SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
วชิาพนื้ฐานการเขยีนโปรแกรมคอมพวิเตอร์ 
เรอื่งการเขยีนผงังาน 
หน่วยที่1 ผงังาน
สาระการเรยีนรู้ 
1. ความหมายของผังงาน 
2. ประโยชน์ของผังงาน 
3. สัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงาน 
4. ลักษณะการเขียนผังงาน 
จุดประสงคก์ารเรยีนรู้ 
1. อธิบายความหมายของผังงานได้ 
2. อธิบายประโยชน์ของผังงานได้ 
3. บอกสัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงานได้ 
4. อธิบายวิธีการใชง้านสัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงานได้ 
5. อธิบายลักษณะการเขียนผังงานได้
ความหมายของผงังาน 
ผังงาน (Flowchart) คือ การเขียนอธิบายขั้นตอน 
วิธีการทางานในลักษณะของรูปภาพ ประโยชน์ของผัง 
งาน ใชส้าหรับช่วยในการพัฒนาลาดับขั้นตอนวิธีการ 
แกปั้ญหา เนื่องจากผังงานเป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีการ 
ทางานในลักษณะของรูปภาพ ทาใหส้ามารถเห็นลาดับ 
ของขั้นตอนวิธีการทางานไดชั้ดเจนกว่าการอธิบาย 
ขัน้ตอนวิธีการทางานในลักษณะของขอ้ความ 
เมื่อไดผั้งงานที่ใชส้าหรับการแกปั้ญหาที่ตอ้งการ 
แลว้ จากนั้นจึงทาการพัฒนาจากผังงานใหเ้ป็นการอธิบาย 
ขั้นตอนวิธีการทางานในลักษณะของขอ้ความ รหัสเทียม 
และโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ทตี่อ้งการตามลาดับ
สญัลกัษณ์สาหรบัการเขยีนผงังาน 
1.1 จุดเรมิ่ตน้และจุดสนิ้สุดของผงังาน 
สัญลักษณ์ที่ใชส้าหรับจุดเริ่มตน้และจุดสนิ้สุดของผังงาน ใชสั้ญลักษณ์ 
รูปสี่เหลี่ยมปลายมุมคลา้ยกับสนามฟุตบอล ภายสัญลักษณ์มีคาอธิบายสาหรับ 
บอกว่าเป็นจุดเริ่มตน้หรือจุดสนิ้สุดของผังงาน โดยใชค้าอธิบาย “Start” หรือ 
“Begin” หรือเริ่มตน้สาหรับจุดเริ่มตน้ของผังงาน และคาอธิบาย “Stop” หรือ 
“End” หรือจบ สาหรับจุดสนิ้สุดของผังงาน มีสัญลักษณ์จุดเริ่มตน้ไดเ้พียง 
สัญลักษณ์เดียวและมีสัญลักษณ์จุดสนิ้สุดไดเ้พียงสัญลักษณ์เดียวเท่านั้น 
Start End 
การใชง้านสัญลักษณ์จุดเริ่มตน้และจุดสิ้นสุดของผังงาน
1.2การกาหนดค่า การคา นวณและการประมวลผล 
สัญลักษณ์ที่ใชส้าหรับการกาหนดค่า (Assignment) การคานวณ 
(Computation) และการประมาณผล (Process) ของผังงานใชสั้ญลักษณ์รูป 
สี่เหลี่ยมผืนผา้ โดยมีคาอธิบายลักษณะการทางานอยู่ภายในรูปสี่เหลยี่มผืนผา้ 
สัญลักษณ์นี้มีทัง้ทิศทางเขา้และทิศทางอก โดยมีเพียงทิศทางเขา้ 1 ทิศทาง 
และทิศทางออก 1 ทิศทาง 
สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล 
การเขียนผังงานนิยมใชเ้ครื่องหมายลูกศร แทนเครื่องหมายเท่ากับ 
สาหรับการกาหนดค่าหรือการคานวณ เครื่องหมายเท่ากับสาหรับการเขียนผังงาน 
นิยมใชส้าหรับการเปรียบเทียบความเท่ากันระหว่างค่า 2 ค่า 
ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล 
N 5 
การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการกาหนดค่าใหค้่าของ N มีค่า 
เท่ากับ 5
1.3การรบัขอ้มูลเขา้และการนาขอ้มูลออก 
การรับขอ้มูลเขา้และการนาขอ้มูลออก กรณีไม่กาหนดอุปกรณ์ 
สาหรับการนาขอ้มูลเขา้และการนาขอ้มูลออก สัญลักษณ์ที่ใชคื้อสัญลักษณ์ 
รูปสี่เหลี่ยมดา้นขนาน ภายในสัญลักษณ์เป็นคาอธิบายลักษณะการทางาน 
โดยใชค้าอธิบาย “Read” , “Input” หรือ “รับค่า” สาหรับการรับขอ้มูลเขา้ 
และใชค้าอธิบาย “Write” , “Output” , “Print” หรือ “แสดงค่า” สาหรับการ 
นาขอ้มูลออกสัญลักษณ์นี้มีทัง้ทิศทางเขา้และทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง 
สัญลักษณ์การนาขอ้มูลเขา้และขอ้มูลอกโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ 
ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์การนาขอ้มูลเขา้และการนาขอ้มูลออกโดยไม่ 
กาหนดอุปกรณ์ 
การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร 
ANS 
Write ANS
1.4การรบัขอ้มูลเขา้ทางแป้นพมิพ์ 
สัญลักษณ์ของผังงานที่ใชส้าหรับการรับขอ้มูลเขา้ทางแป้นพิมพ์ 
ภายในสัญลักษณ์ คือ ตัวแปรที่ใชส้าหรับรับค่าขอ้มูลที่รับเขา้มาจาก 
แป้นพิมพ์ สัญลักษณ์สาหรับการรับขอ้มูลเขา้จากแป้นพิมพ์มีทิศทางเขา้และ 
ทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง 
