATA 10,20,30
        READ A,B,C

ตัวอย่างที่ 6.7
        DATA 100,200
        READ N
        READ M
        DATA 300,400
        READ P,Q



                              แบบฝึกหัดที่ 7

ทบทวนการคำานวณ

      1.   ٤*(٥- ٧) + ٨ = ……….…..
      2.   1000 + (20 ^ 2 – (5 * 2)+6 ) = ……………
      3.   4^2*٤٠-٧ = ……………..
      4.   ١-٣/٢*١٢/٦ = ………………
      5.   3 + 5 – 6 * 4 /2-3 + 2*3 = …………….

จงยกตัวอย่างคำาสั่ง input
   คำาสั่ง INPUT มี 3 แบบ
   INPUT ตัวแปรที่ 1 , ตัวแปรที่ 2
   ตัวอย่าง
   ………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………

   INPUT “ข้อความอธิบาย”,ตัวแปรที่ 1,ตัวแปรที่ 2
   ตัวอย่าง
   ………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………

   INPUT “ข้อความอธิบาย”;ตัวแปรที่ 1, ตัวแปรที่ 2
   ตัวอย่าง
   ………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………


งานที่ 9 จงตอบคำาถามต่อไปนี้

   1. จงเขียนผลรันจากโปรแกรมดังนี้
      Rem filename
25

      Pritnt “** sale calculation**”
      Input “ Book = ”,book
      Input “Price=”price
      total = book*price
      print “Total =”,total


    หมายเหตุ สมมติว่าป้อนค่า book = 10
                        Price = 40
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……

  2. จงเขียนโปรแกรมคำานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………….……………….……………….
……………….……………….……………….……………




งานที่ 10 ศึกษาสาระสำาคัญ บันทึกสาระสำาคัญ และทำากิจกรรมดังนี้
26

                    สาระการเรียนรู้ที่ 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
                           เรื่อง คำาสั่งในการวนรอบ

สาระสำาคัญ
การใช้คำาสั่ง FOR..NEXT เป็นคำาสั่งประเภทการสั่งให้มีการทำางานต่อไปจนกว่าจะครบ
รอบ ซึ่งสามารถให้มีการกระทำาของโปรแกรมโดยการวนอยู่ตลอดเวลา ตามการกำาหนด
ของโปรแกรม

จุดประสงค์ปลายทาง
เข้าใจและสามารถใช้คำาสั่งในการวนรอบข้อมูลได้

จุดประสงค์นำาทาง
1. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ได้
2. บอกรูปแบบและอธิบายการทำางานของคำาสั่ง FOR..NEXT ได้

เนื้อหา

คำาสั่ง FOR..NEXT
         การเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานบางอย่าง อาจมีการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางานใน
บางคำาสั่งหรือบางกลุ่มคำาสั่ง ซำ้ากันหลายครั้ง ในภาษาเบสิกมีคำาสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์
ทำางานซำ้ากันหลายครั้ง คำาสั่งดังกล่าวคือ คำาสั่ง FOR..NEXT มีรูปแบบดังนี้

          FOR V ={a} to{b} {Step c}
               คำาสั่งที่ 1
               คำาสั่งที่ 2
                   .
                  .
          NEXT V

         V คือ ตัวแปรจำานวน
         a เป็นนิพจน์ที่บอกค่าเริ่มต้นของ V
         b เป็นนิพจน์ที่บอกค่าสุดท้ายของ V
         c เป็นนิพจน์ที่บอกค่าเปลี่ยนแปลงของ V
         ค่า c ที่เพิมขึ้นหลัง Step จะเป็นจำานวนเต็มบวกหรือลบหรือทศนิยมก็ได้ ถ้าไม่มี
                     ่
คำาสั่ง Step เครื่องคอมพิวเตอร์จะถือว่ามี Step เป็น 1

ตัวอย่างที่ 7.1 โปรแกรมนี้จะสั่งให้เครื่องทำาการพิมพ์คำาว่า HELLO ! 4 ครั้ง
           FOR I=1 TO 4
           PRINT “HELLO !”
           NEXT I
           END
เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้
           HELLO !
           HELLO !
           HELLO !
           HELLO !
27

ตัวอย่างที่ 7.2 โปรแกรมพิมพ์คาตัวแปร TRUN
                                   ่
           FOR TRUN = 5 TO 10
           PRINT TRUN
           NEXT TRUN
เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้
           5
           6
           7
           8
           9
          10

         ข้อสังเกต จากรูปแบบคำาสั่ง FOR V =a to b Step c อาจเป็นจำานวนเต็มบวก
หรือจำานวนลบที่ได้ ถ้า c เป็นบวก หมายความว่า ค่าของ V จะเพิ่มขึ้นจากค่าเริ่มต้น a
ครั้งละ c ไปจนถึงค่าที่ไม่เกินค่าสิ้นสุด b ดังนั้นในกรณีนี้ a จะมีค่าน้อยกว่า b แต่ถ้าค่า
c เป็นจำานวนลบหมายความว่าค่าของ V จะลดลงจากค่าเริ่มต้น a ครั้งละ c ไปจนถึงค่า
สิ้นสุด b ดังนั้น ในกรณีนี้ a จะมีค่ามากกว่า b


ตัวอย่างที่ 7.3 โปรแกรมทีมีการวนรอบโดยกระโดดข้าเป็นลำาดับขั้น
                               ่
           FOR A = 1 TO 10 STEP 2
           PRINT A
           NEXT A
           END
เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้
          1
          3
          5
          7
          9

ตัวอย่างที่ 7.4 โปรแกรมทีมีการทำาลำาดับขัน
                               ่             ้
          C =3
          FOR I = C TO 4*C STEP C
          PRINT I;” “;
          NEXT I
          END
เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้
          3 6 9 12

ตัวอย่างที่ 7.5 โปรแกรมทีมี step เป็นลบ
                               ่
          FOR I = 100 TO 10 STEP –10
          PRINT I;” “
          NEXT I
          END
เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้
          100 90 80 70 60 50 40 30 20 10
28

ตัวอย่างที่ 7.6 โปรแกรมหาค่าเฉลี่ยจากข้อมูลที่อยู่ในคำาสั่ง DATA
          DATA 3,8,5,2,3,7,6,5,1,9
          S=0
          FOR I=1 TO 10
          READ X
          S=S+X
          NEXT I
          PRINT S,S/10
          END
เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้
         49 4.9

การใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ซ้อนกัน
        บางกรณีในโปรแกรมอาจจะมีคำาสั่งที่ให้ทำางานในลักษณะวนเป็นรอบซ้อนกัน
หลายชั้น ซึ่งอาจจะใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ซ้อนกัน ดังรูปแบบดังนี้

         FOR
               FOR



               NEXT
        NEXT

        คำาสั่ง FOR..NEXT จะมีเป็นคู่ และแต่ละคู่จะไม่มีการสั่งให้ทำางานข้ามกัน คือ
การทำางานแบบวนรอบนี้ จะต้องมีระเบียบ คือ วนรอบตามคำาสั่ง FOR..NEXT ที่อยู่ใน
รอบในก่อน

ตัวอย่างที่ 7.7 โปรแกรมการวนรอบแบบลูปซ้อน
        FOR I = 1 TO 2
                FOR J = 1 TO 3
                   PRINT I,J
                NEXT J
               PRINT
       NEXT I


เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้
          11
          12
          13

       21
       23
       23

ตัวอย่างที่ 7.8 โปรแกรมวนรอบแบบลูปซ้อน
       S=0
29

         FOR I = 1 TO 2
                  FOR J = 1 TO 3
                       S = S+1
                       PRINT S;” “;
                 NEXT J
         NEXT I
         END
เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้
         123456



หลักเกณฑ์ในการเขียนคำาสั่ง FOR..NEXT
        1. ในกรณีที่มีการใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ซ้อนกัน ชื่อของตัวแปรจะตั้งซำ้ากันไม่
ได้
        2. ภายในช่วงของคำาสั่ง FOR..NEXT จะมีการสั่งให้เครื่องซึ่งกำาลังทำางานอยู่
นอก FOR..NEXT เข้ามาในช่วงของคำาสั่ง FOR..NEXT
        3. ถ้าค่าของ c มีค่าเป็นจำานวนหลัง step จะมีค่าเป็นจำานวนบวกแต่ค่าเริ่มต้น
มากกว่าค่าสิ้นสุด หรือค่าของ c มีค่าเป็นจำานวนลบแต่ค่าเริ่มต้นน้อยกว่าค่าสิ้นสุด การ
ทำางานในช่วง FOR..NEXT จะถูกประมวลผลเพียงครั้งเดียว
       4. ห้ามเปลียนแปลงค่าของค่าเริ่มต้น ค่าสิ้นสุด หรือนิพจน์ที่บอกค่า
                   ่
เปลียนแปลง ในช่วงคำาสัง FOR..NEXT
    ่

กิจกรรมประกอบการเรียน
กิจกรรมที่ 1 ลำาดับขั้นตอนการทำางาน
1. เข้าสู่โปรแกรมภาษาเบสิก
2. ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมโดยใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ให้คอมพิวเตอร์พิมพ์ชื่อของ
นักเรียนจำานวน 10 บรรทัด
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
30

3. พิมพ์โปรแกรมเข้าคอมพิวเตอร์และทดลองรันโปรแกรม จดผลลัพธ์มาให้ดู
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.


