SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12

บทนมัสการมาตาปิตุคุณ
นมัสการมาตาปิตุคุณเป็นบทอาขยานที่กล่าวสรรเสริญ
พระคุณของบิดามารดาที่ได้เลี้ยงดู ทะนุถนอมบุตรจนเติบใหญ่ แม้ภู
ผาและแผ่นดินที่กว้างใหญ่ก็มิอาจเทียบ เทียมได้ ผู้แต่งใช้ถ้อยคา
เรียบง่าย ในด้านโวหารมีความเทียบที่เข้าใจได้ชัดเจน ทาให้เกิด
ความรู้สึกซาบซึ้ง

ข้าขอนบชนกคุณ ชนนีเป็นเค้ามูล
ผู้กอบนุกูลพูน ผดุงจวบเจริญวัย
ฟูมฟักทะนุถนอม บ่บาราศนิราไกล
แสนยากเท่าไรๆ บ่คิดยากลาบากกาย
ตรากทนระคนทุกข์ ถนอมเลี้ยงฤรู้วาย
ปกป้องซึ่งอันตราย จนได้รอดเป็นกายา
เปรียบหนักชนกคุณ ชนนีคือภูผา
ใหญ่พื้นพสุนธรา ก็บ่เทียบบ่เทียมทัน
เหลือที่จะแทนทด จะสนองคุณานันต์
แท้บูชไนยอัน อุดมเลิศประเสริฐคุณ

ผู้แต่ง :พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร )
ที่มาของเรื่อง :เป็นบทประพันธ์รวมพิมพ์ในภาคเบ็ดเตล็ด หนังสือชุด ภาษาไทย เล่ม
๒ ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร )
ฉันทลักษณ์ :พระยาศรีสุนทรโวหารเรียกฉันท์นี้ว่า"อินทะวะชิระฉันท์"แต่โดทั่วไป
เรียกว่า อิทรวิเชียรฉันท์

อันคุณของบิดามารดานั้นยิ่งใหญ่นัก ตั้งแต่เราได้ถือกาเนิดเกิด
มาบนโลกใบนี้ บุคคลแรกที่เราจาความได้สองท่านนี้ ก็คอยฟูมฟัก ทะนุ
ถนอมเลี้ยงดูเราจนเติบใหญ่ แม้บางครั้งจะมีอุปสรรคที่ร้ายแรงเพียงใด
ท่านก็ไม่เคยหวาดหวั่น ต่อสู้ และฝ่าฟันเพื่อบุตรทุกประการ หากจะ
เปรียบคุณของบิดามารดานั้นดูยิ่งใหญ่เกินกว่าที่จะยกภูเขาทั้งลูก
แผ่นดินทั้งแผ่นมาเทียมได้ มากมายมหาศาลเหลือเกิน แม้การที่เราจะ
ทดแทนบุญคุณทั้งหมดคงจะเป็นไปไม่ได้ แต่เพียงแค่เรากระทาตนเป็น
คนดีของสังคม กตัญญูรู้คุณต่อท่านเท่านี้ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี และยิ่งใหญ่
ที่สุดแล้ว
สังเขปเรื่องบทนมัสการมาตาปิ ตุคุณ

บทนมัสการอาจริยคุณ
นมัสการอาจริยคุณ เป็นบทอาขยานที่กล่าวสรรเสริญ
พระคุณของครูอาจารย์ ผู้เปี่ยมด้วยเมตตา กรุณา ทาหน้าที่สั่งสอน
ให้ความรู้ในสรรพวิชา อบรมศีลธรรม จริยธรรมให้เข้าใจใน บาป
บุญคุณโทษ

