SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
ดอก   คือ กิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทำหน้าที่ในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการสร้าง สปอร์ ดังนั้น ส่วนประกอบต่างๆ ของดอกก็คือใบที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างหน้าที่ไป ด อ ก แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ด อ ก โดย ชุมพล คุณวาสี และ สหัช จันทนาอรพินท์ หน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลิขสิทธิ์ของภาพและเนื้อหาทั้งหมดเป็นของภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุญาตให้นำไปใช้ในการเรียน การสอนในห้องเรียนได้แต่ไม่อนุญาตให้ทำซ้ำ หรือลอกเลียนแบบด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง หรือนำภาพและเนื้อหาไปดัดแปลงเพื่อใช้ทำสื่อ การสอน สิ่งตีพิมพ์ หรือสิ่งอื่นใดต่อไปอีก โดยไม่ได้รับอนุญาต
โดยทั่วไปดอกประกอบด้วยส่วนต่างๆ  4  ชั้นติดอยู่  อยู่บนฐานดอก  (receptacle)   ซึ่งคือส่วนของข้อและปล้องที่อัดตัวกันแน่น เกือบอยู่ในระดับเดียวกันที่ปลายของก้านดอก  (peduncle)  ทำหน้าที่ รองรับส่วนประกอบต่างๆ ของดอก โดยเรียงลำดับจากชั้นที่อยู่ด้านนอกเข้าสู่ด้านใน ได้แก่ชั้น  (1)  วงกลีบเลี้ยง  (calyx)  (2)  วงกลีบดอก   (corolla)   (3)   วงเกสรเพศผู้  (androecium)   และ  (4)   วงเกสรเพศเมีย   (gynoecium)   calyx corolla androecium gynoecium
วงกลีบเลี้ยง ประกอบขึ้นจากกลีบเลี้ยง  (sepal)   ซึ่งอาจแยกจากกันเป็นอิสระ หรือเชื่อมติดกันที่บริเวณโคน และส่วนปลายแยกออกจากกัน เรียกส่วนที่เชื่อมติดกันว่า หลอดกลีบเลี้ยง  (calyx tube)   และเรียกส่วนปลายที่แยกจากกันว่า แฉกกลีบเลี้ยง  (calyx lobe) วงกลีบดอก ประกอบขึ้นจากกลีบดอก  (petal)   ซึ่งอาจแยกจากกันเป็นอิสระ หรือเชื่อมติดกันที่บริเวณโคน และส่วนปลายแยกออกจากกัน เรียกส่วนที่เชื่อมติดกันว่า หลอดกลีบดอก  (corolla tube)   และเรียกส่วนปลายที่แยกจากกันว่า แฉกกลีบดอก  (corolla lobe) sepal petal calyx tube calyx lobe corolla lobe corolla tube
คำว่า “วงกลีบรวม”  (perianth)   มีความหมายหลายอย่าง ใช้ได้ในหลายกรณี เช่น ใช้เป็นคำรวมที่เรียกทั้งกลีบเลี้ยง และกลีบดอก นั่นคือในกรณีนี้  perianth   จะหมายถึงวงกลีบทั้งหมดของพืชซึ่งสามารถแยกได้เป็นวงกลีบเลี้ยงและวงกลีบดอก  แต่ในดอกไม้บางชนิดที่ลักษณะของวงกลีบไม่สามารถจำแนกได้ชัดเจนว่าจะเป็นวงกลีบเลี้ยง หรือวงกลีบดอก เช่น บัวจีน พลับพลึง ซึ่งแต่ละชนิดมีวงกลีบ  2  ชั้น ๆ ละ  3  กลีบ แต่กลีบในแต่ละชั้นมีลักษณะ รูปร่าง สีสัน ที่เหมือนกัน ในลักษณะเช่นนี้ก็สามารถใช้คำว่า  perianth   แทนกลีบทั้ง  6  กลีบ และเรียกแต่ละกลีบว่า กลีบรวม  (tepal)   หรือในดอกไม้อีกหลายๆ ชนิด เช่น บัวหลวง จำปี จำปา ที่มีจำนวนกลีบมากและมีลักษณะที่ไม่แตก ต่างกันอย่างเด่นชัด หรือมีความคล้ายคลึงกันมาก ก็สามารถใช้คำว่า  perianth   ได้และเรียกแต่ละกลีบนั้นว่าเป็นกลีบรวมได้เช่นเดียวกัน