4. ให้ SAVE โปรแกรมโดยใช้ชื่อว่า FOR_name.bas
5. จงเขียนโปรแกรมโดยใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ให้คอมพิวเตอร์พิมพ์ค่าตั้งแต่ 500 ถึง
1000 โดยให้พิมพ์จาก 1000 900 …500
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
………………………………………………………………………………………………………………
.
6. ให้พิมพ์โปรแกรมในข้อ 5 เข้าคอมพิวเตอร์และทดลองการรัน
7. ให้ SAVE โปรแกรมในข้อ 5 ชื่อ FOR5.bas

กิจกรรมที่ 2
CLS
PRINT ”-----------------------------------------“
Basic
Basic
Basic
Basic
Basic
Basic
Basic
Basic

Contenu connexe

Tendances

การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Fair Kung Nattaput
 
Programming
ProgrammingProgramming
Programming
sa
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
Por Kung
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
bpatra
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
Theruangsit
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
kruthanyaporn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
waradakhantee
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
Jakkree Eiei
 

Tendances (20)

การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
Programming
ProgrammingProgramming
Programming
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
Programmer1
Programmer1Programmer1
Programmer1
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 
Intro c
Intro cIntro c
Intro c
 
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
 
1
11
1
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 

En vedette

บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
Little Tukta Lita
 
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
Nattapon
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
Rawinnipa Manee
 
Qr code介紹與應用
Qr code介紹與應用Qr code介紹與應用
Qr code介紹與應用
mrJim Note
 
Is the world achieving the 2025 target on tobacco use?
Is the world achieving the 2025 target on tobacco use?Is the world achieving the 2025 target on tobacco use?
Is the world achieving the 2025 target on tobacco use?
UCT ICO
 
Бенчмаркинг День 2013 - программа
Бенчмаркинг День 2013 - программаБенчмаркинг День 2013 - программа
Бенчмаркинг День 2013 - программа
Yulya Uzhakina
 

En vedette (18)

บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
 
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
 
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
Device Drivers
Device DriversDevice Drivers
Device Drivers
 
Happiners 201502 영업방향 및 상품전략
Happiners 201502 영업방향 및 상품전략Happiners 201502 영업방향 및 상품전략
Happiners 201502 영업방향 및 상품전략
 
Value addition
Value additionValue addition
Value addition
 
YouTube
YouTubeYouTube
YouTube
 
Bullying and Harassment August 2012
Bullying and Harassment  August 2012Bullying and Harassment  August 2012
Bullying and Harassment August 2012
 
Reason
ReasonReason
Reason
 
Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300
Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300
Customer Bulletin 0515 A Comparison of ISO ISO-C1 and HT-300
 
Diffusion of the “spanish model” in latin america
Diffusion of the “spanish model”  in latin americaDiffusion of the “spanish model”  in latin america
Diffusion of the “spanish model” in latin america
 
Lee Forde
Lee FordeLee Forde
Lee Forde
 
Qr code介紹與應用
Qr code介紹與應用Qr code介紹與應用
Qr code介紹與應用
 
Is the world achieving the 2025 target on tobacco use?
Is the world achieving the 2025 target on tobacco use?Is the world achieving the 2025 target on tobacco use?
Is the world achieving the 2025 target on tobacco use?
 
Alfan P Laksono
Alfan P LaksonoAlfan P Laksono
Alfan P Laksono
 
Бенчмаркинг День 2013 - программа
Бенчмаркинг День 2013 - программаБенчмаркинг День 2013 - программа
Бенчмаркинг День 2013 - программа
 
Workle presentation june 2012
Workle presentation june 2012Workle presentation june 2012
Workle presentation june 2012
 

Similaire à Basic

นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
Narongrit Hotrucha
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
KEk YourJust'one
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Dararat Worasut
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
Passawan' Koohar
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
SubLt Masu
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
native
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
bbgunner47
 

Similaire à Basic (20)

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกงานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
งานที่ #1 ตัวรายงานการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
58210401120 งาน 1 ss
58210401120 งาน 1 ss58210401120 งาน 1 ss
58210401120 งาน 1 ss
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 

Plus de bpatra

Chap 4 pseudo code
Chap 4 pseudo codeChap 4 pseudo code
Chap 4 pseudo code
bpatra
 
Chap 3 ลักษณะโครงสร้างผังงาน
Chap 3 ลักษณะโครงสร้างผังงานChap 3 ลักษณะโครงสร้างผังงาน
Chap 3 ลักษณะโครงสร้างผังงาน
bpatra
 
Chap 2 flow chart
Chap 2 flow chartChap 2 flow chart
Chap 2 flow chart
bpatra
 
Chap 2 flow chart
Chap 2 flow chartChap 2 flow chart
Chap 2 flow chart
bpatra
 
Chap 2 flow chart
Chap 2 flow chartChap 2 flow chart
Chap 2 flow chart
bpatra
 
Chap 2 flow chart
Chap 2 flow chartChap 2 flow chart
Chap 2 flow chart
bpatra
 
Chap 1 job analization
Chap 1 job analizationChap 1 job analization
Chap 1 job analization
bpatra
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
bpatra
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
bpatra
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
bpatra
 

Plus de bpatra (10)

Chap 4 pseudo code
Chap 4 pseudo codeChap 4 pseudo code
Chap 4 pseudo code
 
Chap 3 ลักษณะโครงสร้างผังงาน
Chap 3 ลักษณะโครงสร้างผังงานChap 3 ลักษณะโครงสร้างผังงาน
Chap 3 ลักษณะโครงสร้างผังงาน
 
Chap 2 flow chart
Chap 2 flow chartChap 2 flow chart
Chap 2 flow chart
 
Chap 2 flow chart
Chap 2 flow chartChap 2 flow chart
Chap 2 flow chart
 
Chap 2 flow chart
Chap 2 flow chartChap 2 flow chart
Chap 2 flow chart
 
Chap 2 flow chart
Chap 2 flow chartChap 2 flow chart
Chap 2 flow chart
 
Chap 1 job analization
Chap 1 job analizationChap 1 job analization
Chap 1 job analization
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 

