SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
Télécharger pour lire hors ligne
หัวข้อการเรียนรู้ที่ 5 ปัญหาที่พบในการเชื่อมแบบความต้านทานแบบจุด (Resistance
Spot Welding)
ปัญหาที่พบในกรณีการเชื่อมจุด ได้แก่
- การชันท์ของกระแสไฟฟ้า (Shunting effect)
- การสูญเสียจากการเหนี่ยวนา (Inductive losses)
- การสึกหรอของอิเล็กโทรด (Electrode wear)
5.1 การชันท์ของกระแสไฟฟ้า (Shunting effect)
การไหลของกระแสไฟฟ้าโดยไม่ผ่านรอยเชื่อมเรียกว่า Shunting effect ส่งผลให้ได้รอย
เชื่อมที่ได้มีขนาดเล็ก และมีความแข็งแรงไม่พอ
5.1.1 สาเหตุของการเกิดชันท์
- การเชื่อมชิ้นงานโครงสร้างจริงนั้น มักมีการเชื่อมที่มีจานวนจุดมาก หากระยะห่างของ
แต่ละจุดไม่มากพอ กระแสไฟฟ้าจะไหลกระจายไปยังจุดเชื่อมที่อยู่ใกล้เคียง
- แผ่นโลหะที่นามาเชื่อมแนบติดกันสนิท กระแสไฟฟ้าจึงสามารถไหลกระจาย ไม่เกิด
ความหนาแน่นที่จุดใดจุดหนึ่ง โดยเฉพาะหรืออย่างที่ควรจะเป็น
- กรณีการเชื่อมทางอ้อม หากจัดเรียงความหนาของแผ่นโลหะไม่ถูกต้อง อาจทาให้รอย
เชื่อมที่ได้ มีขนาดเล็ก ความแข็งแรงของโครงสร้างลดลง
- การติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือวัดที่มีสายไฟฟ้าต่อหรือสัมผัสกับชิ้นงาน หากอุปกรณ์
ดังกล่าวมีความต้านทานไฟฟ้าต่า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการเชื่อมอาจรั่วไหลไปยังเครื่องมือวัดแทนที่จะ
ไหลผ่านจุดเชื่อม
รูปที่ 5.9 แสดงลักษณะการชันท์ของกระแสไฟฟ้า กรณีการเชื่อมแบบโดยตรง
และการเชื่อมแบบโดยอ้อม
5.2 การสูญเสียจากการเหนี่ยวนา
ขณะทาการเชื่อมชิ้นงาน ความต้านทานของระบบวงจรไฟฟ้าของเครื่องเชื่อมจะเปลี่ยนแปลง
ไปโดยจะเพิ่มขึ้น ซึ่งความต้านทานของระบบวงจรไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นมาจากความต้านทานของชิ้นงาน
เชื่อมนั่นเอง กระแสไฟฟ้าทุติยภูมิ (Secondary current) ของหม้อแปลงเครื่องเชื่อมจะลดลง ทาให้
รอยเชื่อมมีขนาดเล็กลง ซึ่งเมื่อเชื่อมจานวนจุดเพิ่มขึ้น ค่าความต้านทานของระบบวงจรไฟฟ้าก็จะ
เพิ่มขึ้นด้วย
รูปที่ 5.10 แสดงลักษณะการเพิ่มขึ้นของอิมพีดานซ์ของวงจรรวม สาเหตุมาจากการเชื่อมชิ้นงาน
ที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็ก เช่น วัสดุเหล็กกล้า
5.3 การสึกหรอของอิเล็กโทรด
การสึกหรอของอิเล็กโทรด จัดเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้รอยเชื่อมมีขนาดเล็ก โดยอายุการใช้
งานของอิเล็กโทรด สาหรับเหล็กที่ไม่มีการเคลือบหรืออาบสังกะสี (Non-coating sheet) อาจกระทา
ได้ถึง 3,000 จุด ในทางตรงกันข้ามหากใช้อิเล็กโทรดเชื่อมเหล็กเคลือบสังกะสี (Galvanized steel
sheet) อายุของอิเล็กโทรดหนึ่งคู่อาจลดลงเหลือเพียง 600-700 จุดเท่านั้น การเปลี่ยนชุดอิเล็กโทรด
ทาให้สายการผลิตต้องหยุดชะงักและก่อให้เกิดความเสียหาย
การสึกหรอของอิเล็กโทรด เกิดจากการที่โลหะสังกะสีที่เคลือบผิวชิ้นงานเกิดจาก
การหลอมละลายแล้วมาติดที่ผิวปลายอิเล็กโทรด ดังนั้นเมื่อดาเนินการเชื่อมจุดต่อๆ ไป ความร้อนที่
เกิดจากการเชื่อมจะทาให้ผิวปลายอิเล็กโทรด (Electrode tip) ร้อน สังกะสีหลอมเหลวก็แพร่
(Diffusion) เข้าไปรวมตัวกับทองแดง ทาให้ปลายอิเล็กโทรดกลายเป็นทองเหลืองซึ่งมีคุณสมบัติเปราะ
กว่าวัสดุทองแดงอัลลอยของอิเล็กโทรด
ดังนั้นหากทาการเชื่อมต่อไป ปลายอิเล็กโทรดก็จะสึกหรอและบานออกในที่สุด
เรียกว่า Electrode mushrooming ปลายบานออกออกเหมือนดอกเห็ด ทาให้การเข้มของฟลักซ์
กระแสไฟฟ้า (Current flux or intensity) ลดลง ส่งผลให้รอยเชื่อมที่ได้ขนาดเล็กลงและมีความ
แข็งแรงต่า
รูปที่ 5.11 แสดงการสึกหรอของปลายอิเล็กโทรด ทาให้รอยเชื่อมมีขนาดเล็กลง
หรือหากมีการสึกหรอมาก อาจทาให้ไม่เกิดรอยเชื่อม