วงเกสรเพศผู้ ประกอบขึ้นจากเกสรเพศผู้  (stamen)   ซึ่งอาจมีจำนวนตั้งแต่  1  อันถึงจำนวนมาก ประกอบด้วยส่วนที่เรียกว่า อับเรณู  (anther)   และก้านชูอับเรณู  (filament)  เกสร เพศผู้อาจติดอยู่บนฐานดอก  (receptacle)   หรือติดอยู่เหนือวงกลีบ  (epipetalpous)  อาจ แยกกันอยู่เป็นอิสระ หรือส่วนของก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นกลุ่ม หรือมีส่วนอับเรณูเชื่อมติดกัน anther   filament   anther   filament   anther   ก้านชูอับเรณูส่วนที่เชื่อมติดกัน ก้านชูอับเรณูส่วนที่เชื่อมติดกัน
วงเกสรเพศเมีย ประกอบขึ้นจากเกสรเพศเมีย  (pistil)   ซึ่งอาจมีจำนวนตั้งแต่  1  อันถึงจำนวนมาก เกสรเพศเมียแต่ละอันเกิดขึ้นมาจากใบพิเศษที่เรียกว่า คาร์เพล  (carpel)   เกสรเพศเมียหนึ่งอันอาจจะมาจาก  1  คาร์เพล หรือหลายคาร์เพลเชื่อมติดกันก็ได้ แล้วมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะในไปเป็นส่วนต่างๆ ของเกสรเพศเมีย ได้แก่ รังไข่  (ovary)   ก้านยอดเกสรเพศเมีย  (style)   และยอดเกสรเพศเมีย  (stigma)   ภายในรังไข่อาจมีช่องในรังไข่  1  ช่องหรือหลายช่อง ขึ้นอยู่กับจำนวนและลักษณะการเชื่อมติดกันของคาร์เพล ในช่องรังไข่จะพบออวุล  (ovule)   ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมล็ด  (seed)   ส่วนรังไข่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นผล  (fruit)   หลัง การปฏิสนธิ  (fertilization) carpel carpel ovule ovary
ดอกไม้ที่มีชั้นต่างๆ ครบทั้ง  4  ชั้น เรียก “ดอกครบส่วน”  (complete flower)   แต่บางชนิดอาจมีชั้นต่างๆ ไม่ครบทั้ง  4  ส่วน เรียกดอกเหล่านี้ว่า “ดอกไม่ครบส่วน”   (incom-plete flower)   ในดอกไม่ครบส่วน หากชั้นที่หายไปชั้นใดชั้นหนึ่งนั้นคือชั้นของเกสรเพศผู้ หรือเกสรเพศเมีย จะเรียกดอกเหล่านั้นว่า “ดอกไม่สมบูรณ์เพศ”  (imperfect flower)   และดอกใดก็ตามถ้ามีชั้นเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียครบอยู่ในดอกเดียวกัน  ( ไม่ว่าชั้นอื่นๆ จะมีครบหรือไม่ )   จะเรียกว่า ดอกสมบูรณ์เพศ  (perfect flower)  ดอกเฟื่องฟ้าเป็นดอกสมบูรณ์เพศ  แต่เป็นดอกไม่ครบส่วน คือ  ขาดชั้นวงกลีบดอก ดอกส้านเป็นดอกสมบูรณ์เพศ  และเป็นดอกครบส่วน ดอกย่อยโป๊ยเซียนถือเป็นดอก ไม่สมบูรณ์เพศ คือ แยกเป็นดอกเพศผู้ และดอกเพศเมียและดอกแต่ละเพศ เป็นดอกไม่ครบส่วน ดอกปัตตาเวียถึงแม้มีกลีบเลี้ยง และกลีบดอก แต่ถือเป็นดอกไม่ ครบส่วน เนื่องจากเป็นดอกแยก เพศ มีทั้งดอกเพศผู้ และดอกเพศ เมีย ดังนั้นจึงเป็นดอกไม่สมบูรณ์ เพศด้วยเช่นกัน