Basic

  • 1. 1 งานที่ 1 ศึกษาสาระสำาคัญ และ จดเนื้อหาลงสมุด และทำาแบบฝึกหัดที่ 1 สาระการเรียนรู้ที่ 1 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น เรื่อง ภาษาเบสิกและการเขียนโปรแกรม สาระสำาคัญ ประวัติความเป็นมาของภาษาเบสิก สัญลักษณ์ที่ใช้ในภาษาเบสิก ขั้นตอนการทำางาน ของโอเปอเรชั่นในการคำานวณ การเปรียบเทียบและตรรกศาสตร์ จุดประสงค์ปลายทาง เข้าใจความเป็นมาของภาษาเบสิกและหลักการเขียนโปรแกรม จุดประสงค์นำาทาง 1. อธิบายหลักการเรื่องค่าคงที่และตัวแปรได้ 2. อธิบายเรื่องเกี่ยวกับโอเปอเรชั่นต่าง ๆ ได้ 3. อธิบายลำาดับขั้นตอนการทำางานของโอเปอเรชั่นต่าง ๆ ได้ เนื้อหา ภาษาเบสิก (BASIC LANGUAGE) ย่อมาจากคำาว่า BASIC ไม่ได้แปลว่าพื้นฐาน หรือ เบื้องต้น ตามพจนานุกรมภาษาอังกฤษแต่คำาว่า BASIC เป็นคำาย่อ ๆ ซึ่งมาจากคำาเต็มๆ โดยนำาตัวอักษรตัวแรกมาเขียนเรียงกันซึ่งคำาเต็ม ๆ ก็คือ Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code โปรแกรมภาษาเบสิกเป็นโปรแกรมภาษาระดับสูง (High Level language) มีการพัฒนา ขึ้นในปี ค.ศ. 1960 โดยศาสตราจารย์จอนห์ เคเมนี (John Kemeny) และศาสตราจารย์ โทมัส เคอตซ์ (Thomas Kurtz) แห่งวิทยาลัยดาร์ตเม้าท์ สหรัฐอเมริกา การจะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางานได้ตามที่เราต้องการ โดยการใช้โปรแกรมภาษา ระดับสูงอย่างภาษาเบสิกในการสั่งเราเรียกว่า การเขียนโปรแกรม ในความหมายของการ เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การเขียนคำาสั่งตั้งแต่ 1 คำาสั่งขึ้นไป เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ทำางานอย่างที่ต้องการ เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถรับรู้คำาสั่งได้ค่อนข้าง จำากัด ดังนั้นการเขียนคำาสั่งแต่ละคำาสั่งต้องอยู่ในรูปแบบ และเป็นไปตามหลักไวยากรณ์ องค์ประกอบคอมพิวเตอร์ 1. ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำาสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางาน (เขียนขึ้นด้วยโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์) 3. พีเพิ้ลแวร์ หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ มนุษย์ติดต่อกับคอมพิวเตอร์โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ซึงเป็นโปรแกรมหรือชุด ่ คำาสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน โดยผู้เขียนโปรแกรม(โปรแกรมเมอร์) ต้อง เข้าใจไวยากรของภาษา ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 3 แบบ 1. ภาษาเครื่อง หมายถึง ชุดคำาสั่งซึ่งประกอบด้วยเลข 0 และ 1 ซึงเครื่อง ่ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจคำาสั่งได้ และปฏิบัติตามชุดคำาสั่งนั้นได้ทันที แต่ มนุษย์ไม่เข้าใจ 2. ภาษาสัญลักษณ์ (ภาษาระดับตำ่า) เนื่องจากภาษาเครื่องมนุษย์ไม่เข้าใจ ยากต่อการจดจำา จึงพัฒนาเป็นภาษาสัญลักษณ์ขึ้น โปรแกรมที่เขียนด้วย
  • 2. 2 ภาษาสัญลักษณ์ต้องอาศัยตัวแปลภาษาเพื่อทำาให้เครื่องเข้าใจต่อไป เช่น ภาษาแอสแซมบลี 3. ภาษาระดับสูง เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ที่ใช้กันอยู่ ทำาให้ เขียนโปรแกรมง่ายขึ้น ภาษาระดับสูงจะต้องอาศัยตัวแปลเป็นภาษาเครื่อง เสียก่อน เช่น ภาษาเบสิก ปาสคาล โคบอล เป็นต้น ตัวแปลภาษา ตัวแปลภาษา มี 2 แบบ คือ 1. คอมไพเลอร์ หมายถึง ตัวแปรภาษาระดับสูง ที่ทำาการแปลโปรแกรมทั้งหมด ก่อนจึงจะทำางานตามคำาสั่ง 2. อินเทอร์พรีเตอร์ หมายถึง ตัวแปรภาษาระดับสูงที่ทำาการแปลครั้งละหนึ่งคำา สั่งและทำางานทีละคำาสั่งให้เสร็จก่อนที่จะแปลคำาสั่งต่อไป ในที่นี้เราจะเขียนโปรแกรมโดยใช้โปรแกรม ภาษาเบสิก(BASIC) กัน ประวัติภาษาเบสิก ภาษาเบสิกได้พัฒนาขึ้นมาโดยศาสตราจารย์จอห์น เคเมนี (John Kemeny) และศาสตราจารย์โทมัส ครูสซ์ (Thomas Kurtz) แห่งมหาวิทยาลัยดารห์เมาท์ (Dartmounth College) ในกลางปี ค.ศ. 1964 ภาษาเบสิกใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ขนาด เล็กถึงขนาดใหญ่ มีการพัฒนาจนทำาให้มีภาษาเบสิกต่าง ๆ กัน เช่น TurboBasic PowerBasic QBasic และ VisualBasic เป็นต้น ภาษาเบสิก ย่อมาจาก Beginner’s All Purpose Symbolic Instruction Code โดยนำาอักษรตัวแรกมาเรียงต่อกัน ประโยชน์ภาษาเบสิก 1. เป็นภาษาที่เรียนรู้และใช้งานง่าย และใช้กันอย่างแพร่หลาย 2. เหมาะสมกับผู้ที่เริ่มเรียนเป็นภาษาแรก 3. ใช้กับคอมพิวเตอร์ทุกขนาด ตั้งแต่ขนาดใหญ่จนถึงไมโครคอมพิวเตอร์ 4. เป็นภาษาที่ยืดหยุ่น สามารถแก้ไขปรับปรุง และพัฒนาโปรแกรมเพื่อนำาไปใช้ งานได้ง่ายและรวดเร็ว *** จากประโยชน์ภาษาเบสิก เราจึงเลือกใช้ภาษาเบิสิก ในการเขียนโปรแกรม ครั้งนี้ ค่าคงที่ (Constants) ค่าคงที่หมายถึง ค่าของข้อมูลที่มีค่าแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง ค่าคงทีสามารถแบ่งออกได้ ่ เป็น 3 ประเภท คือ 1. ค่าคงที่ทเป็นจำานวน (Numeric Constants) หมายถึง ค่าคงที่ที่เป็นจำานวนและนำาไป ี่ ใช้ในการคำานวณ จะเป็นจำานวนเต็ม หรือทศนิยมก็ได้ 2. ค่าคงที่ทางตรรกศาสตร์ (Logical Constants) หมายถึง ค่าคงที่ที่แสดงถึงความเป็น จริง (True) หรือเท็จ (False) ในภาษาเบสิกสำาหรับคอมพิวเตอร์บางระบบกำาหนดให้ 1 แทนจริงและ 0 แทนเท็จ 3. ค่าคงที่อักขระ (String Constants) หมายถึง ตังอักษรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป หรือเป็น ตัวเลขปนก็ได้ ตัวอักขระจะเป็นข้อความที่มีความยาวได้ระหว่าง 1 ถึง 255 ตัวอักษร การเขียนค่าคงที่อักขระจะต้องอยู่ภายในเครื่องหมายคำาพูดเสมอ ตัวแปร (Variables) ตัวแปร หมายถึง ชื่อที่ผู้เขียนโปรแกรมกำาหนดขึ้นเพื่อใช้เก็บหรือแทนข้อมูล ตัวแปรจึง เป็นเสมือนชื่อกล่องที่เก็บข้อมูล การตั้งชื่อตัวแปรจะเป็นตัวอักษรทั้งหมดหรือมีตัวเลข ปนก็ได้ แต่ละตัวแปรจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรเสมอ เช่น NAME SCORE X3 การตั้งชื่อตัวแปรควรตั้งชื่อให้สื่อความหมายเพื่อผู้ใช้จะได้เข้าใจง่าย ตัวแปรแบ่งเป็น 2
  • 3. 3 ประเภทคือ 1. ตัวแปรจำานวน (Numeric Variables) คือบอกให้รู้ว่าข้อมูลที่เก็บอยู่เป็นจำานวน 2. ตัวแปรอักขระ (String Variables) คือ ตัวแปรที่จะบอกให้รู้ว่าเก็บข้อมูลอยู่ในรูปตัว อักษรหรือข้อความต่าง ๆ เช่น ชื่อบ้านเลขที่ จะต้องปิดท้ายด้วยเครื่องหมาย $ เช่น NAME$ ADDRESS$ โอเปอเรชั่นในการคำานวณ การเปรียบเทียบและตรรกศาสตร์ ในการที่จะสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำาการคำานวณหรือเปรียบเทียบนั้น จะต้องมีสัญลักษณ์ แทนโอเปอเรชั่นต่าง ๆ เพื่อบอกคอมพิวเตอร์ว่าเป็นการคำานวณ หรือ การเปรียบเทียบ ดังนี้ 1. สัญลักษณ์ในการคำานวณ ซึ่งจะใช้ในการคำานวณทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ สัญลักษณ์ ความหมาย ตัวอย่าง + บวก A+B - ลบ 145-45 * คูณ 6*9 / หาร 120/12 ^ ยกกำาลัง Y^3 สำาหรับเครื่องหมายบวก เราสามารถใช้เครื่องหมายบวกในการเชื่อมค่าคงที่ ที่เป็นอักขระ หรือ ตัวแปรอักขระก็ได้ ซึงจะหมายถึงการให้นำาตัวอักขระหรือค่าที่เก็บในตัวแปรอักขระ ่ มาต่อกัน เช่น “GOOD”+”MORNING”,A$+B$ 2. สัญลักษณ์แสดงการเปรียบเทียบ ใช้เปรียบเทียบจำานวนและเปรียบเทียบอักขระ สัญลักษณ์ ความหมาย ตัวอย่าง = เท่ากับ X=Y < น้อยกว่า “ANT”>”BOY” > มากกว่า SCORE>80 น้อยกว่าหรือ <= IQ<=40 เืืืท่ากับ ่ มากกว่าหรือ >= PERCENT>=90 เท่ากับ <>หรือ >< ไม่เท่ากับ X<>0
