SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
9.3 การเขียนแบบแผ่นคลี่โดยวิธีสามเหลี่ยมมุมฉาก (Triangulation)
หลักการพิจารณาของการเขียนแบบโดยวิธีนี้คือ ชิ้นงานจะมีรูปทรงไม่สมมาตรและมีลักษณะของการเปลี่ยนรูป
และไม่สามารถเขียนแบบโดยวิธีเส้นขนานและเส้นสามเหลี่ยมได้ วิธีการเขียนแบบโดยวิธีนี้จะต้องมีการหาเส้นสูงจริง
(TL) เสมอ ดังรูป
การเขียนแบบแผ่นคลี่ Square to Round
รูปที่ 9.14 แสดงแผ่นคลี่ Square to Round
ขั้นตอนการเขียน
1. สร้างรูปด้านหน้าและด้านบน
2. จากรูปด้านบนฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กาหนดตัวอักษรกากับทั้งสี่มุม คือ A, B, C, D
3. จากรูปด้านบน ปากเป็นรูปวงกลมแบ่งออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน 12 ส่วน และเขียนหมายเลขกากับเส้น
1,2,3,4,5,6,7, 6,5,4,3,2,1 ตามลาดับ
4. โยงเส้นแบ่งส่วนจากฐานทั้งสี่มุมมาหาปากกลมจะได้เส้นแบ่งส่วน A1, A2, A3, A4 B4, B5, B6, B7 C7, C6,
C5, C3 D4, D3, D2, D1
5. จากภาพด้านหน้าโยงเส้นแบ่งส่วนจากปากภาพด้านบนขึ้นไปทุกเส้นตัดกับปากด้านหน้า ลากเส้นจากฐานของภาพ
ด้านหน้าขึ้นไปตัด จะได้เส้นแบ่งส่วนของภาพด้านหน้า
6. หาเส้นสูงจริง (TL) จากภาพด้านหน้า ลากเส้นฐานออกไปทางด้านขวามือเป็นเส้นในแนวนอน
7. จากเส้นฐานตรงมุมของภาพด้านหน้าลากเส้นตรงขึ้นไปในแนวตั้งและให้ตั้งฉากกับเส้นในแนวนอนของข้อ 6
และจะต้องมีความสูงเท่ากับภาพด้านหน้า
8. จากภาพด้านบน ถ่ายขนาดของเส้นแบ่งส่วน 2 เส้นคือ เส้น A1, A2 มาถ่ายลงเส้นในแนวนอน โดยเริ่มจากจุดที่ตั้ง
ฉากของเส้นแนวตั้งและแนวนอน
9. ลากเส้นจากจุดตัดตามข้อ 8 ขึ้นไปหาเส้นในแนวตั้งตรงส่วนปลายจะได้เส้นสูงจริง (TL)
10. เส้นสูงจริงที่เกิดขึ้นตามข้อ 9 จะมี 2 เส้น และยาวเท่ากันคือ A1, A4, B4, B7, C7, C4, D4, D1 และ A2, A3, B5,
C5, C6, D2, D3
หมายเหตุ ในการเขียนแบบแผ่นคลี่ ถ้าชิ้นงานมีความสมมาตรกัน ให้เริ่มต้นเขียนแบบด้านตรงข้ามของตะเข็บ
(จากรูปเข้าตะเข็บที่เส้น O7) คือเริ่มต้นที่เส้นฐาน AD ของภาพด้านบนก่อน เพราะจะประหยัดเวลาในการเขียน
แบบ
11. เริ่มต้นที่สามเหลี่ยม A1 D โดยการลากเส้นตรงมีความยาวเท่ากับเส้นฐาน A D
12. ที่ปลายเส้น A D กางวงเวียนเท่ากับเส้นสูงจริง A1, D1 ตัดกันที่จุด 1จะได้สามเหลี่ยม A1D
13. ที่จุด A และ D กางวงเวียนเท่ากับเส้นสูงจริง A2, D2 เขียนส่วนโค้งทั้งซ้ายและขวา
14. ที่จุด 1 กางวงเวียนเท่ากับเส้นแบ่งส่วนของปากกลมด้านบน ตัดส่วนโค้งทั้งซ้ายและขวา จะได้เส้น A2, D21
15. จากข้อ 13 ทาลักษณะเดียวกัน คือใช้เส้นสูงจริงกับเส้นแบ่งส่วนตัดกันจะได้เส้น A1, A2, A3, A4 D1, D2, D3, D4
16. จากจุด A และ D กางวงเวียนเท่ากับ AB และ DC เขียนส่วนโค้งทั้งสองด้าน
17. ที่จุด 4 กางวงเวียนเท่ากับเส้นสูงจริง B4, C4 ตัดกันที่จุด B และ C จะได้สามเหลี่ยม A4B และ สามเหลี่ยม D4C
18. ที่จุด B, C ใช้วิธีการเขียนเหมือนข้อ 14 จะได้เส้น B4, B5, B6, B6 และ C4, C5, C6, C7
19. ที่จุด B และ C กางวงเวียนเท่ากับ BO และ CO เขียนส่วนโค้งทั้งซ้ายขวา
20. ที่จุด 7 กางวงเวียนเท่ากับความสูงที่ขอบงานของภาพด้านหน้า ซึ่งเป็นเส้นที่เป็นความสูงจริงมาตัดเส้นโค้งที่ฐาน
ทั้งซ้ายขวา จะได้สามเหลี่ยม BO7 ซึ่งเป็นสามเหลี่ยมมุมฉากและได้แผ่นคลี่ตามต้องการ