Contenu connexe

Tendances (20)

405
405405
405
 
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
6 4
6 46 4
6 4
 
2 3
2 32 3
2 3
 
6 2
6 26 2
6 2
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
3 1
3 13 1
3 1
 
2 6
2 62 6
2 6
 
2 5
2 52 5
2 5
 
2 2
2 22 2
2 2
 
2 7
2 72 7
2 7
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
6 1
6 16 1
6 1
 
4 3
4 34 3
4 3
 
2 2
2 22 2
2 2
 
การเชื่อม Mag
การเชื่อม Magการเชื่อม Mag
การเชื่อม Mag
 
8 3
8 38 3
8 3
 
2 9
2 92 9
2 9
 
5 2
5 25 2
5 2
 

Plus de Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
404
404404
404
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 
304
304304
304
 
303
303303
303
 
302
302302
302
 
301
301301
301
 
300
300300
300
 
203
203203
203
 
202
202202
202
 
201
201201
201
 
200
200200
200
 

505

  • 1. หัวข้อการเรียนรู้ที่ 5 ปัญหาที่พบในการเชื่อมแบบความต้านทานแบบจุด (Resistance Spot Welding) ปัญหาที่พบในกรณีการเชื่อมจุด ได้แก่ - การชันท์ของกระแสไฟฟ้า (Shunting effect) - การสูญเสียจากการเหนี่ยวนา (Inductive losses) - การสึกหรอของอิเล็กโทรด (Electrode wear) 5.1 การชันท์ของกระแสไฟฟ้า (Shunting effect) การไหลของกระแสไฟฟ้าโดยไม่ผ่านรอยเชื่อมเรียกว่า Shunting effect ส่งผลให้ได้รอย เชื่อมที่ได้มีขนาดเล็ก และมีความแข็งแรงไม่พอ 5.1.1 สาเหตุของการเกิดชันท์ - การเชื่อมชิ้นงานโครงสร้างจริงนั้น มักมีการเชื่อมที่มีจานวนจุดมาก หากระยะห่างของ แต่ละจุดไม่มากพอ กระแสไฟฟ้าจะไหลกระจายไปยังจุดเชื่อมที่อยู่ใกล้เคียง - แผ่นโลหะที่นามาเชื่อมแนบติดกันสนิท กระแสไฟฟ้าจึงสามารถไหลกระจาย ไม่เกิด ความหนาแน่นที่จุดใดจุดหนึ่ง โดยเฉพาะหรืออย่างที่ควรจะเป็น - กรณีการเชื่อมทางอ้อม หากจัดเรียงความหนาของแผ่นโลหะไม่ถูกต้อง อาจทาให้รอย เชื่อมที่ได้ มีขนาดเล็ก ความแข็งแรงของโครงสร้างลดลง - การติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือวัดที่มีสายไฟฟ้าต่อหรือสัมผัสกับชิ้นงาน หากอุปกรณ์ ดังกล่าวมีความต้านทานไฟฟ้าต่า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการเชื่อมอาจรั่วไหลไปยังเครื่องมือวัดแทนที่จะ ไหลผ่านจุดเชื่อม