  • 4. 4 3. สัญลักษณ์ตรรกศาสตร์ สัญลักษณ์ ความหมาย ตัวอย่าง NOT A(ถ้า A เป็นจริง (-1) ก็จะกลับ NOT ไม่ใช่ เป็น 0 คือ เท็จ) X AND Y (จะเป็นจริงเมื่อ X และ Y AND และ เป็นจริงทั้งคู่) A OR B(OR จะเป็นจริง ถ้าจริงเพียง OR หรือ กรณีเดียว) ขั้นตอนการทำางานของโอเปอเรชั่น เนื่องจากสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่อยู่ในนิพจน์มีลำาดับขั้นในการทำางานที่แตกต่างกัน ดังนั้น เมื่อเขียนนิพจน์จะต้องทราบว่า สัญลักษณ์ใดทำางานก่อนหรือหลัง ผลการคำานวณจึงจะ ออกมาถูกต้อง สัญลักษณ์คำานวณมีลำาดับในการทำางาน ดังนี้ ลำาดับที่ 1 วงเล็บ ( ) ลำาดับที่ 2 ยกกำาลัง ^ ลำาดับที่ 3 คูณและหาร *,/ ลำาดับที่ 4 บวกและลบ +,- ตัวอย่างที่ 1.1 5 + 2 – 3 - 2 มีลำาดับการทำางานดังนี้ ขั้นที่ 1 7 – 3 - 2 ขั้นที่ 2 4 - 2 ขั้นที่ 3 2 ตัวอย่างที่ 1.2 5 / 2 - 3.5 * 2 - 3 มีลำาดับการทำางานดังนี้ ขั้นที่ 1 2.5 - 3.5 * 2 - 3 ขั้นที่ 2 2.5 – 7 - 3 ขั้นที่ 3 -4.5 - 3 ขั้นที่ 4 -7.5 ตัวอย่างที่ 1.3 จงหาผลลัพธ์ของ 16 / 2 * 4 – 3 ^ 2 + 10 เครื่องจะคำานวณตามลำาดับดังนี้ 1. 16 / 2 * 4 – 3 ^ 2 + 10 จะคำานวณ 3^2 =9 2. 16 / 2 * 4 – 9 + 10 จะคำานวณ 16/2 =8 3. 8 * 4 – 9 + 10 จะคำานวณ 8*4 =32 4. 32 – 9 + 10 จะคำานวณ 32-9 =23 5. 23 + 10 จะคำานวณ 23+10 =33
  • 5. 5 แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง ภาษาเบสิกและการเขียนโปรแกรม 1. ภาษาเบสิกย่อมาจากคำาว่าอะไร 2. ผู้ที่พฒนาโปรแกรมแกรมภาษาเบสิกคือใคร ั 3. จงอธิบายความแตกต่างระหว่าค่าคงที่กับตัวแปร 4. จงลำาดับการทำางานและหาผลลัพธ์ของนิพจน์ต่อไปนี้ 4.1 2 ^ 3 ^ 2 4.2 8 * 1 / 3 4.3 16 ^ (1 / 2) 4.4 2 + 5 > 5 / 2 - 2 4.5 7 <= 3 + 2 AND 8 / 4 * 2 > 3 ^ 2 5. NOT AND OR จัดเป็น Operator ประเภทใด งานที่ 2 ศึกษาสาระสำาคัญ และ จดเนื้อหาลงสมุด และทำาแบบฝึกหัดที่ 2
  • 6. 6 สาระการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น เรื่อง คำาสั่งสำาหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาเบสิก สาระสำาคัญ รูปแบบการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิก เครื่องหมายในการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ประเภทของคำาสั่งในภาษาเบสิก จุดประสงค์ปลายทาง เข้าใจรูปแบบ ประเภทคำาสั่งและเครื่องหมายที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ จุดประสงค์นำาทาง 1. อธิบายรูปแบบของคำาสั่งในการเขียนโปรแกรมได้ 2. อธิบายวิธีการและคำาสั่งการเขียนโปรแกรมได้ 3. นักเรียนสามารถเลือกใช้คำาสั่งในการเขียนโปรแกรมได้ถูกต้อง เนื้อหา โปรแกรมภาษาเบสิก จัดเป็นภาษาโปรแกรมระดับสูง แต่เป็นภาษาที่มีเทคนิควิธีการและ รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายไม่ซับซ้อน จึงเหมาะสำาหรับผู้เริมต้นเขียนโปรแกรม ซึ่ง ่ องค์ประกอบในการเขียนโปรแกรมจะประกอบด้วย 1. ค่าคงที่ (Constants) 2. ตัวแปร (Variable) 3. นิพจน์ (Expression) แต่องค์ประกอบของโปรแกรมที่สำาคัญยังต้องประกอบไปด้วย รูปแบบในการเขียน โปรแกรมและคำาสั่ง เฉพาะสำาหรับการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา ซึงรูปแบบและคำาสั่ง ่ ของโปรแกรมภาษาเบสิกก็จะมีรปแบบเฉพาะเป็นของตนเองเช่นกัน ู รูปแบบการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิก การเขียนโปรแกรมภาษาเบสิกจะมีรูปแบบเป็นของตนเอง ซึ่งมีลักษณะค่อนข้างง่ายต่อ การเข้าใจ เนื่องจากลักษณะการใช้ตัวอักษรและอักขระที่ผู้อ่านสามารถเข้าใจการทำางาน ของโปรแกรมได้ รูปแบบการเขียนได้แก่ 1. การเขียนโปรแกรมแบบมีหมายเลขบรรทัด (Line Number) ใช้หมายเลขสำาหรับ กำาหนดลำาดับของคำาสั่ง โดยใช้หมายเลขกำากับหน้าคำาสั่งในแต่ละบรรทัด เช่น 10 LET A = 10 20 LET B = 5 30 LET C = A+B 2. สำาหรับการพิมพ์บรรทัด จะพิมพ์บรรทัดใดก่อนก็ได้ เครื่องจะทำางานเรียงหมายเลข บรรทัดจากน้อยไปหาหมายเลขบรรทัดมาก ในกรณีหมายเลขซำ้ากันโปรแกรมจะถือเอา คำาสั่งในหมายเลขที่พิมพ์หลังสุด 3. การทำางานของโปรแกรมจะทำางานตามหมายเลขบรรทัด โดยจะทำางานจากหมายเลข บรรทัดน้อยไปหามาก 4. กรณีที่กำาหนดหมายเลขบรรทัดในโปรแกรม จะต้องกำาหนดหมายเลขให้มีระยะห่าง กันพอสมควรเพื่อที่จะแทรกหมายเลขเพิ่มเติม 5. การเขียนโปรแกรมจะกำาหนดให้เป็นตัวพิมพ์เล็กหรือพิมพ์ใหญ่ก็ได้ ซึงโปรแกรมจะ ่ เปลียนให้เป็นตัวพิมพ์ใหญ่โดยอัตโนมัติ ่ 6. การทำางานของคำาสั่งโปรแกรมจะทำาจากซ้ายไปขวา 7. การเขียนโปรแกรมสามารถรวมคำาสั่งหลายคำาสั่งเอาไว้บรรทัดเดียวกันได้ โดยการใช้ เครื่องหมาย (;) เครื่องหมายในการเขียนโปรแกรม 1. เครื่องหมายโคลอน (Colon) เป็นเครื่องหมายสำาหรับการเชื่อมคำาสั่งซึ่งเราได้ทำา หลาย ๆ คำาสั่งต่อกัน
  • 7. 7 2. เครื่องหมายจุลภาคหรือคอมมา (Comma “,”) ในกรณีคำาสั่ง PRINT เป็นการสั่งแบ่ง ระยะโดยจะทำาให้ระยะระหว่างข้อมูลที่จะแสดงผลที่จอภาพถูกจัดแบ่งเป็นระยะเท่า ๆ กัน 3. เครื่องหมายอัฒภาค หรือ เซมิโคลอน (Semicolon “;”) เมื่อแสดงผลที่จอภาพข้อมูล จะถูกพิมพ์ต่อเนื่องกัน ประเภทคำาสั่งในภาษาเบสิก 1. คำาสั่งสำาหรับรับและส่งข้อมูล คือ กลุ่มคำาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อรับข้อมูลเข้าไปทำาการประมวลผลในโปรแกรมและกลุ่มคำา สั่งที่สั่งให้โปรแกรมแสดงผลที่อุปกรณ์ประกอบคำาสั่งเหล่านี้ได้แก่ 1.1 คำาสั่ง INPUT เป็นคำาสั่งที่รับข้อมูลโดยการป้อนผ่านแป้นพิมพ์ เพื่อให้โปรแกรมรับ ทราบว่าใส่ข้อมูลใด เมื่อเวลาแสดงผลจะแสดงเครื่องหมายคำาถาม เพื่อป้อนข้อมูลที่ ต้องการต่อท้ายเครื่องหมายคำาถาม 1.2 คำาสั่ง PRINT เป็นคำาสั่งในภาษาเบสิก เพื่อแสดงผลของข้อมูลที่โปรแกรมสั่งให้ ทำางานออกทางจอภาพ 1.3 คำาสั่ง LPRINT เป็นคำาสั่งในภาษาเบสิก ที่แสดงผลของข้อมูลที่โปรแกรมสั่งออก ทางเครื่องพิมพ์ 2. คำาสั่งเกียวกับการกำาหนดค่าให้กับตัวแปรและการตั้งสมการคำานวณ ่ 2.1 คำาสั่ง LET เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการกำาหนดค่าคงที่ให้กับ ไม่ว่าเป็นตัวแปรแบบอักขระ หรือตัวแปรแบบตัวเลข และใช้ตั้งสมการทางคณิตศาสตร์ 3. คำาสั่งในการคำานวณ ลักษณะของคำาสั่งประเภทนี้จะอยู่ในรูปของเครื่องหมาย แสดงแทนเครื่องหมายทาง คณิตศาสตร์ จะใช้ประกอบกับคำาสั่งประเภทอื่น ๆ 4. คำาสั่งสำาหรับการควบคุม ลักษณะของคำาสั่งในการควบคุม เป็นการสั่งในแบบกำาหนดเงื่อนไข และแบบไม่มี เงื่อนไขรวมถึงคำาสั่งควบคุมการวนซำ้า 4.1 คำาสั่งแบบมีเงื่อนไข ได้แก่ IF/THEN/ELSE DO..LOOP WHILE..WEND 4.2 คำาสั่งแบบไม่มีเงื่อนไข ได้แก่ GO,GOSUB 1.3 คำาสั่งควบคุมการวนซำ้า คือ คำาสั่งที่ควบคุมการกระทำาซำ้า ได้แก่ FOR/NEXT 5. คำาสั่งเกียวกับการกำาหนดรูปแบบ ่ เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการกำาหนดการวางรูปแบบของการแสดงผลโปรแกรม บางครั้งก็จะอยู่ ในรูปเครื่องหมาย ใช้ร่วมกับคำาสั่งทั่วไป 6. คำาสั่งฟังก์ชัน เป็นกลุ่มคำาสั่งประเภทหนุ่งที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อำานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ โดยคำาสั่ง ประเภทนี้จะมีค่าฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ 7. คำาสั่งทั่วไป NEW เป็นคำาสั่งลบโปรแกรมและค่าตัวแปรที่อยู่ในหน่วยความจำา โดยจะลบหล้าจอ ทั้งหมดก่อนที่จะเขียนโปรแกรมใหม่ REM เป็นคำาสั่งที่ใช้ในการหมายเหตุ END เป็นคำาสั่งให้หยุดการทำางานของโปรแกรม CLS เป็นคำาสั่งให้ลบหน้าจอใหม่ โดยไม่แสดงผลเดิม แบบฝึกหัดที่ 2 ให้นักเรียนนำาเนื้อหามาออกข้อสอบพร้อมเฉลย แบบปรนัย 5 ข้อ งานที่ 3 ให้ศกษาสาระสำาคัญ และฝึกปฏิบติกบคอมพิวเตอร์ ึ ั ั เข้าโปรแกรมภาษาเบสิก และจดเนื้อหา พร้อมทำาแบบฝึกหัดที่ 3