นอกจากชั้นต่างๆ ทั้ง  4  ชั้นแล้ว ยังอาจพบ “ใบประดับ”  (bract)   ในดอกได้อีกด้วย โดยทั่วๆ ไป ใบประดับจะอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าวงกลีบเลี้ยง คืออยู่ที่โคนหรือปลายก้านดอก   ในกรณีที่เป็นช่อดอก ใบประดับที่รองรับช่อดอกจะใช้คำว่า  bract   แต่ถ้าเป็นใบประดับที่รองรับดอกย่อยในช่อจะเรียกว่า ใบประดับย่อย  (bracteole)   ดอกไม้บางชนิดอาจมีชั้นพิเศษเกิดขึ้นมา เรียก ชั้นกะบังรอบ หรือมงกุฎ  (corona)   เป็นชั้นพิเศษที่มักอยู่ระหว่างวงกลีบดอก และวงเกสรเพศผู้ ชั้นกะบังรอบอาจเจริญหรือพัฒนามาจากส่วนของเกสรเพศ หรือวงกลีบดอกก็ได้  bracteole   ( ใบประดับย่อย )   bract   ( ใบประดับ )   corolla  ( วงกลีบดอก )   corona  ( กะบังรอบ )
epicalyx   ( ริ้วประดับ ) calyx   ( วงกลีบเลี้ยง ) corolla   ( วงกลีบดอก ) ชบา  ( Hibiscus rosa-sinensis  L.) ดอกชบาเป็นดอกช่อที่ลดรูปเหลือเพียงดอกย่อยที่ปลายหนึ่งดอก เป็นดอกสมบูรณ์ กลีบเลี้ยงสีเขียว  5  กลีบ เชื่อมติด กันคล้ายรูปหลอด ปลายแยกเป็น  4-5  แฉก โคนหลอดกลีบเลี้ยงมีริ้วประดับ กลีบดอกสีแดง ขาว หรือชมพู  5  กลีบ  เชื่อมติดกันเล็กน้อยที่โคน และเชื่อมติดกับโคนหลอดเกสรเพศผู้ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็น หลอด และหุ้มล้อมรอบรังไข่ และก้านยอดเกสรเพศเมีย ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน แต่ส่วนปลายแยกเป็นแฉก  5  แฉก ยอดเกสรเพศเมีย  5  อัน กลมหรือรี มีขน   รังไข่เหนือวงกลีบ   ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย peduncle   ( ก้านช่อดอก ) pedicel   ( ก้านดอกย่อย ) แนวรอยต่อระหว่างก้านช่อดอกและก้านดอกย่อย
style   ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   ovary   ( รังไข่ )   ส่วนปลายก้านยอดเกสรเพศเมีย ส่วนปลายก้านยอดเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย stamen   ( เกสรเพศผู้ )   หลอดเกสรเพศผู้ ก้านชูอับเรณู ส่วนที่ไม่ เชื่อมติดกัน stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อับเรณู
bract   ( ใบประดับ )   floret   ( ดอกย่อย )   เฟื่องฟ้า  ( Bougainvillea  sp.) เฟื่องฟ้าออกดอกเป็นช่อ ในหนึ่งช่อมักมี  3  ดอกย่อย มีใบประดับรองรับช่อดอก  3  ใบ ก้านดอกย่อยของแต่ละดอก เชื่อมติดบริเวณตรงกลางของใบประดับ ไม่มีกลีบดอก กลีบเลี้ยง  5  กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ส่วนปลายผายออก คล้ายเป็นแฉกของวงกลีบ มีแถบกลางกลีบ เกสรเพศผู้จำนวน  5-10  อัน สั้นยาวไม่เท่ากัน เกสรเพศเมีย  1  อัน ก้าน ยอดเกสรเพศเมียติดที่ด้านข้างของรังไข่ รังไข่เหนือวงกลีบ ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
inflorescence  & floret   ( ช่อดอกและดอกย่อย )   calyx   ( วงกลีบเลี้ยง )   ovary   ( รังไข่ )   style   ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   filament   ( ก้านชูอับเรณู )   anther   ( อับเรณู )   ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Contenu connexe