อนึ่งข้าคานับน้อม ต่อพระครูผู้การุญ
โอบเอื้อและเจือจุน อนุสาสน์ทุกสิ่งสรรพ
ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ ทั้งบุญบาปทุกสิ่งอัน
ชี้แจงและแบ่งปัน ขยายอัตถ์ให้ชัดเจน
จิตมากด้วยเมตตา และกรุณา บ เอียงเอน
เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์ ให้ฉลาดและแหลมคม
ขจัดเขลาบรรเทาโม- หะจิตมืดที่งุนงม
กังขา ณ อารมณ์ ก็สว่างกระจ่างใจ
คุณส่วนนี้ควรนับ ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร
ควรนึกและตรึกใน จิตน้อมนิยมชม

ครู ผู้มีความกรุณา เผื่อแผ่อบรมสั่งสอนศิษย์ทุกสิ่ง ให้มี
ความรู้ ทั้งความดี ความชั่ว ชั่วขยายความให้เข้าใจแจ่มแจ้ง มีเมตตา
กรุณา กรุณาเที่ยงตรง เคี่ยวเข็ญให้ฉลาดหลักแหลม ช่วยกาจัดความ
โง่เขลา ให้มีความเข้าใจแจ่มชัด พระคุณดังกล่าวนี้ ถือว่าเป็นเลิศใน
สามโลกนี้ ควรระลึกและน้อมใจชื่นชมยกย่อง
สังเขปเรื่องนมัสการอาจริยคุณ

ผู้แต่ง :พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร )
ที่มาของเรื่อง :เป็นบทประพันธ์รวมพิมพ์ในภาคเบ็ดเตล็ด หนังสือชุด ภาษาไทย เล่ม
๒ ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร )
ฉันทลักษณ์ :พระยาศรีสุนทรโวหารเรียกฉันท์นี้ว่า"อินทะวะชิระฉันท์"แต่โดทั่วไป
เรียกว่า อิทรวิเชียรฉันท์

คุณค่าของบท นมัสการมาตาปิ ตุคุณ และ นมัสการอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและบทนมัสการอาจาริยคุณ มีคุณค่า ๒ ประการ
ได้แก่ คุณค่าด้านเนื้อหา และคุณค่าด้านวรรณศิลป์
๑. คุณค่าด้านเนื้อหา ได้แก่ การลาดับความชัดเจน และการสอน
จริยธรรม
๑.๑ การลาดับความได้ชัดเจน บทนมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอา
จาริยคุณ เป็นบทร้อยกรองขนาดสั้น มีการลาดับความที่ชัดเจน
๑.๒ การสอนจริยธรรม เนื้อหาของบทนมัสการมาตาปิตุคุณและบท
นมัสการอาจาริยคุณ ทาให้นักเรียนสานึกในพระคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์
นับเป็นการใช้บทประพันธ์เป็นสื่อเพื่อปลูกฝังจริยธรรมได้เป็นอย่างดี

๒. คุณค่าด้านภาษา การใช้ภาษาในบท “นมัสการมาตาปิตุคุณ” และบท “นมัสการ
อาจาริยคุณ” มีความดีเด่น ๒ ประการ ได้แก่ การเล่นเสียงสัมผัส และการสรรคา
๒.๑ การเล่นเสียงสัมผัส ในที่นี้มีทั้งการเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระ ดังนี้
สัมผัสพยัญชนะ คือ การใช้คาที่มีเสียงพยัญชนะเดียวกันนามาสัมผัสกัน
เพื่อให้เกิดความไพเราะ ตัวอย่างเช่น
“ข้าขอนบชนกคุณ”เล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะได้แก่คาว่า “ข้า” “ขอ” และ
“คุณ” , “นบ” กับ “ชนก”
“ก็ บ เทียบ บ เทียมทัน”เล่นเสียงพยัญชนะได้แก่คาว่า “เทียบ” “เทียม”
และ “ทัน”
“อนุสาสน์ทุกสิ่งสรรพ์”เล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะได้แก่ คาว่า “(อนุ)
สาสน์” “สิ่ง” และ “สรรพ์”
สัมผัสสระ คือ การใช้คาที่มีสระเหมือนกันนามาสัมผัสกันเพื่อให้เกิดความ
ไพเราะ ตัวอย่างเช่น
“ผู้กอบนุกูลพูน” เล่นสัมผัสสระคาว่า“(นุ)กูล” กับ “พูน”
“ตรากทนระคนทุกข์”เล่นสัมผัสสระคาว่า “ทน” กับ “(ระ)คน”
“ต่อพระครูผู้การุญ” เล่นสัมผัสสระคาว่า “ครู” กับ “ผู้”