  • 8. 8 สาระการเรียนรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น เรื่อง แนะนำาโปรแกรมภาษาเบสิกและแนะนำาการทำางานของ BASIC สาระสำาคัญ วิธีการเข้าโปรแกรมภาษเบสิก รายละเอียดต่าง ๆ ของหน้าจอโปรแกรม จุดประสงค์ปลายทาง เข้าใจการทำางานของโปรแกรมภาษาเบสิก หลักการทำางานของคำาสั่งภาษาเบสิก จุดประสงค์นำาทาง 1. อธิบายการทำางานของโปรแกรมภาษาเบสิกได้ 2. สามารถเข้าสู่โปรแกรมภาษาเบสิกได้ 3. อธิบายการทำางานของคำาสั่งพื้นฐานในรายการย่อยต่าง ๆ ของเมนู File ได้ เนื้อหา ลำาดับขั้นการทดลอง 1. เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อเครื่องพร้อมที่จะทำางานให้สังเกต หน้าจอจะมี Folder ดังภาพ ใครไม่มีให้ copy จากเครื่องที่มี แล้วคลิกเปิดเข้าไปใน Folder จะเจอไฟล์ ให้คลิกที่ QBASIC.EXE รอสักครู่ก็จะเข้าสู่หน้าจอโปรแกรมเบสิก
  • 9. 9 2. บนจอภาพจะปรากฎหน้าจอของโปรแกรม BASIC ทีประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 3 ส่วน ่ คือ หมายเลข 1 เมนูบาร์ (Menu bar) เป็นบรรทัดบนสุดแสดงรายการย่อยใน BASIC มี 8 รายการ หมายเลข 2 ไดอะล๊อกบล็อก (Dialog box) เป็นกรอบสี่เหลี่ยมปรากฏอยู่กลาง จอภาพเพื่อแสดงรายละเอียดต่าง ๆ และในการเข้าโปรแกรมครั้งแรกจะแสดงถึงการ ทำางาน หมายเลข 3 สเตตัสบาร์(Status bar) แสดงสภาวะการทำางานต่าง ๆ ของ Basic หรือ กดแป้นต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้งานเร่งด่วน 3. การเลือกการทำางานระหว่างการเข้าสู่คำาแนะนำาหรือเข้าสู่โปรแกรม เมื่อปรากฏหน้าจอ ถ้ากด ESC จะปรากฏหน้าจอดังนี้
  • 10. 10 4. การเข้าและออกจากเมนู ให้ทำาการกด Alt เพื่อเข้าสู่เมนู จะปรากฏแถบสว่างขึ้นที่ตัวอักษรตัวแรกของรายการใน เมนูบาร์ทั้ง 8 รายการ ถ้าเรากด F จะเข้าเมนู File 5. แนะนำาเมนู File ก่อนอื่นให้กด Alt+F จะปรากฏเมนู File บนหน้าจอดังนี้ เมนู File เป็นเมนูที่สำาคัญมากสำาหรับผู้ที่เริ่มต้นจะมีรายการย่อย 6 รายการดังนี้ New ใช้สำาหรับลบโปรแกรมเก่าและเริมต้นเขียนโปรแกรมใหม่ ่ Open ใช้สำาหรับเปิดแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่แล้วมาแก้ไข Save ใช้สำาหรับจัดเก็บแฟ้มข้อมูลลงบนแผ่นบันทึกตามชื่อเดิม Save As ใช้สำาหรับเก็บแฟ้มข้อมูลลงบนแผ่นบันมึกโดยเปลี่ยนชื่อใหม่ได้
  • 11. 11 Print ใช้สำาหรับพิมพ์โปรมแกรมภาษาเบสิกออกทางเครื่องพิมพ์ Exit ใช้สำาหรับออกจากโปรแกรมสู่การทำางานของดอสพร้อมซ์ ขั้นตอนการ Save - กด Alt เพื่อเข้าสู่เมนู File - เมื่ออยู่ที่เมนู File แล้วใช้ลูกศรไปยังรายการ Save แล้วกด Enter เครื่องจะปรากฏ หน้าจอให้ใส่ชื่อแฟ้มที่ต้องการ การออกจากโปรแกรม Basic ให้ไปที่เมนู File จากนั้นเลื่อนลูกศรไปที่ Exit แบบฝึกหัดที่ 3 1. ให้นักเรียนศึกษารวบรวมคำาสั่งประเภทต่าง ๆ สำาหรับโปรแกรม BASIC ตั้งแต่ A – Z โดยดูจากเมนูหลัก HELP ในเมนูย่อย CONTENT จากนั้นบอกว่าเป็นคำาสั่งในกลุ่มใด ได้แก่ 1.1 STATEMENT 1.2 FUNCTION 1.3 KEYWORD 1.4 OPERATION 1.5 MATACOMMAND 2. ให้นักเรียนแยกประเภทของคำาสั่งเฉพาะกลุ่มที่เป็น FUNCTION และกลุ่มที่เป็น STATEMENT 3. ให้นักเรียนเข้าไปยัง HELP ของ BASIC เข้าไปยัง CONTENT จากนั้นเลื่อน CURSOR ไปยังคำาสั่งต่าง ๆ กด ENTET จะพบคำาอธิบายคำาสั่งเป็นภาษาอังกฤษ แบ่งคำา สั่งประเภทต่าง ๆ นำาไปแปลคนละอย่างน้อย 5 คำาสั่ง งานที่ 4 ให้ศึกษาสาระสำาคัญ จดเนื้อหา ทำาแบบฝึกหัดที่ 4
  • 12. 12 สาระการเรียนรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น เรื่อง แนะนำาให้รู้จกเมนูต่าง ๆ ใน Basic ั สาระสำาคัญ การใช้เมนูคำาสั่งต่าง ๆ ในโปรแกรมภาษาเบสิก จุดประสงค์ปลายทาง เข้าใจหลักการทำางานของคำาสั่งโปรแกรมภาษาเบสิก จุดประสงค์นำาทาง 1. นักเรียนเข้าใจและสามารถใช้งานเมนู Edit ได้ 2. นักเรียนเข้าใจและสามารถใช้งานเมนู Run ได้ 3. นักเรียนเข้าใจและสามารถใช้งานเมนู View ได้ 4. นักเรียนเข้าใจและสามารถใช้งานเมนู Search ได้ 5. อธิบายการทำางานของเมนูต่าง ๆ ใน Basic ได้ เนื้อหา เมนู Edit เมนู Edit เป็นเมนูซึ่งใช้ในการสร้างและแก้ไขข้อมูลในหน้าจอเอดิเตอร์ เมื่อรายการใน เมนู Edit จะประกอบด้วย 6 รายการ Cut ใช้ลบข้อความในบล๊อก (Block) Copy ใช้คัดลอกข้อความลงในบัฟเฟอร์ Paste ใช้คัดลอกข้อความลงในบล๊อก (Block) Clear ใช้ลบข้อความหรือตัวอักษร การใช้งาน 4 รายการนี้ต้องสร้างบล๊อกคลุมข้อความ ที่เกิดขึ้นกับข้อความที่ต้องการ ทำางานต่าง ๆ New Sub ใช้สร้างโปรแกรมย่อย New Function ใช้สร้างฟังก์ชัน เมนู Run เป็นเมนูที่ใช้ในการรันโปรแกรม หรือประมวลผลโปรแกรมที่เขียนเสร็จแล้วเมื่อต้องการ เลือกเมนูนี้ทำาได้โดยการกด Alt+R ซึงเมนูนี้มีรายการย่อยให้เลือก 3 รายการ คือ ่ Start เป็นคำาสั่งให้เริ่มประมวลผลโปรแกรมที่อยู่ในหน่วยความจำา Restart ใช้ในกรณีที่ต้องการประมวลผลโปรแกรมทีละบรรทัด Continue เป็นคำาสั่งที่สั่งให้ประมวลผลเหมือน Restart เมนู View เมนูนี้เป็นเมนูการทำางานที่เกี่ยวกับการแสดงผลระหว่างหน้าจอของโปรแกรมมีรายการ ย่อยดังนี้ SUBS ใช้เมื่อต้องการโหลดโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันที่สร้างไว้แล้วมาทำาการ แก้ไขหรือลบ ออกจากโปรแกรมหลัก การทำางานนี้ใช้ F2 แทนการเลือกรายการ คำาสั่งนี้เพื่อรวดเร็วใน การทำางาน Split ใช้แบ่งจอภาพของหน้าจอ Untitled ออกเป็น 2 ส่วน จะได้สะดวกในการ พิมพ์โปรแกรมเพราะ เมื่อพิมพ์โปรแกรมไปแล้วบรรทัดที่พิมพ์ในบรรทัดแรกจะหายไป ถ้าใช้ตัวนี้จะเห็นโปรแกรมที่พิมพ์ทั้งหมด Output Screen ใช้เมื่อรันโปรแกรมไปแล้วต้องการจะกลับไปดูผลลัพธ์ทจอภาพ ี่ หรือ F4
  • 13. 13 เมนู SEARCH เมนูนี้เป็นเมนูที่ใช้ในการค้นหาคำาต่าง ๆ หรือข้อความ ที่เขียนไว้ในโปรแกรมว่ามีอยู่หรือ ไม่ การค้นหาคำาหรือข้อความนี้ อาจมีจุืุืดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงคำาหรือ ุ ข้อความ จะมีรายการย่อย 3 รายการ Find ใช้ค้นหาข้อความ หรือคำาสั่งโดยมีไดอะล๊อกบล๊อกปรากฏขึ้นมาเพื่อถามข้อ ความที่ต้องการค้นหา ให้ป้อนคำาหรือข้อความที่ต้องการค้นหา Repeat last find เลือกเพื่อค้นหาคำาหรือข้อความที่ได้ Find ไว้ครั้งสุดท้าย Cheng ใช้เมื่อต้องการค้นหาคำาหรือข้อความที่ต้องการหาและปลี่ยนแปลงคำาหรือ ข้อความใหม่ แบบฝึกหัดที่ 4 เรื่อง แนะนำาโปรแกรมภาษาเบสิกและแนะนำาการทำางานของ BASIC 1. จงอธิบายคำาศัพท์ต่อไปนี้ 1.1 Menu Bar 1.2 Dialog Box 1.3 Status Bar 2. ถ้าต้องการเข้าและออกจากเมนูของ Basic จะต้องกดปุ่มใด 3. คำาสั่ง Save และ Save As ในเมนู File ต่างกันอย่างไร 4. ถ้าต้องการพิมพ์โปรแกรมโปรแกรมหนึ่งและต้องการเก็บลงบนแผ่นดิสก์ โดยตั้งชื่อ โปรแกรมนี้ว่า Work1.bas ซึ่งโปรแกรมประกอบด้วยคำาสั่งข้างล่างนี้ จะต้องทำาอย่างไร บ้างจงอธิบายขั้นตอนการทำางานตั้งแต่เข้าโปรแกรม พิมพ์โปรแกรม จนกระทั่งบันทึกลง บนแผ่นเสร็จเรียบร้อย CLS PRINT “I LOVE COMPUTER” PRINT “PROGRAM BASIC” END 5. ถ้าต้องการออกจากโปรแกรม Basic สู่การทำางาน DOS Prompt จะต้องใช้คำาสั่งมด จงเขียนขั้นตอนของการใช้คำาสั่ง งานที่ 5 ให้ศกษาสาระสำาคัญ จดเนื้อหา ทำาแบบฝึกหัดที่ 5 ึ