Tendances

องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
Krupoonsawat
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
somjitt
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
dnavaroj
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่
plernpit19
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
nokbiology
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
Pinutchaya Nakchumroon
 

Tendances (20)

องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่
 
01092008 Akey
01092008 Akey01092008 Akey
01092008 Akey
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 

Similaire à Webskt1

การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
nokbiology
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
Nokko Bio
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
Anana Anana
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
Wichai Likitponrak
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
sawaddee
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
Wichai Likitponrak
 
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กการศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
แพรุ่ง สีโนรักษ์
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
Wichai Likitponrak
 

Similaire à Webskt1 (20)

การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
pracharat
pracharatpracharat
pracharat
 
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กการศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 

Webskt1

  • 1. ดอก คือ กิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทำหน้าที่ในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการสร้าง สปอร์ ดังนั้น ส่วนประกอบต่างๆ ของดอกก็คือใบที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างหน้าที่ไป ด อ ก แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ด อ ก โดย ชุมพล คุณวาสี และ สหัช จันทนาอรพินท์ หน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลิขสิทธิ์ของภาพและเนื้อหาทั้งหมดเป็นของภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุญาตให้นำไปใช้ในการเรียน การสอนในห้องเรียนได้แต่ไม่อนุญาตให้ทำซ้ำ หรือลอกเลียนแบบด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง หรือนำภาพและเนื้อหาไปดัดแปลงเพื่อใช้ทำสื่อ การสอน สิ่งตีพิมพ์ หรือสิ่งอื่นใดต่อไปอีก โดยไม่ได้รับอนุญาต
  • 2. โดยทั่วไปดอกประกอบด้วยส่วนต่างๆ 4 ชั้นติดอยู่ อยู่บนฐานดอก (receptacle) ซึ่งคือส่วนของข้อและปล้องที่อัดตัวกันแน่น เกือบอยู่ในระดับเดียวกันที่ปลายของก้านดอก (peduncle) ทำหน้าที่ รองรับส่วนประกอบต่างๆ ของดอก โดยเรียงลำดับจากชั้นที่อยู่ด้านนอกเข้าสู่ด้านใน ได้แก่ชั้น (1) วงกลีบเลี้ยง (calyx) (2) วงกลีบดอก (corolla) (3) วงเกสรเพศผู้ (androecium) และ (4) วงเกสรเพศเมีย (gynoecium) calyx corolla androecium gynoecium