สัญลักษณ์การรับขอ้มูลเขา้ทางแป้นพิมพ์ 
ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์การรับขอ้มูลเขา้ทางแป้นพิมพ์ (Keyboard) 
A,B 
การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการรับค่าจากแป้นพิมพ์ 
จานวน 2 ค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และตัวแปร B โดยค่าที่1 ถูกนาไปเก็บไว้ 
ในตัวแปร A และค่าที่2 ถูกนาไปเก็บไวใ้นตัวแปร B
1.5 การแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพ 
สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพของผังงาน ใช้ 
สัญลักษณ์ โดยเขียนขอ้มูลที่ตอ้งการแสดงผลออกสู่จอภาพอยู่ภายใน 
สัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใชส้าหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพมีทิศ 
ทางเขา้และทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง 
สัญลักษณ์การแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพ 
ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์การแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพ 
ANS 
การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทาง 
จอภาพ
1.6 การแสดงผลขอ้มูลออกทางเครอื่งพมิพ์ 
สัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์ 
ใชสั้ญลักษณ์ โดยเขียนขอ้มูลทตี่อ้งการแสดงผลออกทางเครอื่งพิมพ์อยภู่ายใน 
สัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใชส้าหรับการแสดงขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์มีทิศ 
ทางเขา้และทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง 
สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์ 
ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์ 
การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS 
ออกทางเครอื่งพิมพ์ 
ANS
1.7 การตดิต่อกบัอุปกรณท์เี่ป็นการเขา้ถงึขอ้มูลแบบลา ดบั 
อุปกรณ์ที่เป็นการเขา้ถึงขอ้มูลแบบลาดับ เช่น เทปแม่เหล็ก 
สัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการติดต่ออุปกรณ์ที่เป็นการเขา้ถึงขอ้มูลแบบ 
ลาดับ ใชใ้นกรณีทตี่อ้งการบันทึกขอ้มูลลงเทปแม่เหล็กหรือตอ้งการอ่าน 
ขอ้มูลจากเทปแม่เหล็ก 
สัญลักษณ์สาหรับการติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเขา้ถึงขอ้มูลแบบลาดับ 
1.8การตดิต่อกบัอุปกรณท์เี่ป็นการเขา้ถงึขอ้มูลแบบตรง 
อุปกรณ์ที่เป็นการเขา้ถึงขอ้มูลแบบตรง เช่น จานบันทึกขอ้มูล (Disc) 
สัญลักษณ์ที่ใชใ้นการตดิต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกขอ้มูลใชสั้ญลักษณ์ใช้ 
ในกรณีทตี่อ้งการบันทึกขอ้มูลลงจานบันทึกขอ้มูลหรืออ่านขอ้มูลจากจาน 
บันทึกขอ้มูล 
สัญลักษณ์สาหรับการติดต่ออุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกขอ้มูล
1.9 การตดัสนิใจ 
สัญลักษณ์การตัดสนิใจใชส้าหรับตรวจสอบเงื่อนไข เพื่อตัดสนิใจเลือก 
กระทาขัน้ตอนการทางานที่ตอ้งทาเป็นลาดับถัดไป สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้ 
สาหรับการตัดสนิใจเครื่องหมายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน โดยมีเงื่อนไขสาหรับการ 
ตัดสนิใจอยู่ภายในสัญลักษณ์ สัญลักษณ์การตัดสนิใจมีการใชง้านในผังงานทมีี่ 
การทางานแบบเลือกทา และการทางานแบบทาซ้า 
สัญลักษณ์สาหรับการตัดสินใจ 
ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์สาหรับการตัดสนิใจ 
Y N 
X 15 
จากสัญลักษณ์การตัดสนิใจขัน้ตอนการทางาน คือ พิจารณาค่าของ X 
ถา้ค่าของ X ขณะนั้นมีค่ามากกว่า 15 ขัน้ตอนการทางานทตี่อ้งการทาในลาดับ 
ถัดไป คือ การทางานในทิศทางทมีี่ตัวอักษร “Y” กากับ ถา้ค่าของ X ขณะนั้นไม่ 
มากกว่า 15 คือ นอ้ยกว่าหรือเท่ากับ 15 ขัน้ตอนการทางานทตี่อ้งทาเป็นลาดับ 
ถัดไป คือ การทางานในทิศทางทมีี่ตัวอักษร “N” กากับ
1.10 การแสดงทศิทางการทา งานของผงังาน 
การแสดงทิศทางของขัน้ตอนการทางานของผังงาน ใชลู้กศรสาหรับ 
การบอกทิศทางของขัน้ตอนการทางาน การใชลู้กศรแสดงทิศทางของขัน้ตอน 
การทางานนิยมเขียนจากดา้นบนลงดา้นล่างหรือจากดา้นซา้ยไปดา้นขวา ลกูศร 
