SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
การจำาลองความคิด 
http://www.mwit.ac.th/~je 
ed
การจำาลองความคิด 
ขั้นตอนที่สำาคัญในการแก้ปัญหาคือการ 
วางแผน การวางแผนที่ดีจะช่วยให้การแก้ปัญหา 
เป็นไปได้โดยง่าย 
ผู้ที่สามารถวางแผนในการแก้ปัญหาได้ดี 
นอกจากจะต้องใช้ประสบการณ์ ความรู้ และความ 
มเีหตุผลแล้ว ยังควรรู้จักวางแผนใหเ้ป็นขั้นตอน 
และมีระเบียบด้วย 
การจำาลองความคิดเป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนที่ 
สองของการแก้ปัญหา การจำาลองความคิดออกมา 
ในลักษณะข้อความ หรือเป็นแผนภาพ จะช่วยให้ 
สามารถแกปั้ญหาได้ดี โดยเฉพาะปัญหาทยีุ่่งยาก
เครื่องมือ 
เครื่องมือที่ใช้ในการจำาลองความคิด 
มักจะประกอบขึ้นด้วยเครื่องหมายที่ 
แตกต่างกันหลายอย่าง พอสรุปได้เปน็ 
2 ลักษณะได้แก่ 
1. ขอ้ความหรือคำาบรรยาย (Pseudo 
code) 
2. สญัลักษณ์ (Flow chart)
ข้อความหรือคำาบรรยาย 
(Pseudo code) เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสาร 
กนั เพอื่ให้ทราบถึงขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมแต่ละตอน ใน 
บางครั้งอาจใช้คำาสั่งของภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมก็ได้ 
ตัวอย่าง Pseudo code แสดงขั้นตอนการไปทำาข้อสอบวิชา 
ฟิสิกส์ 
1. อ่านคำาชี้แจงของข้อสอบ 
2. คิดถึงหน้าอาจารย์ผู้สอน 
3. ลงมือทำาข้อสอบตั้งแต่ข้อแรกถึงข้อสุดท้าย 
4. มองหน้าเพอื่นข้างๆ 
5. กลับมามองที่ข้อสอบของตัวเอง แล้วตรวจคำาตอบตั้งแต่ข้อแรก 
ถึงข้อสุดท้าย
สัญลักษณ์ (Flow chart) 
เป็นเครื่องหมายรูปแบบต่างๆ ซึ่งใช้สำาหรับ 
สอื่สารความหมายใหเ้ข้าใจตรงกัน ซึ่ง สถาบัน 
มาตรฐานแหง่ชาติอเมริกัน (The American 
National Institute, ANSI) ได้กำาหนด 
สญัลักษณ์ไว้เป็นมาตรฐาน
ตัวอย่าง การวางแผนการไปโรงเรียน 
เริ่มต้น 
ตื่นนอน 
อาบนำ้าและแต่งตัว 
ไปโรงเรียน 
จบ 
Pseudo code 
เริ่มต้น 
ตื่นนอน 
อาบนำ้า 
แต่งตัว 
ไป 
โรงเรียน 
จบ 
Flow chart
การเขียนโปรแกรม 
การเขียนโปรแกรม (programming) หมาย 
ถึง กระบวนการใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อกำาหนด 
โครงสร้างของข้อมูล และกำาหนดขั้นตอนวิธีเพื่อใช้ 
แก้ปัญหาตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยอาศัยหลัก 
เกณฑ์การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของแต่ละ 
ภาษา
โครงสร้างควบคุมหลัก 
โครงสร้างควบคุมหลักในการสร้างงานที่แตก 
ต่างกัน แต่ทกุภาษาจะต้องมี โครงสร้างแบบลำาดับ 
(Sequential structure) โครงสร้างแบบมีทาง 
เลือก (Selection structure) โครงสร้างแบบทำา 
ซำ้า (Repetition structure)
โครงสร้างแบบลำาดับ 
โครงสร้างแบบลำาดับ คือ โครงสร้าง 
แสดงขั้นตอนการทำางานที่เป็นไปตาม 
ลำาดับก่อนหลัง และแต่ละขั้นตอนจะถูก 
ประมวลผลเพียงครั้งเดียวเท่านั้น
โครงสร้างแบบลำาดับ 
คำาสงั่ที่ 1 
คำาสงั่ที่ 2 
... 
คำาสงั่ที่ n
โครงสร้างแบบมีทางเลือก 
โครงสร้างแบบมทีางเลือก คือ โครงสร้างที่มี 
เงื่อนไข ขั้นตอนการทำางานบางขั้นตอนทตี่้องมี 
การตัดสินใจ เพอื่เลือกวิธีการประมวลผลขั้นต่อไป 
และจะมบีางขั้นตอนทไี่มไ่ด้รับการประมวลผล 
การตัดสินใจอาจมทีางเลือก 2 ทางหรือมากกว่า 
กไ็ด้ โครงสร้างที่มทีางเลือกเพียง 2 ทางเราเรียก 
ชื่อว่า โครงสร้างแบบ if…then…else และ 
โครงสร้างทมี่ทีางเลือกมากกว่า 2 ทาง เราเรียกชื่อ 
ว่าโครงสร้างแบบ case
โครงสร้างแบบมีทางเลือก แบบ if… 
then…else 
เท็จ 
เงื่อนไข 
จริง 
คำาสั่ง คำาสั่ง
โครงสร้างแบบมีทางเลือก แบบ 
case 
เงื่อนไข 
กรณทีี่ 1 กรณีที่ 2 กรณทีี่ n 
คำาสั่ง คำาสั่ง คำาสั่ง
โครงสร้างแบบทำาซำ้า 
โครงสร้างแบบทำาซำ้า คือ โครงสร้างที่ขั้นตอนการทำางาน 
บางขั้นตอนได้รับการประมวลผลมากกว่า 1 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่ 
กบัเงอื่นไขบางประการ โครงสร้างแบบซำ้านี้ต้องมีการตัดสินใจ 
ในการทำางานซำ้า และลักษณะการทำางานของโครงสร้างแบบนี้ 
มี2 แบบคือ 
1. แบบที่มีการตรวจสอบเงื่อนไขในการทำาซำ้าทุกครั้งก่อน 
ดำาเนินการกิจกรรมใดๆ ถ้าเงอื่นไขเป็นจริงจะทำาซำ้าไปเรื่อยๆ 
และหยุดเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ เรียกการทำางานลักษณะนี้ว่า การ 
ทำาซำ้าแบบ do while 
2. แบบที่ทำากิจกรรมซำ้าเรื่อยๆ จนกว่าเงอื่นไขที่กำาหนดเป็น 
จริงแลว้หยุดการทำางาน โดยแต่ละครั้งที่เสร็จสิ้นการดำาเนิน
โครงสร้างทำาซำ้าแบบ do while 
เงื่อนไข 
คำาสั่ง 
คำาสั่ง 
เท็จ 
จริง
โครงสร้างทำาซำ้าแบบ do until 
คำาสั่ง 
คำาสั่ง 
เงื่อนไข 
เท็จ 
จริง
Flow chart