  • 3. วงกลีบเลี้ยง ประกอบขึ้นจากกลีบเลี้ยง (sepal) ซึ่งอาจแยกจากกันเป็นอิสระ หรือเชื่อมติดกันที่บริเวณโคน และส่วนปลายแยกออกจากกัน เรียกส่วนที่เชื่อมติดกันว่า หลอดกลีบเลี้ยง (calyx tube) และเรียกส่วนปลายที่แยกจากกันว่า แฉกกลีบเลี้ยง (calyx lobe) วงกลีบดอก ประกอบขึ้นจากกลีบดอก (petal) ซึ่งอาจแยกจากกันเป็นอิสระ หรือเชื่อมติดกันที่บริเวณโคน และส่วนปลายแยกออกจากกัน เรียกส่วนที่เชื่อมติดกันว่า หลอดกลีบดอก (corolla tube) และเรียกส่วนปลายที่แยกจากกันว่า แฉกกลีบดอก (corolla lobe) sepal petal calyx tube calyx lobe corolla lobe corolla tube
  • 4. คำว่า “วงกลีบรวม” (perianth) มีความหมายหลายอย่าง ใช้ได้ในหลายกรณี เช่น ใช้เป็นคำรวมที่เรียกทั้งกลีบเลี้ยง และกลีบดอก นั่นคือในกรณีนี้ perianth จะหมายถึงวงกลีบทั้งหมดของพืชซึ่งสามารถแยกได้เป็นวงกลีบเลี้ยงและวงกลีบดอก แต่ในดอกไม้บางชนิดที่ลักษณะของวงกลีบไม่สามารถจำแนกได้ชัดเจนว่าจะเป็นวงกลีบเลี้ยง หรือวงกลีบดอก เช่น บัวจีน พลับพลึง ซึ่งแต่ละชนิดมีวงกลีบ 2 ชั้น ๆ ละ 3 กลีบ แต่กลีบในแต่ละชั้นมีลักษณะ รูปร่าง สีสัน ที่เหมือนกัน ในลักษณะเช่นนี้ก็สามารถใช้คำว่า perianth แทนกลีบทั้ง 6 กลีบ และเรียกแต่ละกลีบว่า กลีบรวม (tepal) หรือในดอกไม้อีกหลายๆ ชนิด เช่น บัวหลวง จำปี จำปา ที่มีจำนวนกลีบมากและมีลักษณะที่ไม่แตก ต่างกันอย่างเด่นชัด หรือมีความคล้ายคลึงกันมาก ก็สามารถใช้คำว่า perianth ได้และเรียกแต่ละกลีบนั้นว่าเป็นกลีบรวมได้เช่นเดียวกัน
  • 5. วงเกสรเพศผู้ ประกอบขึ้นจากเกสรเพศผู้ (stamen) ซึ่งอาจมีจำนวนตั้งแต่ 1 อันถึงจำนวนมาก ประกอบด้วยส่วนที่เรียกว่า อับเรณู (anther) และก้านชูอับเรณู (filament) เกสร เพศผู้อาจติดอยู่บนฐานดอก (receptacle) หรือติดอยู่เหนือวงกลีบ (epipetalpous) อาจ แยกกันอยู่เป็นอิสระ หรือส่วนของก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นกลุ่ม หรือมีส่วนอับเรณูเชื่อมติดกัน anther filament anther filament anther ก้านชูอับเรณูส่วนที่เชื่อมติดกัน ก้านชูอับเรณูส่วนที่เชื่อมติดกัน
  • 6. วงเกสรเพศเมีย ประกอบขึ้นจากเกสรเพศเมีย (pistil) ซึ่งอาจมีจำนวนตั้งแต่ 1 อันถึงจำนวนมาก เกสรเพศเมียแต่ละอันเกิดขึ้นมาจากใบพิเศษที่เรียกว่า คาร์เพล (carpel) เกสรเพศเมียหนึ่งอันอาจจะมาจาก 1 คาร์เพล หรือหลายคาร์เพลเชื่อมติดกันก็ได้ แล้วมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะในไปเป็นส่วนต่างๆ ของเกสรเพศเมีย ได้แก่ รังไข่ (ovary) ก้านยอดเกสรเพศเมีย (style) และยอดเกสรเพศเมีย (stigma) ภายในรังไข่อาจมีช่องในรังไข่ 1 ช่องหรือหลายช่อง ขึ้นอยู่กับจำนวนและลักษณะการเชื่อมติดกันของคาร์เพล ในช่องรังไข่จะพบออวุล (ovule) ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมล็ด (seed) ส่วนรังไข่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นผล (fruit) หลัง การปฏิสนธิ (fertilization) carpel carpel ovule ovary
  • 7. ดอกไม้ที่มีชั้นต่างๆ ครบทั้ง 4 ชั้น เรียก “ดอกครบส่วน” (complete flower) แต่บางชนิดอาจมีชั้นต่างๆ ไม่ครบทั้ง 4 ส่วน เรียกดอกเหล่านี้ว่า “ดอกไม่ครบส่วน” (incom-plete flower) ในดอกไม่ครบส่วน หากชั้นที่หายไปชั้นใดชั้นหนึ่งนั้นคือชั้นของเกสรเพศผู้ หรือเกสรเพศเมีย จะเรียกดอกเหล่านั้นว่า “ดอกไม่สมบูรณ์เพศ” (imperfect flower) และดอกใดก็ตามถ้ามีชั้นเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียครบอยู่ในดอกเดียวกัน ( ไม่ว่าชั้นอื่นๆ จะมีครบหรือไม่ ) จะเรียกว่า ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect flower) ดอกเฟื่องฟ้าเป็นดอกสมบูรณ์เพศ แต่เป็นดอกไม่ครบส่วน คือ ขาดชั้นวงกลีบดอก ดอกส้านเป็นดอกสมบูรณ์เพศ และเป็นดอกครบส่วน ดอกย่อยโป๊ยเซียนถือเป็นดอก ไม่สมบูรณ์เพศ คือ แยกเป็นดอกเพศผู้ และดอกเพศเมียและดอกแต่ละเพศ เป็นดอกไม่ครบส่วน ดอกปัตตาเวียถึงแม้มีกลีบเลี้ยง และกลีบดอก แต่ถือเป็นดอกไม่ ครบส่วน เนื่องจากเป็นดอกแยก เพศ มีทั้งดอกเพศผู้ และดอกเพศ เมีย ดังนั้นจึงเป็นดอกไม่สมบูรณ์ เพศด้วยเช่นกัน