ที่ชี้เขา้สู่สัญลักษณ์ของผังงานนิยมเขียนลูกศรชี้เขา้ดา้นบนของสัญลักษณ์ และ 
ลูกศรที่ชี้ออกจากสัญลักษณ์ของผังงานนิยมเขียนลูกศรชี้ออกทางดา้นล่างของ 
สัญลักษณ์ 
สัญลักษณ์การแสดงทิศทางการทางานของผังงาน 
การเขียนเสน้ของลูกศรแสดงทิศทางการไหลของผังงานไม่นิยมเขียน 
เสน้ตัดกัน ถา้มีขัน้ตอนการทางานที่ตอ้งเขียนเสน้ตัดกัน ตอ้งพยายามเลยี่งโดย 
การปรับรูปของโครงสรา้งผังงานใหม่หรือใชเ้ครื่องหมายจุดต่อช่วยในการเขียน 
ผังงาน
ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์สาหรับแสดงทิศทางการทางานของผังงาน 
Read A,B 
X = A + B 
ลาดับขัน้ตอนการทางานของผังงาน คือ ขัน้ตอนแรก ทาการรับค่า 
ขอ้มูลเขา้มาเก็บไวใ้นตัวแปร A และ B จากนั้นทาขัน้ตอนของการคานวณค่า 
ของ A บวกดว้ยค่าของ B จากนั้นนาผลทไี่ดไ้ปเก็บไวใ้นตัวแปร X
1.11 จุดต่อภายในหน้าเดยีวกนั 
สัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน ใชส้าหรับเชื่อมการทางานของ 
ผังงานที่อยู่ในหนา้เดียวกัน สัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกันใช้ 
สัญลักษณ์ของวงกลม ภายในวงกลมระบุหมายเลขของจุดที่ตอ้งการต่อเชื่อม 
ถึงกัน จุดต่อแต่ละจุดตอ้งมีคู่ที่ตอ้งการเชื่อมถึงกันเสมอ 
การใชสั้ญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน ใชใ้นกรณีที่เสน้สาหรับแสดงทิศ 
ทางการทางานของผังงานมีความยาวมาก หรือมีจุดตัดของเสน้ที่ใชแ้สดงทิศ 
ทางการทางานเกดิขนึ้ เพื่อลดความซับซอ้นของเสน้ที่ใชแ้สดงขัน้ตอนการ 
ทางานของผังงาน ทาใหส้ามารถเห็นลาดับขัน้ตอนการทางานไดอ้ย่างไม่ 
สับสน 
สัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน
ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน 
1 1 
แสดงเครอื่งหมายจุดต่อภายในหนา้เดียวกันหมายเลข 1 โดยทตีั่ง้ 
2 จุดตอ้งอยหู่นา้เดียวกัน การทางานของผังงานเสมือนว่าสองจุดนี้คือจุด 
เดียวกัน และเชื่อมต่อถึงกัน
1.12 จุดต่อระหว่างหน้า 
สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ของผังงานใชสั้ญลักษณ์รูปหา้เหลยี่ม 
สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ใชส้าหรับเชื่อมการทางานของผังงานทอี่ยตู่่าง 
หนา้กัน ภายในสัญลักษณ์ระบุหมายเลขของจุดที่ตอ้งการต่อเชื่อมถงึกัน จุด 
ต่อแต่ละจุดตอ้งคู่ที่ตอ้งการเชื่อมถึงกันเสมอ 
การใชง้านของสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ มีการใชง้านเหมือนกับ 
จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน ต่างกันเพียงใชส้าหรับเชื่อมต่อจุดที่อยตู่่างหนา้กัน 
สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ 
ตวัอย่างที่1.9การใชสั้ญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ 
1 1 
แสดงเครอื่งหมายจุดต่อระหว่างหนา้หมายเลข 1 โดยทที่งั้ 2 จุดตอ้งอยตู่่าง 
หนา้กันการทางานของผังงานเสมือนว่าสองจุดนี้คือจุดเดียวกัน และเชื่อมตอ่ถึงกัน
ลกัษณะการเขยีนผงังาน 
ลักษณะของผังงานทดีี่ ควรมีลักษณะดังนไี้ปนี้ 
1. ทุกผังงานตอ้งมีจุดเริ่มตน้และจุดสนิ้สุดเพียงอย่างละหนงึ่แห่ง 
เท่านั้น 
2. ทุกสัญลักษณ์ของผังงานตอ้งมีลูกศรชี้ทิศทางเขา้ และลูกศร 
ชี้ทิศทางออกอย่างละหนึ่งลูกศรยกเวน้สัญลักษณ์จุดเริ่มตน้ สัญลกัษณ์ 
จุดสนิ้สุด สัญลักษณ์การตัดสนิใจ และสัญลักษณ์จุดต่อ 
3. สัญลักษณ์จุดเริ่มตน้มีเฉพาะลูกศรชี้ทิศทางออก สัญลักษณ์ 
จุดสนิ้สุดมีเฉพาะลูกศรชี้ทิศทางเขา้ 
4. สัญลักษณ์การตัดสนิใจมีลูกศรชี้ทิศทางเขา้ 1 ทิศทาง มี 
ลูกศรชี้ทิศทางออก 2 ทิศทาง คือ กรณีที่ผลที่ไดจ้ากการตัดสนิใจเป็นจริง 
และกรณีที่ผลที่ไดจ้ากการตัดสนิใจเป็นเท็จ
ลกัษณะการเขยีนผงังาน 
5. ทิศทางของลาดับขัน้ตอนการทางาน นิยมเขียนจากบนลง 
ล่างหรือจากซา้ยไปขวา 
6. เสน้ของลูกศรที่ใชบ้อกทิศทางของลาดับขัน้ตอนวิธีการ 
ทางาน ไม่ควรเขียนตัดกันหรือทับกัน 
7. ไม่ควรเขียนเสน้ของลูกศรเพื่อทาการเชื่อมโยงลาดับ 
ขัน้ตอนที่อยู่ห่างกันมากหากจาเป็นควรใชสั้ญลักษณ์จุดต่อแทน 
8. การเขียนผังงานในส่วนของการกาหนดค่าหรือคานวณค่า 
นิยมใชเ้ครื่องหมายลูกศรแทนการใชเ้ครื่องหมายเท่ากับ เช่น , ส่วน 
เครื่องหมายเท่ากับนิยมใชส้าหรับการเปรียบเทียบค่า