Contenu connexe

En vedette

Flow chart การดำเนินงาน ทวิภพ
Flow chart การดำเนินงาน ทวิภพFlow chart การดำเนินงาน ทวิภพ
Flow chart การดำเนินงาน ทวิภพItt Bandhudhara
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์Watinee Poksup
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาsupatra178
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Jakkree Eiei
 
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงานการพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงานSiriporn Tiwasing
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 

En vedette (9)

Flow chart การดำเนินงาน ทวิภพ
Flow chart การดำเนินงาน ทวิภพFlow chart การดำเนินงาน ทวิภพ
Flow chart การดำเนินงาน ทวิภพ
 
Chapter02
Chapter02Chapter02
Chapter02
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
 
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงานการพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคู่มือจากการปฏิบัติงาน
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
Ooad unit – 1 introduction
Ooad unit – 1 introductionOoad unit – 1 introduction
Ooad unit – 1 introduction
 

Similaire à Flow chart

งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptIrinApat
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์BKc BiGgy
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตnattapon Arsapanom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Chatchaphun Sent Work
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดWuttipong Tubkrathok
 

Similaire à Flow chart (20)

งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping concept
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Mind map (1)
Mind map (1)Mind map (1)
Mind map (1)
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Backward Design
Backward DesignBackward Design
Backward Design
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิด
 