  • 14. 14 สาระการเรียนรู้ที่ 5 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น เรื่อง การใช้คำาสั่งและเครื่องหมาย สาระสำาคัญ เริ่มต้นการใช้คำาสั่งพื้นฐานและเครื่องหมายและการทดลองทำาโปรแกรม จุดประสงค์ปลายทาง รู้จักและเข้าใจรูปแบบของคำาสั่ง Print ได้ จุดประสงค์นำาทาง 1. เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้คำาสั่ง Print ในการแสดงผลลัพธ์ต่าง ๆ ได้ 2. เพื่อให้นักเรียนใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ร่วมกับคำาสั่งได้อย่างถูกต้อง เนื้อหา คำาสั่ง Print คำาสั่ง Print เป็นคำาสั่งในภาษาเบสิก ใช้เพื่อกำาหนดรูปแบบการพิมพ์ข้อความ หรือ แสดงผลข้อมูลที่โปรแกรมทำางานเสร็จแล้วออกทางจอภาพ ข้อมูลที่แสดงออกมานั้น อาจจะมีค่าเก็บอยู่ในตัวแปร ซึงตัวแปรในภาษาเบสิกมีอยู่ด้วยกันหลายประเภท เช่น ่ ตัวแปรตัวเลข ก็จะเก็บค่าที่เป็นตัวเลข ตัวแปรตัวอักษร ก็จะเก็บค่าที่เป็นข้อความ นอกจากนี้การแสดงผลลัพธ์ที่มีค่าเก็บอยู่ในตัวแปรแล้วยังอาจจะแสดงผลลัพธ์ค่าคงที่ที่ เป็นตัวเลขหรือแสดงข้อความเลยก็ได้ หรือจะใช้คำาสั่งนี้ในการบันทึกข้อมูลให้เก็บอยู่ใน รูปของไฟล์ ถ้าต้องการแสดงผลลัพธ์ที่เป็นข้อความจะใช้คำาสั่ง Print แล้วตามด้วย ข้อความที่จะแสดงแต่ต้องใช้เครื่องหมายคำาพูดเปิด-ปิด คร่อมข้อความที่ต้องการแสดง ไว้ด้วย รูปแบบของคำาสั่ง Print Print “ข้อความ”[;][,] ตัวแปร 1[;][,] ตัวแปร 1.. ตัวแปร n ตัวอย่างที่ 5.1 การใช้คำาสั่ง print การพิมพ์ข้อความ ผลลัพธ์ print “I LOVE YOU” I LOVE YOU print “I Love You” I Love You print “100-70” 100-70 การพิมพ์ตัวแปร ผลลัพธ์ print Na$ จะพิมพ์ข้อความที่เก็บอยู่ในตัวแปร Na$ print A%+B% จะนำาค่าคงที่ที่เก็บในตัวแปร A% และ B% มาบวกกันแล้วพิมพ์ผลลัพธ์ออกมา print N$+C$ จะนำาข้อความที่เก็บในตัวแปร N$ และ C$ มาพิมพ์ต่อกัน การพิมพ์ค่าคงที่ ผลลัพธ์ print “123”+”456” 123456 print 560 560
  • 15. 15 print 5 * 6 30 print “I”+”am”+”a”+”woman”+”.” I am a woman. แบบฝึกหัดที่ 5 เรื่อง คำาสั่งสำาหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาเบสิก 1. ในการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิก ถ้าในบรรทัดหนึ่ง ๆ มีหลายคำาสั่งจะต้องคั่นระหว่าง คำาสั่งแต่ละคำาสั่งด้วยเครื่องหมายใด 2. จงอธิบายความแตกต่างในการใช้เครื่องหมายเซมิโคลอนและเครื่องหมายคอมม่า กับ คำาสั่ง PRINT 3. เราแบ่งกลุ่มคำาสั่งในภาษาเบสิกได้กี่กลุ่มอะไรบ้าง 4. คำาสั่งในการคำานวณมีประกอบด้วยอะไรบ้าง 5. เราแบ่งคำาสั่งฟังก์ชันออกได้กี่แบบอะไรบ้างอธิบายมาพอเข้าใจ 6. ถ้าเราต้องการจะทำาการรันโปรแกรมเมื่อเราโหลดโปรแกรมมาเรียบร้อยแล้ว จะต้องใช้ คำาสั่งในเมนูใด 7. ถ้าต้องการจะทำาการสร้างโปรแกรมย่อยเราจะต้องเลือกใช้คำาสั่งใด 8. เมนูใดเป็นเมนูที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถติดต่อไปยังโปรแกรมย่อยอื่นได้ 9. เมนู Option มีประโยชน์อย่างไร 10. เมนู Help มีประโยชน์อย่างไร งานที่ 6 จงตอบคำาถามต่อไปนี้
  • 16. 16 6.1 ให้ค้นหา ตัวอย่างคำาสั่งภาษาเบสิก โดยใช้คำาสั่ง Print จากอินเทอร์เน็ต และจดตัวอย่างนั้นลงสมุด (ค้นหามา 2 ตัวอย่าง) เช่น ตัวอย่าง คำาสั่ง Print แสดงชื่อตนเอง โปรแกรม Cls Print “napaporn” ผลรัน Napaporn 6.2 จงตอบคำาถามต่อไปนี้ 1. ภาษาใดที่ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมมากที่สุด 2. ภาษาใดที่ยากต่อการเขียนโปรแกรมมากที่สุด 3. ภาษาใดที่มนุษย์เข้าใจมากที่สุด 4. ภาษาใดที่มนุษย์เข้าใจน้อยที่สุด 5. ภาษาระดับตำ่า เช่น 6. ภาษาระดับสูง เช่น 7. คอมไพเลอร์ หมายถึง 8. อินเทอร์พลีเทอร์ หมายถึง 9. ผู้พัฒนาภาษาเบสิก คือ .... 10.จงบอกประโยชน์ของภาษาเบสิก งานที่ 7 ศึกษาและบันทึกสาระสำาคัญ และทำาแบบฝึกหัดที่ 6
  • 17. 17 วิธการทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง ขั้นตอนในการเตรียมงาน ในการเขียน ี โปรแกรมสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง แบ่งเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้ 1. การวิเคราะห์งาน เป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางคอมพิวเตอร์ในการรวบรวม ข้อมูลต่าง ๆ ของงาน และศึกาวิเคราะห์งานโดยละเอียดว่า ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำา อะไร มีข้อมูลเข้า ตัวแปรที่ใช้ ขันตอนการประมวลผล และรูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ ้ เป็นอย่างไร ขั้นตอนนี้ถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำาคัญที่สุด ตัวอย่าง 1.1 การวิเคราะห์งาน บริษัทสหไทย จำากัด ต้องการคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย มีเงื่อนไขดังนี้ ถ้ายอดขายน้อยกว่า หรือเท่ากับ 100,000 บาท ให้คิดค่าคอมมิชชั่น 7.5 % ถ้ายอดขายมากกว่า 100,000 บาทให้คิดค่าคอมมิชชั่น 9% จงหาค่าคอมมิชชันของพนักงานขายแต่ละคน และเงินรวมค่าคอมมิชชันที่บริษัท ต้องจ่ายขั้นตอนการวิเคราะห์งาน 1. สิ่งที่ต้องการ 1.1 คำานวณเงินค่าคอมมิชชัน และเงินรวมค่าคอมมิชชันที่บริษัทต้อง จ่าย 2. ข้อมูลนำาเข้า 2.1 ชื่อ และ ยอดขายของพนักงานขายแต่ละคน 3. ตัวแปร EmpName : ชื่อพนักงาน และใช้ทดสอบว่า ข้อมูลหมดหรือยัง ถ้า EmpName เท่ากับ “END” แสดงว่า หมดข้อมูล Sales : ยอดขาย Commis : ค่าคอมมิชชัน Total : เงินรวมค่าคอมมิชชัน 4. ข้อมูลนำาออก 4.1 ชื่อพนักงาน , ยอดขาย ,ค่าคอมมิชชัน และเงินร่วมค่าคอมมิชชัน 5. วิธีการประมวลผล 5.1 Total = 0 5.2 รับค่า ตัวแปร 5.3 เปรียบเทียบ ตัวแปร 5.4 เปรียบเทียบ Sales กัย 100000 5.5 Total = Total + Commis 5.6 พิมพ์ผลลัพธ์ ตัวแปร 5.7 รับค่าตัวแปร 5.8 ไปทำาขั้นตอนที่ 5.3 2. การเขียนผังงาน หรือผังโปรแกรม (Flow Chart) การเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนต่อจากการวิเคราะห์งานโดยนำาวิธีการที่ได้จาก การวิเคราะห์มาเขียนเป็นสัญลักษณ์ หรือภาพแสดงขั้นตอนการทำางานตามลำาดับก่อน หลัง ٣. การเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรม หมายถึง การเปลี่ยนขั้นตอนของการทำางานในผังงานให้เป็น รูปแบบภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ภาษาคอมพิวเตอร์มีมากมายหลากหลาย ภาษา แต่ละภาษาเหมาะกับงานต่าง ๆ กัน ดังนั้นการเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใด นั้น ควรคำานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. ขีดจำากันของเครื่อง หรือโปรแกรมแปลภาษา เช่น ตัวแปรภาษาบางภาษา ใช้เนื้อที่หน่วยความจำามาก 2. ความถนัดและความชำานาญของผู้เขียนโปรแกรม