  • 2. รูปที่ 5.9 แสดงลักษณะการชันท์ของกระแสไฟฟ้า กรณีการเชื่อมแบบโดยตรง และการเชื่อมแบบโดยอ้อม 5.2 การสูญเสียจากการเหนี่ยวนา ขณะทาการเชื่อมชิ้นงาน ความต้านทานของระบบวงจรไฟฟ้าของเครื่องเชื่อมจะเปลี่ยนแปลง ไปโดยจะเพิ่มขึ้น ซึ่งความต้านทานของระบบวงจรไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นมาจากความต้านทานของชิ้นงาน เชื่อมนั่นเอง กระแสไฟฟ้าทุติยภูมิ (Secondary current) ของหม้อแปลงเครื่องเชื่อมจะลดลง ทาให้ รอยเชื่อมมีขนาดเล็กลง ซึ่งเมื่อเชื่อมจานวนจุดเพิ่มขึ้น ค่าความต้านทานของระบบวงจรไฟฟ้าก็จะ เพิ่มขึ้นด้วย รูปที่ 5.10 แสดงลักษณะการเพิ่มขึ้นของอิมพีดานซ์ของวงจรรวม สาเหตุมาจากการเชื่อมชิ้นงาน ที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็ก เช่น วัสดุเหล็กกล้า
  • 3. 5.3 การสึกหรอของอิเล็กโทรด การสึกหรอของอิเล็กโทรด จัดเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้รอยเชื่อมมีขนาดเล็ก โดยอายุการใช้ งานของอิเล็กโทรด สาหรับเหล็กที่ไม่มีการเคลือบหรืออาบสังกะสี (Non-coating sheet) อาจกระทา ได้ถึง 3,000 จุด ในทางตรงกันข้ามหากใช้อิเล็กโทรดเชื่อมเหล็กเคลือบสังกะสี (Galvanized steel sheet) อายุของอิเล็กโทรดหนึ่งคู่อาจลดลงเหลือเพียง 600-700 จุดเท่านั้น การเปลี่ยนชุดอิเล็กโทรด ทาให้สายการผลิตต้องหยุดชะงักและก่อให้เกิดความเสียหาย การสึกหรอของอิเล็กโทรด เกิดจากการที่โลหะสังกะสีที่เคลือบผิวชิ้นงานเกิดจาก การหลอมละลายแล้วมาติดที่ผิวปลายอิเล็กโทรด ดังนั้นเมื่อดาเนินการเชื่อมจุดต่อๆ ไป ความร้อนที่ เกิดจากการเชื่อมจะทาให้ผิวปลายอิเล็กโทรด (Electrode tip) ร้อน สังกะสีหลอมเหลวก็แพร่ (Diffusion) เข้าไปรวมตัวกับทองแดง ทาให้ปลายอิเล็กโทรดกลายเป็นทองเหลืองซึ่งมีคุณสมบัติเปราะ กว่าวัสดุทองแดงอัลลอยของอิเล็กโทรด ดังนั้นหากทาการเชื่อมต่อไป ปลายอิเล็กโทรดก็จะสึกหรอและบานออกในที่สุด เรียกว่า Electrode mushrooming ปลายบานออกออกเหมือนดอกเห็ด ทาให้การเข้มของฟลักซ์ กระแสไฟฟ้า (Current flux or intensity) ลดลง ส่งผลให้รอยเชื่อมที่ได้ขนาดเล็กลงและมีความ แข็งแรงต่า รูปที่ 5.11 แสดงการสึกหรอของปลายอิเล็กโทรด ทาให้รอยเชื่อมมีขนาดเล็กลง หรือหากมีการสึกหรอมาก อาจทาให้ไม่เกิดรอยเชื่อม