Contenu connexe

Tendances

พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น Maitree Rimthong
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6nunzaza
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nuttyling
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 

Tendances (14)

3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
SA Chapter 6
SA Chapter 6SA Chapter 6
SA Chapter 6
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Chapter1.1
Chapter1.1Chapter1.1
Chapter1.1
 
Chapter02
Chapter02Chapter02
Chapter02
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
1122
11221122
1122
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 

En vedette (20)

Kelas tahun 5 rajin 2014 for merge
Kelas tahun 5 rajin  2014   for mergeKelas tahun 5 rajin  2014   for merge
Kelas tahun 5 rajin 2014 for merge
 
AMI - Bringing Your Own Device to ITAM
AMI - Bringing Your Own Device to ITAMAMI - Bringing Your Own Device to ITAM
AMI - Bringing Your Own Device to ITAM
 
Harold J resume+041216
Harold J resume+041216Harold J resume+041216
Harold J resume+041216
 
Arquitetura de informação
Arquitetura de informaçãoArquitetura de informação
Arquitetura de informação
 
Javascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build ArtifactsJavascript Apps at Build Artifacts
Javascript Apps at Build Artifacts
 
Dossier prensa COTIF 2016
Dossier prensa COTIF 2016Dossier prensa COTIF 2016
Dossier prensa COTIF 2016
 
Fb alopecia in a bulldog
Fb alopecia in a bulldogFb alopecia in a bulldog
Fb alopecia in a bulldog
 
Presentación1 rodrigo
Presentación1 rodrigoPresentación1 rodrigo
Presentación1 rodrigo
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
 
Venetia panorama
Venetia panoramaVenetia panorama
Venetia panorama
 
Must taitung team
Must taitung teamMust taitung team
Must taitung team
 
12 formas básicas de enseñar
12 formas básicas de enseñar12 formas básicas de enseñar
12 formas básicas de enseñar
 
DevOps Boston - Heartbleed at Acquia
DevOps Boston - Heartbleed at AcquiaDevOps Boston - Heartbleed at Acquia
DevOps Boston - Heartbleed at Acquia
 
Metodos
MetodosMetodos
Metodos
 
Must welcome to chiayi county
Must welcome to chiayi countyMust welcome to chiayi county
Must welcome to chiayi county
 
Curso deferias
Curso deferiasCurso deferias
Curso deferias
 
Brin 3 q12
Brin   3 q12Brin   3 q12
Brin 3 q12
 
MEI
MEIMEI
MEI
 
Ch15
Ch15Ch15
Ch15
 
Hola mundo
Hola mundoHola mundo
Hola mundo
 

Similaire à Ppt 01

หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นเสย ๆๆๆๆ
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Officeคู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Officeพัน พัน
 
605 สุปราณี 11
605 สุปราณี 11605 สุปราณี 11
605 สุปราณี 11Supranee Panjita
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Last'z Regrets
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)JoyCe Zii Zii
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานCai Ubru
 

Similaire à Ppt 01 (20)

หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
Lesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-programLesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-program
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
Chapter1.1
Chapter1.1Chapter1.1
Chapter1.1
 
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Officeคู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
คู่มือการใช้งาน Kingsoft Office
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ใบงาน 5
ใบงาน 5ใบงาน 5
ใบงาน 5
 
605 สุปราณี 11
605 สุปราณี 11605 สุปราณี 11
605 สุปราณี 11
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 

Plus de Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

Ppt 01

  • 2. สาระการเรยีนรู้ 1. ความหมายของผังงาน 2. ประโยชน์ของผังงาน 3. สัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงาน 4. ลักษณะการเขียนผังงาน จุดประสงคก์ารเรยีนรู้ 1. อธิบายความหมายของผังงานได้ 2. อธิบายประโยชน์ของผังงานได้ 3. บอกสัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงานได้ 4. อธิบายวิธีการใชง้านสัญลักษณ์สาหรับการเขียนผังงานได้ 5. อธิบายลักษณะการเขียนผังงานได้
  • 3. ความหมายของผงังาน ผังงาน (Flowchart) คือ การเขียนอธิบายขั้นตอน วิธีการทางานในลักษณะของรูปภาพ ประโยชน์ของผัง งาน ใชส้าหรับช่วยในการพัฒนาลาดับขั้นตอนวิธีการ แกปั้ญหา เนื่องจากผังงานเป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีการ ทางานในลักษณะของรูปภาพ ทาใหส้ามารถเห็นลาดับ ของขั้นตอนวิธีการทางานไดชั้ดเจนกว่าการอธิบาย ขัน้ตอนวิธีการทางานในลักษณะของขอ้ความ เมื่อไดผั้งงานที่ใชส้าหรับการแกปั้ญหาที่ตอ้งการ แลว้ จากนั้นจึงทาการพัฒนาจากผังงานใหเ้ป็นการอธิบาย ขั้นตอนวิธีการทางานในลักษณะของขอ้ความ รหัสเทียม และโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ทตี่อ้งการตามลาดับ
  • 4. สญัลกัษณ์สาหรบัการเขยีนผงังาน 1.1 จุดเรมิ่ตน้และจุดสนิ้สุดของผงังาน สัญลักษณ์ที่ใชส้าหรับจุดเริ่มตน้และจุดสนิ้สุดของผังงาน ใชสั้ญลักษณ์ รูปสี่เหลี่ยมปลายมุมคลา้ยกับสนามฟุตบอล ภายสัญลักษณ์มีคาอธิบายสาหรับ บอกว่าเป็นจุดเริ่มตน้หรือจุดสนิ้สุดของผังงาน โดยใชค้าอธิบาย “Start” หรือ “Begin” หรือเริ่มตน้สาหรับจุดเริ่มตน้ของผังงาน และคาอธิบาย “Stop” หรือ “End” หรือจบ สาหรับจุดสนิ้สุดของผังงาน มีสัญลักษณ์จุดเริ่มตน้ไดเ้พียง สัญลักษณ์เดียวและมีสัญลักษณ์จุดสนิ้สุดไดเ้พียงสัญลักษณ์เดียวเท่านั้น Start End การใชง้านสัญลักษณ์จุดเริ่มตน้และจุดสิ้นสุดของผังงาน
  • 5. 1.2การกาหนดค่า การคา นวณและการประมวลผล สัญลักษณ์ที่ใชส้าหรับการกาหนดค่า (Assignment) การคานวณ (Computation) และการประมาณผล (Process) ของผังงานใชสั้ญลักษณ์รูป สี่เหลี่ยมผืนผา้ โดยมีคาอธิบายลักษณะการทางานอยู่ภายในรูปสี่เหลยี่มผืนผา้ สัญลักษณ์นี้มีทัง้ทิศทางเขา้และทิศทางอก โดยมีเพียงทิศทางเขา้ 1 ทิศทาง และทิศทางออก 1 ทิศทาง สัญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล การเขียนผังงานนิยมใชเ้ครื่องหมายลูกศร แทนเครื่องหมายเท่ากับ สาหรับการกาหนดค่าหรือการคานวณ เครื่องหมายเท่ากับสาหรับการเขียนผังงาน นิยมใชส้าหรับการเปรียบเทียบความเท่ากันระหว่างค่า 2 ค่า ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์การกาหนดค่า การคานวณและการประมวลผล N 5 การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการกาหนดค่าใหค้่าของ N มีค่า เท่ากับ 5
  • 6. 1.3การรบัขอ้มูลเขา้และการนาขอ้มูลออก การรับขอ้มูลเขา้และการนาขอ้มูลออก กรณีไม่กาหนดอุปกรณ์ สาหรับการนาขอ้มูลเขา้และการนาขอ้มูลออก สัญลักษณ์ที่ใชคื้อสัญลักษณ์ รูปสี่เหลี่ยมดา้นขนาน ภายในสัญลักษณ์เป็นคาอธิบายลักษณะการทางาน โดยใชค้าอธิบาย “Read” , “Input” หรือ “รับค่า” สาหรับการรับขอ้มูลเขา้ และใชค้าอธิบาย “Write” , “Output” , “Print” หรือ “แสดงค่า” สาหรับการ นาขอ้มูลออกสัญลักษณ์นี้มีทัง้ทิศทางเขา้และทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง สัญลักษณ์การนาขอ้มูลเขา้และขอ้มูลอกโดยไม่กาหนดอุปกรณ์ ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์การนาขอ้มูลเขา้และการนาขอ้มูลออกโดยไม่ กาหนดอุปกรณ์ การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS Write ANS
  • 7. 1.4การรบัขอ้มูลเขา้ทางแป้นพมิพ์ สัญลักษณ์ของผังงานที่ใชส้าหรับการรับขอ้มูลเขา้ทางแป้นพิมพ์ ภายในสัญลักษณ์ คือ ตัวแปรที่ใชส้าหรับรับค่าขอ้มูลที่รับเขา้มาจาก แป้นพิมพ์ สัญลักษณ์สาหรับการรับขอ้มูลเขา้จากแป้นพิมพ์มีทิศทางเขา้และ ทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง สัญลักษณ์การรับขอ้มูลเขา้ทางแป้นพิมพ์ ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์การรับขอ้มูลเขา้ทางแป้นพิมพ์ (Keyboard) A,B การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการรับค่าจากแป้นพิมพ์ จานวน 2 ค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร A และตัวแปร B โดยค่าที่1 ถูกนาไปเก็บไว้ ในตัวแปร A และค่าที่2 ถูกนาไปเก็บไวใ้นตัวแปร B
  • 8. 1.5 การแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพ สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพของผังงาน ใช้ สัญลักษณ์ โดยเขียนขอ้มูลที่ตอ้งการแสดงผลออกสู่จอภาพอยู่ภายใน สัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใชส้าหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพมีทิศ ทางเขา้และทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง สัญลักษณ์การแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพ ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์การแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพ ANS การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทาง จอภาพ
  • 9. 1.6 การแสดงผลขอ้มูลออกทางเครอื่งพมิพ์ สัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์ ใชสั้ญลักษณ์ โดยเขียนขอ้มูลทตี่อ้งการแสดงผลออกทางเครอื่งพิมพ์อยภู่ายใน สัญลักษณ์นี้ สัญลักษณ์ที่ใชส้าหรับการแสดงขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์มีทิศ ทางเขา้และทิศทางออกอย่างละ 1 ทิศทาง สัญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์ ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์สาหรับการแสดงผลขอ้มูลออกทางเครื่องพิมพ์ การใชง้านสัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการแสดงค่าของตัวแปร ANS ออกทางเครอื่งพิมพ์ ANS
  • 10. 1.7 การตดิต่อกบัอุปกรณท์เี่ป็นการเขา้ถงึขอ้มูลแบบลา ดบั อุปกรณ์ที่เป็นการเขา้ถึงขอ้มูลแบบลาดับ เช่น เทปแม่เหล็ก สัญลักษณ์ของผังงานสาหรับการติดต่ออุปกรณ์ที่เป็นการเขา้ถึงขอ้มูลแบบ ลาดับ ใชใ้นกรณีทตี่อ้งการบันทึกขอ้มูลลงเทปแม่เหล็กหรือตอ้งการอ่าน ขอ้มูลจากเทปแม่เหล็ก สัญลักษณ์สาหรับการติดต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นการเขา้ถึงขอ้มูลแบบลาดับ 1.8การตดิต่อกบัอุปกรณท์เี่ป็นการเขา้ถงึขอ้มูลแบบตรง อุปกรณ์ที่เป็นการเขา้ถึงขอ้มูลแบบตรง เช่น จานบันทึกขอ้มูล (Disc) สัญลักษณ์ที่ใชใ้นการตดิต่อกับอุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกขอ้มูลใชสั้ญลักษณ์ใช้ ในกรณีทตี่อ้งการบันทึกขอ้มูลลงจานบันทึกขอ้มูลหรืออ่านขอ้มูลจากจาน บันทึกขอ้มูล สัญลักษณ์สาหรับการติดต่ออุปกรณ์ที่เป็นจานบันทึกขอ้มูล
  • 11. 1.9 การตดัสนิใจ สัญลักษณ์การตัดสนิใจใชส้าหรับตรวจสอบเงื่อนไข เพื่อตัดสนิใจเลือก กระทาขัน้ตอนการทางานที่ตอ้งทาเป็นลาดับถัดไป สัญลักษณ์ของผังงานที่ใช้ สาหรับการตัดสนิใจเครื่องหมายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน โดยมีเงื่อนไขสาหรับการ ตัดสนิใจอยู่ภายในสัญลักษณ์ สัญลักษณ์การตัดสนิใจมีการใชง้านในผังงานทมีี่ การทางานแบบเลือกทา และการทางานแบบทาซ้า สัญลักษณ์สาหรับการตัดสินใจ ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์สาหรับการตัดสนิใจ Y N X 15 จากสัญลักษณ์การตัดสนิใจขัน้ตอนการทางาน คือ พิจารณาค่าของ X ถา้ค่าของ X ขณะนั้นมีค่ามากกว่า 15 ขัน้ตอนการทางานทตี่อ้งการทาในลาดับ ถัดไป คือ การทางานในทิศทางทมีี่ตัวอักษร “Y” กากับ ถา้ค่าของ X ขณะนั้นไม่ มากกว่า 15 คือ นอ้ยกว่าหรือเท่ากับ 15 ขัน้ตอนการทางานทตี่อ้งทาเป็นลาดับ ถัดไป คือ การทางานในทิศทางทมีี่ตัวอักษร “N” กากับ