๒.๒ การสรรคา ผู้ประพันธ์เลือกใช้คาที่ไพเราะทั้งเสียงและความหมายได้อย่างเหมาะสม โดย
เป็นคาที่ง่าย สื่อความหมายชัดเจน ทาให้ผู้อ่านเห็นภาพแจ่มชัด ดังนี้
“ฟูมฟัก”ทาให้เห็นภาพพ่อแม่ทะนุถนอม ประคับประคองเลี้ยงดูลูกด้วย
ความรักและเอาใจใส่อย่างดี
“ตรากทนระคนทุกข์”เป็นคาที่ทาให้เห็นว่าพ่อแม่ต้องตรากตราและอดทนทุกสิ่ง
ทุกอย่าง เพื่อเลี้ยงดูลูกให้เติบโต
“ถนอมเลี้ยง”แสดงถึง การเลี้ยงดูลูกอย่างประคับประคองให้ดี เลี้ยงลูกด้วย
ความรักและความปรารถนาดี
“บูชไนย”แผลงมาจากปูชนีย แปลว่า ควรบูชา เพื่อแสดงว่าพ่อแม่เป็น
บุคคลที่ลูกควรบูชา
“ขจัดเขลา”คานี้แสดงให้เห็นหน้าที่ของครูว่าต้องการทาให้ศิษย์ฉลาด
ปราศจากความไม่รู้เท่าทันในสิ่งต่างๆ

Contenu connexe

Tendances

คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 

Tendances (20)

คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 

Similaire à บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ

หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรPanda Jing
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1Sirisak Promtip
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตspk-2551
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์Panda Jing
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
กิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงกิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงniralai
 

Similaire à บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ (20)

หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ผญา
ผญาผญา
ผญา
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์
 
กลอนกฐิน55
กลอนกฐิน55กลอนกฐิน55
กลอนกฐิน55
 
กลอนกฐิน55
กลอนกฐิน55กลอนกฐิน55
กลอนกฐิน55
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
กิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงกิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธง
 

บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ

  • 1.
  • 3.  ข้าขอนบชนกคุณ ชนนีเป็นเค้ามูล ผู้กอบนุกูลพูน ผดุงจวบเจริญวัย ฟูมฟักทะนุถนอม บ่บาราศนิราไกล แสนยากเท่าไรๆ บ่คิดยากลาบากกาย ตรากทนระคนทุกข์ ถนอมเลี้ยงฤรู้วาย ปกป้องซึ่งอันตราย จนได้รอดเป็นกายา เปรียบหนักชนกคุณ ชนนีคือภูผา ใหญ่พื้นพสุนธรา ก็บ่เทียบบ่เทียมทัน เหลือที่จะแทนทด จะสนองคุณานันต์ แท้บูชไนยอัน อุดมเลิศประเสริฐคุณ
  • 4.  ผู้แต่ง :พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร ) ที่มาของเรื่อง :เป็นบทประพันธ์รวมพิมพ์ในภาคเบ็ดเตล็ด หนังสือชุด ภาษาไทย เล่ม ๒ ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร ) ฉันทลักษณ์ :พระยาศรีสุนทรโวหารเรียกฉันท์นี้ว่า"อินทะวะชิระฉันท์"แต่โดทั่วไป เรียกว่า อิทรวิเชียรฉันท์
  • 5.  อันคุณของบิดามารดานั้นยิ่งใหญ่นัก ตั้งแต่เราได้ถือกาเนิดเกิด มาบนโลกใบนี้ บุคคลแรกที่เราจาความได้สองท่านนี้ ก็คอยฟูมฟัก ทะนุ ถนอมเลี้ยงดูเราจนเติบใหญ่ แม้บางครั้งจะมีอุปสรรคที่ร้ายแรงเพียงใด ท่านก็ไม่เคยหวาดหวั่น ต่อสู้ และฝ่าฟันเพื่อบุตรทุกประการ หากจะ เปรียบคุณของบิดามารดานั้นดูยิ่งใหญ่เกินกว่าที่จะยกภูเขาทั้งลูก แผ่นดินทั้งแผ่นมาเทียมได้ มากมายมหาศาลเหลือเกิน แม้การที่เราจะ ทดแทนบุญคุณทั้งหมดคงจะเป็นไปไม่ได้ แต่เพียงแค่เรากระทาตนเป็น คนดีของสังคม กตัญญูรู้คุณต่อท่านเท่านี้ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี และยิ่งใหญ่ ที่สุดแล้ว สังเขปเรื่องบทนมัสการมาตาปิ ตุคุณ
  • 6.  บทนมัสการอาจริยคุณ นมัสการอาจริยคุณ เป็นบทอาขยานที่กล่าวสรรเสริญ พระคุณของครูอาจารย์ ผู้เปี่ยมด้วยเมตตา กรุณา ทาหน้าที่สั่งสอน ให้ความรู้ในสรรพวิชา อบรมศีลธรรม จริยธรรมให้เข้าใจใน บาป บุญคุณโทษ
  • 7.  อนึ่งข้าคานับน้อม ต่อพระครูผู้การุญ โอบเอื้อและเจือจุน อนุสาสน์ทุกสิ่งสรรพ ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ ทั้งบุญบาปทุกสิ่งอัน ชี้แจงและแบ่งปัน ขยายอัตถ์ให้ชัดเจน จิตมากด้วยเมตตา และกรุณา บ เอียงเอน เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์ ให้ฉลาดและแหลมคม ขจัดเขลาบรรเทาโม- หะจิตมืดที่งุนงม กังขา ณ อารมณ์ ก็สว่างกระจ่างใจ คุณส่วนนี้ควรนับ ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร ควรนึกและตรึกใน จิตน้อมนิยมชม
  • 8.  ครู ผู้มีความกรุณา เผื่อแผ่อบรมสั่งสอนศิษย์ทุกสิ่ง ให้มี ความรู้ ทั้งความดี ความชั่ว ชั่วขยายความให้เข้าใจแจ่มแจ้ง มีเมตตา กรุณา กรุณาเที่ยงตรง เคี่ยวเข็ญให้ฉลาดหลักแหลม ช่วยกาจัดความ โง่เขลา ให้มีความเข้าใจแจ่มชัด พระคุณดังกล่าวนี้ ถือว่าเป็นเลิศใน สามโลกนี้ ควรระลึกและน้อมใจชื่นชมยกย่อง สังเขปเรื่องนมัสการอาจริยคุณ