  • 18. 18 3. ลักษณะและประเภทของงาน เช่น ถ้าเป็นงานทางด้านธุรกิจเลือกภาษาโค บอลหรืออาร์พีจี เป็นต้น 4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม หมายถึง การตรวจสอบความถูกต้องของคำาสั่ง หรือโปรแกรมทีเขียน เพื่อหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรมที่ทำาให้ผลลัพธ์ไม่ตรงกับความ ่ ต้องการ การแก้ไขข้อผิดพลาด เรียกว่า Debug ซึงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการเขียน ่ โปรแกรม แบ่งได้ 2 แบบ 1. ข้อผิดพลาดจากการเขียนคำาสั่ง หรือโปรแกรมไม่ถูกต้องตามรูปแบบ หรือ หลักไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ ข้อผิดพลาดนี้เรียกว่า Syntax Error ในกรณีที่เขียนคำาสั่งหรือรูปแบบของภาษาผิด ทำาการตรวจสอบได้โดยใน รอบแปลจะให้ข่าวสารความผิดพลาดนั้นออกมา 2. ข้อผิดพลาดทางตรรก เป็นข้อผิดพลาดที่ทำาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้องหรือตรง กับความต้องการ ข้อผิดพลาดนี้เรียกว่า Logical Error การตรวจหาความผิด พลาดนี้ทำาได้ยากเพราะ เครื่องไม่สามารถบอกได้ว่าผิดตรงไหน จึงเป็น หน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมจะต้องตรวจสอบหาที่ผิดเองโดยอาจดูจากผัง งานช่วยในการค้นหาที่ผิดได้ เช่น ผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้สูตรการ คำานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม ซึ่งพื้นที่สามเหลี่ยม = ½ X ฐาน X สูง แต่ผู้ เขียนโปรแกรมเขียนผิดเป็น พื้นที่สามเหลี่ยม = ½ + ฐาน + สูง เครื่อง คอมพิวเตอร์ไม่สามารถตรวจหาที่ผิดได้ ดังนั้นเมื่อประมวลผลโปรแกรมจะ ให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้องกับความต้องการ 5. การนำาโปรแกรมพร้อมข้อมูลจริงเข้าเครื่อง หลังจากการทดสอบโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว ขันตอนต่อไปเป็นการนำาข้อมูลจริง ้ เข้าเครื่องประมวลผลตามโปรแกรมจนได้ผลลัพธ์ถูกต้อง หรือตรงกับความต้องการ 6. การจัดทำาเอกสารและบำารุงรักษาโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรม เป็นเอกสารที่จัดทำาขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อผู้ใช้โปรแกรม และการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมในอนาคต การบำารุงรักษาโปรแกรม เป็นการแก้ไขหรือปรับปรุงโปรแกรมให้ทันสมัยอยู่เสมอ เช่น โปรแกรมการคำานวณเงินโบนัส ที่ใช้ในปัจจุบัน ในอนาคตอาจมีการเปลี่ยนแปลง การคิดคำานวณโบนัสใหม่ จึงต้องมีการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมใหม่เพื่อให้ใช้งานได้ ผังงาน (Flowchart) ที่สำาคัญ
  • 19. 19 เริ่มต้น – สิ้นสุด รับข้อมูล/กำาหนดตัวแปร ทิศทางข้อมูล ตัดสินใจ การแสดงผล/คำานวณ ตัวอย่างการเขียนผังงาน การคำานวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า เริ่มต้น กว้าง ,ยาว พื้นที่ = กว้าง X ยาว พื้นที่ แบบฝึกหัดที่ 6 1. วิธีการทางคอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้าง อธิบาย 2. จากโปรแกรม จงเขียนผลรันที่ได้
  • 20. 20 cls print “ X” กด enter print “ XXX” กด enter print “ XXXXX” กด enter print “XXXXXXX’ กด enter end 3. ให้พิมพ์คำาสั่งต่อไปนี้ทีละบรรทัดแล้วรัน(F5) ให้แสดงผลลัพธ์ของคำาสั่งแต่ละบรรทัด print “LUCKY” กด (F5) ผลลัพธ์………………………………………………… อธิบาย…………………………………………………. Print “100+200” กด (F5) ผลลัพธ์………………………………………………… อธิบาย…………………………………………………. Print “100”+”200” กด (F5) ผลลัพธ์………………………………………………… อธิบาย…………………………………………………. Print 100+200 กด (F5) ผลลัพธ์………………………………………………… อธิบาย…………………………………………………. Print 1,2,3 กด (F5) ผลลัพธ์………………………………………………… อธิบาย…………………………………………………. Print 1;2;3 กด (F5) ผลลัพธ์………………………………………………… อธิบาย…………………………………………………. 4. จงเขียนโปรแกรม แสดงการคำานวณให้ได้ผลรันดังนี้ 7+5 = 12
  • 21. 21 7-5 =2 7 X 5 = 35 หมายเหตุ ผลการคำานวณให้คำานวณอัตโนมัติ (และแยกส่วนให้เรียบร้อย) โปรแกรม ผลรัน 5. จงบอกความหมายของสัญลักษณ์ต่อไปนี้ (5 คะแนน) 6. จงเขียนผังงาน การคำานวณ พื้นที่ สามเหลี่ยม เริ่มต้น สูง,ฐาน พื้นที่ = ½ * สูง * ฐาน พื้นที่ งานที่ 8 ศึกษาสาระสำาคัญ บันทึกสาระสำาคัญ และทำาแบบฝึกหัดที่ 7 สาระการเรียนรู้ที่ 6 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น เรื่อง คำาสั่งในการรับข้อมูล
  • 22. 22 สาระสำาคัญ การใช้คำาสั่ง Input ในการรับข้อมูลเพื่อเป็นการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ และการใช้คำาสั่ง Read/Data ควบคู่ จุดประสงค์ปลายทาง เข้าใจและสามารถใช้คำาสั่งในการรับข้อมูลได้ จุดประสงค์นำาทาง 1. สามารถใช้คำาสั่ง Input รูปแบบต่าง ๆ เพื่อทำาการกำาหนดค่าได้อย่างถูกต้อง 2. สามารถใช้คำาสั่ง Read/Data เพื่อทำาการกำาหนดค่าได้ถูกต้อง 3. สามารถแยกความแตกต่างระหว่าง Input และ Read/Data ได้ 4. สามารถกำาหนดค่าให้กำาตัวแปรได้ 5. สามารถเขียนโปรแกรมด้วยคำาสั่ง Read/Data และ Input ได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง เนื้อหา คำาสั่ง INPUT คำาสั่ง INPUT เป็นคำาสั่งที่ทำาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยตรง การใช้คำาสั่งนี้จึง เสมือนผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้ ซึงจะรอรับข้อมูลผ่านทางแป้นพิมพ์ เพื่อนำา ่ ข้อมูลไปประมวลผลต่อไปในการรับข้อมูลเข้าไปนี้ข้อม๔ลจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำา ดังนั้น จึงต้องมีการกำาหนดตัวแปรต่าง ๆ เพื่อเก็บค่าที่รบเข้าไป ค่าต่าง ๆ นี้จะ ั เปลียนแปลงไปตามการคำานวณในเวลาต่าง ๆ กัน คำาสั่งนี้มีรปแบบดังนี้ ่ ู รูปแบบคำาสั่ง INPUT INPUT Variable,Variable..n Variable คือ ค่าของตัวแปรแบบตัวเลขหรือแบบสตริง รายการตัวแปร Variable ถึง n จะเป็นตัวแปรทีเป็นจำานวนหรือตัวแปรอักขระก็ได้ในกรณี ่ ที่มีตัวแปรมากกว่า 1 ตัวแปร ให้ใช้เครื่องหมายคอมม่า (,) คั่นระหว่างตัวแปรแต่ละตัว เมื่อโปรแกรมรันมาถึงบรรทัดที่สั่งให้มีการรับค่าจะเกิดเครื่องหมาย ? รอให้ผู้ใช้ใส่ค่า เข้าไป การใส่ค่านี้จะต้องใส่ค่าให้ตรงกับตัวแปรที่กำาหนด ตัวอย่างที่ 6.1 INPUT A$,B,C INPUT A,B INPUT A$,B$ ตัวอย่างที่ 6.2 การใช้คำาสั่ง INPUT เพื่อรอรับค่าเลขโดยมีตัวแปรหลายตัวในคำา สั่งเดียวกัน INPUT A,B,C PRINT A,B,C
  • 23. 23 RUN ? 1,2,3 ตัวอย่างที่ 6.3 การใช้คำาสั่ง INPUT เพื่อรอรับตัวอักษรและตัวเลข PRINT “YOUR NAME IS =” INPUT NA$ PRINT “YOUR AGE IS =” INPUT AGE RUN YOUR NAME IS = ? KOUNJIT ใส่ค่าทีเป็นตัวอักษร ตัวเลขหรือพยัญชนะต่าง ๆ ่ YOUR AGE IS = ? 28 ใส่ค่าทีเป็นตัวเลขเท่านั้น ่ ตัวอย่างที่ 6.4 การใช้เครื่องหมายเซมิโคล่อน(;) ในคำาสั่ง INPUT INPUT “YOUR NAME IS =”;NA$ INPUT “YOUR AGE IS =”;AGE PRINT “NAME = “;NA$ PRINT “AGE =”;AGE RUN YOUR NAME IS = ? KOUNJIT YOUR AGE IS = ? 28 NAME = KOUNJIT AGE = 28 คำาสั่ง READ/DATA นอกจากคำาสั่ง INPUT ที่ทำาหน้าที่รับข้อมูลแล้ว คำาสั่ง READ มีหน้าที่รับข้อมูล เช่นกัน แต่คำาสั่ง READ จะต้องใช้คู่กับคำาสั่ง DATA เสมอ คำาสั่ง READ กับ DATA ใช้ ในการอ่านข้อมูลให้กับตัวแปร ซึงจะได้ผลดีมากในกรณีที่มรข้อมูลมากๆ และไม่ ่ เปลียนแปลง ่ รูปแบบคำาสั่ง READ/DATA READ Var1,Var2…Var n DATA C1,C2,…Cn หรือ DATA C1,C2,…Cn READ Var1,Var2…Var n โดยที่ Var1,Var2…Var n คือตัวแปรตัวที่ 1 ถึง n C1,C2,…Cn คือข้อมูลซึ่งอาจเป็นค่าคงที่จำานวนหรืออักขระก็ได้ ตัวแปรใน READ และข้อมูลในคำาสั่ง DATA ต้องสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ถ้าตัวแปรเป็น ตัวแปรจำานวน ข้อมูลก็จะต้องเป็นค่าคงที่จำานวน แต่ถ้าตัวแปรเป็นอักขระ ข้อมูลก็ต้อง เป็นอักขระด้วย ตัวอย่างเช่น ตัวอย่างที่ 6.5 READ A$,B$,C$ DATA AA,123,C$
  • 24. 24 ตัวอย่างที่ 6.6 DATA 10,20,30 READ A,B,C ตัวอย่างที่ 6.7 DATA 100,200 READ N READ M DATA 300,400 READ P,Q แบบฝึกหัดที่ 7 ทบทวนการคำานวณ 1. ٤*(٥- ٧) + ٨ = ……….….. 2. 1000 + (20 ^ 2 – (5 * 2)+6 ) = …………… 3. 4^2*٤٠-٧ = …………….. 4. ١-٣/٢*١٢/٦ = ……………… 5. 3 + 5 – 6 * 4 /2-3 + 2*3 = ……………. จงยกตัวอย่างคำาสั่ง input คำาสั่ง INPUT มี 3 แบบ INPUT ตัวแปรที่ 1 , ตัวแปรที่ 2 ตัวอย่าง ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… INPUT “ข้อความอธิบาย”,ตัวแปรที่ 1,ตัวแปรที่ 2 ตัวอย่าง ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… INPUT “ข้อความอธิบาย”;ตัวแปรที่ 1, ตัวแปรที่ 2 ตัวอย่าง ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… งานที่ 9 จงตอบคำาถามต่อไปนี้ 1. จงเขียนผลรันจากโปรแกรมดังนี้ Rem filename
  • 25. 25 Pritnt “** sale calculation**” Input “ Book = ”,book Input “Price=”price total = book*price print “Total =”,total หมายเหตุ สมมติว่าป้อนค่า book = 10 Price = 40 ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….…… 2. จงเขียนโปรแกรมคำานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….……………….……………….………………. ……………….……………….……………….…………… งานที่ 10 ศึกษาสาระสำาคัญ บันทึกสาระสำาคัญ และทำากิจกรรมดังนี้
  • 26. 26 สาระการเรียนรู้ที่ 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น เรื่อง คำาสั่งในการวนรอบ สาระสำาคัญ การใช้คำาสั่ง FOR..NEXT เป็นคำาสั่งประเภทการสั่งให้มีการทำางานต่อไปจนกว่าจะครบ รอบ ซึ่งสามารถให้มีการกระทำาของโปรแกรมโดยการวนอยู่ตลอดเวลา ตามการกำาหนด ของโปรแกรม จุดประสงค์ปลายทาง เข้าใจและสามารถใช้คำาสั่งในการวนรอบข้อมูลได้ จุดประสงค์นำาทาง 1. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ได้ 2. บอกรูปแบบและอธิบายการทำางานของคำาสั่ง FOR..NEXT ได้ เนื้อหา คำาสั่ง FOR..NEXT การเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานบางอย่าง อาจมีการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางานใน บางคำาสั่งหรือบางกลุ่มคำาสั่ง ซำ้ากันหลายครั้ง ในภาษาเบสิกมีคำาสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ ทำางานซำ้ากันหลายครั้ง คำาสั่งดังกล่าวคือ คำาสั่ง FOR..NEXT มีรูปแบบดังนี้ FOR V ={a} to{b} {Step c} คำาสั่งที่ 1 คำาสั่งที่ 2 . . NEXT V V คือ ตัวแปรจำานวน a เป็นนิพจน์ที่บอกค่าเริ่มต้นของ V b เป็นนิพจน์ที่บอกค่าสุดท้ายของ V c เป็นนิพจน์ที่บอกค่าเปลี่ยนแปลงของ V ค่า c ที่เพิมขึ้นหลัง Step จะเป็นจำานวนเต็มบวกหรือลบหรือทศนิยมก็ได้ ถ้าไม่มี ่ คำาสั่ง Step เครื่องคอมพิวเตอร์จะถือว่ามี Step เป็น 1 ตัวอย่างที่ 7.1 โปรแกรมนี้จะสั่งให้เครื่องทำาการพิมพ์คำาว่า HELLO ! 4 ครั้ง FOR I=1 TO 4 PRINT “HELLO !” NEXT I END เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้ HELLO ! HELLO ! HELLO ! HELLO !
  • 27. 27 ตัวอย่างที่ 7.2 โปรแกรมพิมพ์คาตัวแปร TRUN ่ FOR TRUN = 5 TO 10 PRINT TRUN NEXT TRUN เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้ 5 6 7 8 9 10 ข้อสังเกต จากรูปแบบคำาสั่ง FOR V =a to b Step c อาจเป็นจำานวนเต็มบวก หรือจำานวนลบที่ได้ ถ้า c เป็นบวก หมายความว่า ค่าของ V จะเพิ่มขึ้นจากค่าเริ่มต้น a ครั้งละ c ไปจนถึงค่าที่ไม่เกินค่าสิ้นสุด b ดังนั้นในกรณีนี้ a จะมีค่าน้อยกว่า b แต่ถ้าค่า c เป็นจำานวนลบหมายความว่าค่าของ V จะลดลงจากค่าเริ่มต้น a ครั้งละ c ไปจนถึงค่า สิ้นสุด b ดังนั้น ในกรณีนี้ a จะมีค่ามากกว่า b ตัวอย่างที่ 7.3 โปรแกรมทีมีการวนรอบโดยกระโดดข้าเป็นลำาดับขั้น ่ FOR A = 1 TO 10 STEP 2 PRINT A NEXT A END เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้ 1 3 5 7 9 ตัวอย่างที่ 7.4 โปรแกรมทีมีการทำาลำาดับขัน ่ ้ C =3 FOR I = C TO 4*C STEP C PRINT I;” “; NEXT I END เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้ 3 6 9 12 ตัวอย่างที่ 7.5 โปรแกรมทีมี step เป็นลบ ่ FOR I = 100 TO 10 STEP –10 PRINT I;” “ NEXT I END เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้ 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10
  • 28. 28 ตัวอย่างที่ 7.6 โปรแกรมหาค่าเฉลี่ยจากข้อมูลที่อยู่ในคำาสั่ง DATA DATA 3,8,5,2,3,7,6,5,1,9 S=0 FOR I=1 TO 10 READ X S=S+X NEXT I PRINT S,S/10 END เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้ 49 4.9 การใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ซ้อนกัน บางกรณีในโปรแกรมอาจจะมีคำาสั่งที่ให้ทำางานในลักษณะวนเป็นรอบซ้อนกัน หลายชั้น ซึ่งอาจจะใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ซ้อนกัน ดังรูปแบบดังนี้ FOR FOR NEXT NEXT คำาสั่ง FOR..NEXT จะมีเป็นคู่ และแต่ละคู่จะไม่มีการสั่งให้ทำางานข้ามกัน คือ การทำางานแบบวนรอบนี้ จะต้องมีระเบียบ คือ วนรอบตามคำาสั่ง FOR..NEXT ที่อยู่ใน รอบในก่อน ตัวอย่างที่ 7.7 โปรแกรมการวนรอบแบบลูปซ้อน FOR I = 1 TO 2 FOR J = 1 TO 3 PRINT I,J NEXT J PRINT NEXT I เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้ 11 12 13 21 23 23 ตัวอย่างที่ 7.8 โปรแกรมวนรอบแบบลูปซ้อน S=0
  • 29. 29 FOR I = 1 TO 2 FOR J = 1 TO 3 S = S+1 PRINT S;” “; NEXT J NEXT I END เมื่อสั่งให้เครื่องทำาการรันโปรแกรมนี้จะปรากฏผลลัพธ์บนจอภาพดังนี้ 123456 หลักเกณฑ์ในการเขียนคำาสั่ง FOR..NEXT 1. ในกรณีที่มีการใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ซ้อนกัน ชื่อของตัวแปรจะตั้งซำ้ากันไม่ ได้ 2. ภายในช่วงของคำาสั่ง FOR..NEXT จะมีการสั่งให้เครื่องซึ่งกำาลังทำางานอยู่ นอก FOR..NEXT เข้ามาในช่วงของคำาสั่ง FOR..NEXT 3. ถ้าค่าของ c มีค่าเป็นจำานวนหลัง step จะมีค่าเป็นจำานวนบวกแต่ค่าเริ่มต้น มากกว่าค่าสิ้นสุด หรือค่าของ c มีค่าเป็นจำานวนลบแต่ค่าเริ่มต้นน้อยกว่าค่าสิ้นสุด การ ทำางานในช่วง FOR..NEXT จะถูกประมวลผลเพียงครั้งเดียว 4. ห้ามเปลียนแปลงค่าของค่าเริ่มต้น ค่าสิ้นสุด หรือนิพจน์ที่บอกค่า ่ เปลียนแปลง ในช่วงคำาสัง FOR..NEXT ่ กิจกรรมประกอบการเรียน กิจกรรมที่ 1 ลำาดับขั้นตอนการทำางาน 1. เข้าสู่โปรแกรมภาษาเบสิก 2. ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมโดยใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ให้คอมพิวเตอร์พิมพ์ชื่อของ นักเรียนจำานวน 10 บรรทัด ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… .
  • 30. 30 3. พิมพ์โปรแกรมเข้าคอมพิวเตอร์และทดลองรันโปรแกรม จดผลลัพธ์มาให้ดู ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . 4. ให้ SAVE โปรแกรมโดยใช้ชื่อว่า FOR_name.bas 5. จงเขียนโปรแกรมโดยใช้คำาสั่ง FOR..NEXT ให้คอมพิวเตอร์พิมพ์ค่าตั้งแต่ 500 ถึง 1000 โดยให้พิมพ์จาก 1000 900 …500 ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . ……………………………………………………………………………………………………………… . 6. ให้พิมพ์โปรแกรมในข้อ 5 เข้าคอมพิวเตอร์และทดลองการรัน 7. ให้ SAVE โปรแกรมในข้อ 5 ชื่อ FOR5.bas กิจกรรมที่ 2 CLS PRINT ”-----------------------------------------“