Contenu connexe

Tendances

การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์Narasak Sripakdee
 
งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4Pannathat Champakul
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4Krumatt Sinoupakarn
 
รูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติNat Basri
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5T'Rak Daip
 
Ebook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิตEbook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิตlalidawan
 
เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry) เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry) pratumma
 
เรขาคณิตคิดสนุก
เรขาคณิตคิดสนุกเรขาคณิตคิดสนุก
เรขาคณิตคิดสนุกjunearan
 
แผนผังมโนทัศน์5
แผนผังมโนทัศน์5แผนผังมโนทัศน์5
แผนผังมโนทัศน์5kanjana2536
 
ความแข็งแรง6 3 5
ความแข็งแรง6 3 5ความแข็งแรง6 3 5
ความแข็งแรง6 3 5Pannathat Champakul
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1Pannathat Champakul
 
ลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตkhanida
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนอ งานนำเสนอ
งานนำเสนอ tammaporn2010
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กันรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กันkanjana2536
 
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิตสิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิตsinarack
 

Tendances (20)

การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
 
งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4งานโลหะแผ่น4 3 4
งานโลหะแผ่น4 3 4
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
304
304304
304
 
รูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติ
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
 
Ebook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิตEbook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิต
 
เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry) เรขาคณิต (Geometry)
เรขาคณิต (Geometry)
 
เรขาคณิตคิดสนุก
เรขาคณิตคิดสนุกเรขาคณิตคิดสนุก
เรขาคณิตคิดสนุก
 
แผนผังมโนทัศน์5
แผนผังมโนทัศน์5แผนผังมโนทัศน์5
แผนผังมโนทัศน์5
 
ความแข็งแรง6 3 5
ความแข็งแรง6 3 5ความแข็งแรง6 3 5
ความแข็งแรง6 3 5
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1
 
ทรงกระบอก1
ทรงกระบอก1ทรงกระบอก1
ทรงกระบอก1
 
ลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิตลักษณะรูปเรขาคณิต
ลักษณะรูปเรขาคณิต
 
Geometry
GeometryGeometry
Geometry
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนอ งานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
555555555
555555555555555555
555555555
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กันรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติมีความสัมพันธ์กัน
 
ความหมายทรงกลม
ความหมายทรงกลมความหมายทรงกลม
ความหมายทรงกลม
 
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิตสิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
สิ่งพิมพ์ เรขาคณิต
 