Plus de Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

Flow chart

  • 2. การจำาลองความคิด ขั้นตอนที่สำาคัญในการแก้ปัญหาคือการ วางแผน การวางแผนที่ดีจะช่วยให้การแก้ปัญหา เป็นไปได้โดยง่าย ผู้ที่สามารถวางแผนในการแก้ปัญหาได้ดี นอกจากจะต้องใช้ประสบการณ์ ความรู้ และความ มเีหตุผลแล้ว ยังควรรู้จักวางแผนใหเ้ป็นขั้นตอน และมีระเบียบด้วย การจำาลองความคิดเป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนที่ สองของการแก้ปัญหา การจำาลองความคิดออกมา ในลักษณะข้อความ หรือเป็นแผนภาพ จะช่วยให้ สามารถแกปั้ญหาได้ดี โดยเฉพาะปัญหาทยีุ่่งยาก
  • 3. เครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ในการจำาลองความคิด มักจะประกอบขึ้นด้วยเครื่องหมายที่ แตกต่างกันหลายอย่าง พอสรุปได้เปน็ 2 ลักษณะได้แก่ 1. ขอ้ความหรือคำาบรรยาย (Pseudo code) 2. สญัลักษณ์ (Flow chart)
  • 4. ข้อความหรือคำาบรรยาย (Pseudo code) เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสาร กนั เพอื่ให้ทราบถึงขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมแต่ละตอน ใน บางครั้งอาจใช้คำาสั่งของภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมก็ได้ ตัวอย่าง Pseudo code แสดงขั้นตอนการไปทำาข้อสอบวิชา ฟิสิกส์ 1. อ่านคำาชี้แจงของข้อสอบ 2. คิดถึงหน้าอาจารย์ผู้สอน 3. ลงมือทำาข้อสอบตั้งแต่ข้อแรกถึงข้อสุดท้าย 4. มองหน้าเพอื่นข้างๆ 5. กลับมามองที่ข้อสอบของตัวเอง แล้วตรวจคำาตอบตั้งแต่ข้อแรก ถึงข้อสุดท้าย
  • 5. สัญลักษณ์ (Flow chart) เป็นเครื่องหมายรูปแบบต่างๆ ซึ่งใช้สำาหรับ สอื่สารความหมายใหเ้ข้าใจตรงกัน ซึ่ง สถาบัน มาตรฐานแหง่ชาติอเมริกัน (The American National Institute, ANSI) ได้กำาหนด สญัลักษณ์ไว้เป็นมาตรฐาน
  • 6. ตัวอย่าง การวางแผนการไปโรงเรียน เริ่มต้น ตื่นนอน อาบนำ้าและแต่งตัว ไปโรงเรียน จบ Pseudo code เริ่มต้น ตื่นนอน อาบนำ้า แต่งตัว ไป โรงเรียน จบ Flow chart
  • 7.
  • 8. การเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรม (programming) หมาย ถึง กระบวนการใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อกำาหนด โครงสร้างของข้อมูล และกำาหนดขั้นตอนวิธีเพื่อใช้ แก้ปัญหาตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยอาศัยหลัก เกณฑ์การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของแต่ละ ภาษา
  • 9. โครงสร้างควบคุมหลัก โครงสร้างควบคุมหลักในการสร้างงานที่แตก ต่างกัน แต่ทกุภาษาจะต้องมี โครงสร้างแบบลำาดับ (Sequential structure) โครงสร้างแบบมีทาง เลือก (Selection structure) โครงสร้างแบบทำา ซำ้า (Repetition structure)
  • 10. โครงสร้างแบบลำาดับ โครงสร้างแบบลำาดับ คือ โครงสร้าง แสดงขั้นตอนการทำางานที่เป็นไปตาม ลำาดับก่อนหลัง และแต่ละขั้นตอนจะถูก ประมวลผลเพียงครั้งเดียวเท่านั้น
  • 11. โครงสร้างแบบลำาดับ คำาสงั่ที่ 1 คำาสงั่ที่ 2 ... คำาสงั่ที่ n
  • 12. โครงสร้างแบบมีทางเลือก โครงสร้างแบบมทีางเลือก คือ โครงสร้างที่มี เงื่อนไข ขั้นตอนการทำางานบางขั้นตอนทตี่้องมี การตัดสินใจ เพอื่เลือกวิธีการประมวลผลขั้นต่อไป และจะมบีางขั้นตอนทไี่มไ่ด้รับการประมวลผล การตัดสินใจอาจมทีางเลือก 2 ทางหรือมากกว่า กไ็ด้ โครงสร้างที่มทีางเลือกเพียง 2 ทางเราเรียก ชื่อว่า โครงสร้างแบบ if…then…else และ โครงสร้างทมี่ทีางเลือกมากกว่า 2 ทาง เราเรียกชื่อ ว่าโครงสร้างแบบ case
  • 13. โครงสร้างแบบมีทางเลือก แบบ if… then…else เท็จ เงื่อนไข จริง คำาสั่ง คำาสั่ง
  • 14. โครงสร้างแบบมีทางเลือก แบบ case เงื่อนไข กรณทีี่ 1 กรณีที่ 2 กรณทีี่ n คำาสั่ง คำาสั่ง คำาสั่ง
  • 15. โครงสร้างแบบทำาซำ้า โครงสร้างแบบทำาซำ้า คือ โครงสร้างที่ขั้นตอนการทำางาน บางขั้นตอนได้รับการประมวลผลมากกว่า 1 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กบัเงอื่นไขบางประการ โครงสร้างแบบซำ้านี้ต้องมีการตัดสินใจ ในการทำางานซำ้า และลักษณะการทำางานของโครงสร้างแบบนี้ มี2 แบบคือ 1. แบบที่มีการตรวจสอบเงื่อนไขในการทำาซำ้าทุกครั้งก่อน ดำาเนินการกิจกรรมใดๆ ถ้าเงอื่นไขเป็นจริงจะทำาซำ้าไปเรื่อยๆ และหยุดเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ เรียกการทำางานลักษณะนี้ว่า การ ทำาซำ้าแบบ do while 2. แบบที่ทำากิจกรรมซำ้าเรื่อยๆ จนกว่าเงอื่นไขที่กำาหนดเป็น จริงแลว้หยุดการทำางาน โดยแต่ละครั้งที่เสร็จสิ้นการดำาเนิน
  • 16. โครงสร้างทำาซำ้าแบบ do while เงื่อนไข คำาสั่ง คำาสั่ง เท็จ จริง
  • 17. โครงสร้างทำาซำ้าแบบ do until คำาสั่ง คำาสั่ง เงื่อนไข เท็จ จริง