  • 12. 1.10 การแสดงทศิทางการทา งานของผงังาน การแสดงทิศทางของขัน้ตอนการทางานของผังงาน ใชลู้กศรสาหรับ การบอกทิศทางของขัน้ตอนการทางาน การใชลู้กศรแสดงทิศทางของขัน้ตอน การทางานนิยมเขียนจากดา้นบนลงดา้นล่างหรือจากดา้นซา้ยไปดา้นขวา ลกูศร ที่ชี้เขา้สู่สัญลักษณ์ของผังงานนิยมเขียนลูกศรชี้เขา้ดา้นบนของสัญลักษณ์ และ ลูกศรที่ชี้ออกจากสัญลักษณ์ของผังงานนิยมเขียนลูกศรชี้ออกทางดา้นล่างของ สัญลักษณ์ สัญลักษณ์การแสดงทิศทางการทางานของผังงาน การเขียนเสน้ของลูกศรแสดงทิศทางการไหลของผังงานไม่นิยมเขียน เสน้ตัดกัน ถา้มีขัน้ตอนการทางานที่ตอ้งเขียนเสน้ตัดกัน ตอ้งพยายามเลยี่งโดย การปรับรูปของโครงสรา้งผังงานใหม่หรือใชเ้ครื่องหมายจุดต่อช่วยในการเขียน ผังงาน
  • 13. ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์สาหรับแสดงทิศทางการทางานของผังงาน Read A,B X = A + B ลาดับขัน้ตอนการทางานของผังงาน คือ ขัน้ตอนแรก ทาการรับค่า ขอ้มูลเขา้มาเก็บไวใ้นตัวแปร A และ B จากนั้นทาขัน้ตอนของการคานวณค่า ของ A บวกดว้ยค่าของ B จากนั้นนาผลทไี่ดไ้ปเก็บไวใ้นตัวแปร X
  • 14. 1.11 จุดต่อภายในหน้าเดยีวกนั สัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน ใชส้าหรับเชื่อมการทางานของ ผังงานที่อยู่ในหนา้เดียวกัน สัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกันใช้ สัญลักษณ์ของวงกลม ภายในวงกลมระบุหมายเลขของจุดที่ตอ้งการต่อเชื่อม ถึงกัน จุดต่อแต่ละจุดตอ้งมีคู่ที่ตอ้งการเชื่อมถึงกันเสมอ การใชสั้ญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน ใชใ้นกรณีที่เสน้สาหรับแสดงทิศ ทางการทางานของผังงานมีความยาวมาก หรือมีจุดตัดของเสน้ที่ใชแ้สดงทิศ ทางการทางานเกดิขนึ้ เพื่อลดความซับซอ้นของเสน้ที่ใชแ้สดงขัน้ตอนการ ทางานของผังงาน ทาใหส้ามารถเห็นลาดับขัน้ตอนการทางานไดอ้ย่างไม่ สับสน สัญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน
  • 15. ตวัอย่าง การใชสั้ญลักษณ์จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน 1 1 แสดงเครอื่งหมายจุดต่อภายในหนา้เดียวกันหมายเลข 1 โดยทตีั่ง้ 2 จุดตอ้งอยหู่นา้เดียวกัน การทางานของผังงานเสมือนว่าสองจุดนี้คือจุด เดียวกัน และเชื่อมต่อถึงกัน
  • 16. 1.12 จุดต่อระหว่างหน้า สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ของผังงานใชสั้ญลักษณ์รูปหา้เหลยี่ม สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ใชส้าหรับเชื่อมการทางานของผังงานทอี่ยตู่่าง หนา้กัน ภายในสัญลักษณ์ระบุหมายเลขของจุดที่ตอ้งการต่อเชื่อมถงึกัน จุด ต่อแต่ละจุดตอ้งคู่ที่ตอ้งการเชื่อมถึงกันเสมอ การใชง้านของสัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ มีการใชง้านเหมือนกับ จุดต่อภายในหนา้เดียวกัน ต่างกันเพียงใชส้าหรับเชื่อมต่อจุดที่อยตู่่างหนา้กัน สัญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ ตวัอย่างที่1.9การใชสั้ญลักษณ์จุดต่อระหว่างหนา้ 1 1 แสดงเครอื่งหมายจุดต่อระหว่างหนา้หมายเลข 1 โดยทที่งั้ 2 จุดตอ้งอยตู่่าง หนา้กันการทางานของผังงานเสมือนว่าสองจุดนี้คือจุดเดียวกัน และเชื่อมตอ่ถึงกัน
  • 17. ลกัษณะการเขยีนผงังาน ลักษณะของผังงานทดีี่ ควรมีลักษณะดังนไี้ปนี้ 1. ทุกผังงานตอ้งมีจุดเริ่มตน้และจุดสนิ้สุดเพียงอย่างละหนงึ่แห่ง เท่านั้น 2. ทุกสัญลักษณ์ของผังงานตอ้งมีลูกศรชี้ทิศทางเขา้ และลูกศร ชี้ทิศทางออกอย่างละหนึ่งลูกศรยกเวน้สัญลักษณ์จุดเริ่มตน้ สัญลกัษณ์ จุดสนิ้สุด สัญลักษณ์การตัดสนิใจ และสัญลักษณ์จุดต่อ 3. สัญลักษณ์จุดเริ่มตน้มีเฉพาะลูกศรชี้ทิศทางออก สัญลักษณ์ จุดสนิ้สุดมีเฉพาะลูกศรชี้ทิศทางเขา้ 4. สัญลักษณ์การตัดสนิใจมีลูกศรชี้ทิศทางเขา้ 1 ทิศทาง มี ลูกศรชี้ทิศทางออก 2 ทิศทาง คือ กรณีที่ผลที่ไดจ้ากการตัดสนิใจเป็นจริง และกรณีที่ผลที่ไดจ้ากการตัดสนิใจเป็นเท็จ
  • 18. ลกัษณะการเขยีนผงังาน 5. ทิศทางของลาดับขัน้ตอนการทางาน นิยมเขียนจากบนลง ล่างหรือจากซา้ยไปขวา 6. เสน้ของลูกศรที่ใชบ้อกทิศทางของลาดับขัน้ตอนวิธีการ ทางาน ไม่ควรเขียนตัดกันหรือทับกัน 7. ไม่ควรเขียนเสน้ของลูกศรเพื่อทาการเชื่อมโยงลาดับ ขัน้ตอนที่อยู่ห่างกันมากหากจาเป็นควรใชสั้ญลักษณ์จุดต่อแทน 8. การเขียนผังงานในส่วนของการกาหนดค่าหรือคานวณค่า นิยมใชเ้ครื่องหมายลูกศรแทนการใชเ้ครื่องหมายเท่ากับ เช่น , ส่วน เครื่องหมายเท่ากับนิยมใชส้าหรับการเปรียบเทียบค่า