  • 9.  ผู้แต่ง :พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร ) ที่มาของเรื่อง :เป็นบทประพันธ์รวมพิมพ์ในภาคเบ็ดเตล็ด หนังสือชุด ภาษาไทย เล่ม ๒ ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร ) ฉันทลักษณ์ :พระยาศรีสุนทรโวหารเรียกฉันท์นี้ว่า"อินทะวะชิระฉันท์"แต่โดทั่วไป เรียกว่า อิทรวิเชียรฉันท์
  • 10.  คุณค่าของบท นมัสการมาตาปิ ตุคุณ และ นมัสการอาจริยคุณ บทนมัสการมาตาปิตุคุณและบทนมัสการอาจาริยคุณ มีคุณค่า ๒ ประการ ได้แก่ คุณค่าด้านเนื้อหา และคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา ได้แก่ การลาดับความชัดเจน และการสอน จริยธรรม ๑.๑ การลาดับความได้ชัดเจน บทนมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอา จาริยคุณ เป็นบทร้อยกรองขนาดสั้น มีการลาดับความที่ชัดเจน ๑.๒ การสอนจริยธรรม เนื้อหาของบทนมัสการมาตาปิตุคุณและบท นมัสการอาจาริยคุณ ทาให้นักเรียนสานึกในพระคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์ นับเป็นการใช้บทประพันธ์เป็นสื่อเพื่อปลูกฝังจริยธรรมได้เป็นอย่างดี
  • 11.  ๒. คุณค่าด้านภาษา การใช้ภาษาในบท “นมัสการมาตาปิตุคุณ” และบท “นมัสการ อาจาริยคุณ” มีความดีเด่น ๒ ประการ ได้แก่ การเล่นเสียงสัมผัส และการสรรคา ๒.๑ การเล่นเสียงสัมผัส ในที่นี้มีทั้งการเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระ ดังนี้ สัมผัสพยัญชนะ คือ การใช้คาที่มีเสียงพยัญชนะเดียวกันนามาสัมผัสกัน เพื่อให้เกิดความไพเราะ ตัวอย่างเช่น “ข้าขอนบชนกคุณ”เล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะได้แก่คาว่า “ข้า” “ขอ” และ “คุณ” , “นบ” กับ “ชนก” “ก็ บ เทียบ บ เทียมทัน”เล่นเสียงพยัญชนะได้แก่คาว่า “เทียบ” “เทียม” และ “ทัน” “อนุสาสน์ทุกสิ่งสรรพ์”เล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะได้แก่ คาว่า “(อนุ) สาสน์” “สิ่ง” และ “สรรพ์” สัมผัสสระ คือ การใช้คาที่มีสระเหมือนกันนามาสัมผัสกันเพื่อให้เกิดความ ไพเราะ ตัวอย่างเช่น “ผู้กอบนุกูลพูน” เล่นสัมผัสสระคาว่า“(นุ)กูล” กับ “พูน” “ตรากทนระคนทุกข์”เล่นสัมผัสสระคาว่า “ทน” กับ “(ระ)คน” “ต่อพระครูผู้การุญ” เล่นสัมผัสสระคาว่า “ครู” กับ “ผู้”
  • 12.  ๒.๒ การสรรคา ผู้ประพันธ์เลือกใช้คาที่ไพเราะทั้งเสียงและความหมายได้อย่างเหมาะสม โดย เป็นคาที่ง่าย สื่อความหมายชัดเจน ทาให้ผู้อ่านเห็นภาพแจ่มชัด ดังนี้ “ฟูมฟัก”ทาให้เห็นภาพพ่อแม่ทะนุถนอม ประคับประคองเลี้ยงดูลูกด้วย ความรักและเอาใจใส่อย่างดี “ตรากทนระคนทุกข์”เป็นคาที่ทาให้เห็นว่าพ่อแม่ต้องตรากตราและอดทนทุกสิ่ง ทุกอย่าง เพื่อเลี้ยงดูลูกให้เติบโต “ถนอมเลี้ยง”แสดงถึง การเลี้ยงดูลูกอย่างประคับประคองให้ดี เลี้ยงลูกด้วย ความรักและความปรารถนาดี “บูชไนย”แผลงมาจากปูชนีย แปลว่า ควรบูชา เพื่อแสดงว่าพ่อแม่เป็น บุคคลที่ลูกควรบูชา “ขจัดเขลา”คานี้แสดงให้เห็นหน้าที่ของครูว่าต้องการทาให้ศิษย์ฉลาด ปราศจากความไม่รู้เท่าทันในสิ่งต่างๆ