Plus de Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

9 3

  • 1. 9.3 การเขียนแบบแผ่นคลี่โดยวิธีสามเหลี่ยมมุมฉาก (Triangulation) หลักการพิจารณาของการเขียนแบบโดยวิธีนี้คือ ชิ้นงานจะมีรูปทรงไม่สมมาตรและมีลักษณะของการเปลี่ยนรูป และไม่สามารถเขียนแบบโดยวิธีเส้นขนานและเส้นสามเหลี่ยมได้ วิธีการเขียนแบบโดยวิธีนี้จะต้องมีการหาเส้นสูงจริง (TL) เสมอ ดังรูป การเขียนแบบแผ่นคลี่ Square to Round รูปที่ 9.14 แสดงแผ่นคลี่ Square to Round
  • 2. ขั้นตอนการเขียน 1. สร้างรูปด้านหน้าและด้านบน 2. จากรูปด้านบนฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กาหนดตัวอักษรกากับทั้งสี่มุม คือ A, B, C, D 3. จากรูปด้านบน ปากเป็นรูปวงกลมแบ่งออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน 12 ส่วน และเขียนหมายเลขกากับเส้น 1,2,3,4,5,6,7, 6,5,4,3,2,1 ตามลาดับ 4. โยงเส้นแบ่งส่วนจากฐานทั้งสี่มุมมาหาปากกลมจะได้เส้นแบ่งส่วน A1, A2, A3, A4 B4, B5, B6, B7 C7, C6, C5, C3 D4, D3, D2, D1 5. จากภาพด้านหน้าโยงเส้นแบ่งส่วนจากปากภาพด้านบนขึ้นไปทุกเส้นตัดกับปากด้านหน้า ลากเส้นจากฐานของภาพ ด้านหน้าขึ้นไปตัด จะได้เส้นแบ่งส่วนของภาพด้านหน้า 6. หาเส้นสูงจริง (TL) จากภาพด้านหน้า ลากเส้นฐานออกไปทางด้านขวามือเป็นเส้นในแนวนอน
  • 3. 7. จากเส้นฐานตรงมุมของภาพด้านหน้าลากเส้นตรงขึ้นไปในแนวตั้งและให้ตั้งฉากกับเส้นในแนวนอนของข้อ 6 และจะต้องมีความสูงเท่ากับภาพด้านหน้า 8. จากภาพด้านบน ถ่ายขนาดของเส้นแบ่งส่วน 2 เส้นคือ เส้น A1, A2 มาถ่ายลงเส้นในแนวนอน โดยเริ่มจากจุดที่ตั้ง ฉากของเส้นแนวตั้งและแนวนอน 9. ลากเส้นจากจุดตัดตามข้อ 8 ขึ้นไปหาเส้นในแนวตั้งตรงส่วนปลายจะได้เส้นสูงจริง (TL) 10. เส้นสูงจริงที่เกิดขึ้นตามข้อ 9 จะมี 2 เส้น และยาวเท่ากันคือ A1, A4, B4, B7, C7, C4, D4, D1 และ A2, A3, B5, C5, C6, D2, D3 หมายเหตุ ในการเขียนแบบแผ่นคลี่ ถ้าชิ้นงานมีความสมมาตรกัน ให้เริ่มต้นเขียนแบบด้านตรงข้ามของตะเข็บ (จากรูปเข้าตะเข็บที่เส้น O7) คือเริ่มต้นที่เส้นฐาน AD ของภาพด้านบนก่อน เพราะจะประหยัดเวลาในการเขียน แบบ 11. เริ่มต้นที่สามเหลี่ยม A1 D โดยการลากเส้นตรงมีความยาวเท่ากับเส้นฐาน A D 12. ที่ปลายเส้น A D กางวงเวียนเท่ากับเส้นสูงจริง A1, D1 ตัดกันที่จุด 1จะได้สามเหลี่ยม A1D 13. ที่จุด A และ D กางวงเวียนเท่ากับเส้นสูงจริง A2, D2 เขียนส่วนโค้งทั้งซ้ายและขวา 14. ที่จุด 1 กางวงเวียนเท่ากับเส้นแบ่งส่วนของปากกลมด้านบน ตัดส่วนโค้งทั้งซ้ายและขวา จะได้เส้น A2, D21 15. จากข้อ 13 ทาลักษณะเดียวกัน คือใช้เส้นสูงจริงกับเส้นแบ่งส่วนตัดกันจะได้เส้น A1, A2, A3, A4 D1, D2, D3, D4 16. จากจุด A และ D กางวงเวียนเท่ากับ AB และ DC เขียนส่วนโค้งทั้งสองด้าน 17. ที่จุด 4 กางวงเวียนเท่ากับเส้นสูงจริง B4, C4 ตัดกันที่จุด B และ C จะได้สามเหลี่ยม A4B และ สามเหลี่ยม D4C 18. ที่จุด B, C ใช้วิธีการเขียนเหมือนข้อ 14 จะได้เส้น B4, B5, B6, B6 และ C4, C5, C6, C7 19. ที่จุด B และ C กางวงเวียนเท่ากับ BO และ CO เขียนส่วนโค้งทั้งซ้ายขวา 20. ที่จุด 7 กางวงเวียนเท่ากับความสูงที่ขอบงานของภาพด้านหน้า ซึ่งเป็นเส้นที่เป็นความสูงจริงมาตัดเส้นโค้งที่ฐาน ทั้งซ้ายขวา จะได้สามเหลี่ยม BO7 ซึ่งเป็นสามเหลี่ยมมุมฉากและได้แผ่นคลี่ตามต้องการ