  • 8. นอกจากชั้นต่างๆ ทั้ง 4 ชั้นแล้ว ยังอาจพบ “ใบประดับ” (bract) ในดอกได้อีกด้วย โดยทั่วๆ ไป ใบประดับจะอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าวงกลีบเลี้ยง คืออยู่ที่โคนหรือปลายก้านดอก ในกรณีที่เป็นช่อดอก ใบประดับที่รองรับช่อดอกจะใช้คำว่า bract แต่ถ้าเป็นใบประดับที่รองรับดอกย่อยในช่อจะเรียกว่า ใบประดับย่อย (bracteole) ดอกไม้บางชนิดอาจมีชั้นพิเศษเกิดขึ้นมา เรียก ชั้นกะบังรอบ หรือมงกุฎ (corona) เป็นชั้นพิเศษที่มักอยู่ระหว่างวงกลีบดอก และวงเกสรเพศผู้ ชั้นกะบังรอบอาจเจริญหรือพัฒนามาจากส่วนของเกสรเพศ หรือวงกลีบดอกก็ได้ bracteole ( ใบประดับย่อย ) bract ( ใบประดับ ) corolla ( วงกลีบดอก ) corona ( กะบังรอบ )
  • 9. epicalyx ( ริ้วประดับ ) calyx ( วงกลีบเลี้ยง ) corolla ( วงกลีบดอก ) ชบา ( Hibiscus rosa-sinensis L.) ดอกชบาเป็นดอกช่อที่ลดรูปเหลือเพียงดอกย่อยที่ปลายหนึ่งดอก เป็นดอกสมบูรณ์ กลีบเลี้ยงสีเขียว 5 กลีบ เชื่อมติด กันคล้ายรูปหลอด ปลายแยกเป็น 4-5 แฉก โคนหลอดกลีบเลี้ยงมีริ้วประดับ กลีบดอกสีแดง ขาว หรือชมพู 5 กลีบ เชื่อมติดกันเล็กน้อยที่โคน และเชื่อมติดกับโคนหลอดเกสรเพศผู้ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็น หลอด และหุ้มล้อมรอบรังไข่ และก้านยอดเกสรเพศเมีย ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน แต่ส่วนปลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก ยอดเกสรเพศเมีย 5 อัน กลมหรือรี มีขน รังไข่เหนือวงกลีบ ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย peduncle ( ก้านช่อดอก ) pedicel ( ก้านดอกย่อย ) แนวรอยต่อระหว่างก้านช่อดอกและก้านดอกย่อย
  • 10. style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) ovary ( รังไข่ ) ส่วนปลายก้านยอดเกสรเพศเมีย ส่วนปลายก้านยอดเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย stamen ( เกสรเพศผู้ ) หลอดเกสรเพศผู้ ก้านชูอับเรณู ส่วนที่ไม่ เชื่อมติดกัน stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อับเรณู
  • 11. bract ( ใบประดับ ) floret ( ดอกย่อย ) เฟื่องฟ้า ( Bougainvillea sp.) เฟื่องฟ้าออกดอกเป็นช่อ ในหนึ่งช่อมักมี 3 ดอกย่อย มีใบประดับรองรับช่อดอก 3 ใบ ก้านดอกย่อยของแต่ละดอก เชื่อมติดบริเวณตรงกลางของใบประดับ ไม่มีกลีบดอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ส่วนปลายผายออก คล้ายเป็นแฉกของวงกลีบ มีแถบกลางกลีบ เกสรเพศผู้จำนวน 5-10 อัน สั้นยาวไม่เท่ากัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ก้าน ยอดเกสรเพศเมียติดที่ด้านข้างของรังไข่ รังไข่เหนือวงกลีบ ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 12. inflorescence & floret ( ช่อดอกและดอกย่อย ) calyx ( วงกลีบเลี้ยง ) ovary ( รังไข่ ) style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) filament ( ก้านชูอับเรณู ) anther ( อับเรณู ) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย