SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
Télécharger pour lire hors ligne
บทนา
                 การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมากเพราะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มี
ความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคลเป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและ
ส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กาหนดยุทธศาส ตร์ ๒๕๕๕ ภายใต้กรอบเวลา
๒ ปีที่จะพัฒนา ๕ ศักยภาพของพื้นที่ใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ให้สามารถแข่งขั นได้ใน ๕ ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา
เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ ในเวทีโลก ” และได้กาหนดภารกิจว่าจะพัฒนายกระดับและจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และ
ขีดความสามารถให้ ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่งคั่ง และมั่นคงเพื่อเป็นบุคลากรที่มีวินัยเปี่ยมไปด้วย
คุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม โดยคานึงถึงศักยภาพและบริบทรอบๆ ตัว
ผู้เรียน พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้และกระบวนการเรียนการสอนให้             ทัดเทียมอารยะประเทศ ด้วยการบริหาร
จัดการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ มุ่งเป้าหมายของการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและยกระดับศักยภาพในการ
ทางานให้บุคคลากรไทยให้แข่งขันได้ ในระดับสากลภายใต้ศักยภาพ ๕ ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติใน
แต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ ศักยภาพ
ของศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่

                 สานักงาน กศน .จังหวัดสมุทรปราการ จึงได้นานโยบาย และยุทธศาสตร์ดังกล่าวสู่การปฏิบัติ เพื่อจัด
การศึกษาพัฒนาอาชีพให้กลุ่มเป้าหมายและประชาชน มีรายได้และมีงานทาอย่างยั่งยืน มีความสามารถในเชิงการ
แข่งขัน โดยการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาเภอ ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวจะทาให้การจัดการศึกษาของสานักงาน
กศน.จังหวัดสมุทรปราการ เป็นการจัดการศึก ษาตลอดชีวิ ตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชนในชุมชน
และเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตอย่างแท้จริง




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                                     หน้า 1
วัตถุประสงค์

                ๑. เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ        ให้แก่ประชาชนที่ไม่มีอาชีพให้มี
ทักษะอาชีพ มีงานทา มีรายได้
                ๒. เพื่อส่งเสริมและสนั บสนุน การพัฒนาอาชีพเดิมของประชาชนให้มีความมั่นคงยั่งยืน และมีรายได้
สูงขึ้น
                ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีทักษะของการเป็นผู้ประกอบการ จากการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติงานจริง
                ๔. เพื่อส่งเสริมการนาความรู้และประสบการณ์ในการเรียนรู้อาชีพไปใช้เทียบระดับการศึกษา           และ
เทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตร กศน.ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

เป้าหมาย

                ประชาชนคนไทยจานวน ๑,๔๘๑,๘๐๐ ล้านคน ที่เข้ารั บการเรียนรู้มีทักษะอาชีพ มีงานทา มีรายได้
และสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย
                ๑. ประชาชนผู้ว่างงานและต้องการเข้าสู่อาชีพใหม่
                ๒. ประชาชนที่มีอาชีพอยู่แล้ว แต่ต้องการพัฒนาอาชีพเดิมให้ดีขึ้น เช่นกลุ่ม OTOP
กลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้จริงไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐

โดยจังหวัดสมุทรปราการมีเป้าหมาย ดังนี้
                ๑. กศน.อาเภอเมือง                จานวน ๒,๒๙๘ คน
                ๒. กศน.อาเภอพระประแดง            จานวน ๑,๓๐๐ คน
                ๓. กศน.อาเภอพระสมุทรเจดีย์ จานวน ๖๒๐ คน
                ๔. กศน.อาเภอบางพลี               จานวน ๙๑๒ คน
                ๕. กศน.อาเภอบางบ่อ               จานวน      ๗๒๐ คน
                ๖. กศน.อาเภอบางเสาธง             จานวน      ๒๗๐ คน




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                                    หน้า 2
โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
๑.หลักการดาเนินงาน
                ในการจัดดาเนินโครงการ ฝึกทักษะอาชีพและการให้ความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพเพื่อให้ผู้เรียน
สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้จริง มีรายได้ และพัฒนาอาชีพเดิมนั้น สถานศึกษา กศน . ผู้จัดทั้งระดับอาเภอ
และ กศน.ตาบล ควรดาเนินการตามหลักการดังนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว
                ๑.๑ เป็นการจัดการศึกษาเพื่อให้ มีทักษะอาชีพ มีรายได้และมีงานทา
                ๑.๒ บูรณาการและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
                ๑.๓ หลักสูตรมี ๒ ประเภท โดยยึดหลักการ ๕ กลุ่มอาชีพ กลุ่มหลักสูตรใหม่ด้านเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด สร้างสรรค์และด้านอานวยการและอาชีพเฉพาะทาง และศักยภาพของพื้นที่ตาม
ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และทาเลที่ตั้ง ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี             และวิถีชีวิตและทรัพยากรมนุษย์ ในแต่ละ
พื้นที่ คือ
                         ๑.๓.๑ หลักสูตรที่กาหนดไว้ ตามสภาพปัญหาของพื้นที่
                         ๑.๓.๒ หลักสูตรความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของพื้นที่
                ๑.๔ ใช้ชุมชนเป็นฐานในการดาเนินงาน เช่น สภาพปัญหากลุ่มเป้าหมายเนื้อหา             หลักสูตรเป็นต้น

๒. การจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
                ให้มีการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ดังนี้
                         ๒.๑ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด
                         ๒.๒ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาเภอ ( อย่างน้อยอาเภอละ ๒ แห่ง )
                         ๒.๓ ภารกิจของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน มีหน้าที่ดังนี้
                                  ๒.๓.๑ ประชาสัมพันธ์และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของผู้เรียน
                                  ๒.๓.๒ เป็นศูนย์กลางในการประสานการจาหน่ายระหว่างผู้เรียนกับผู้ซื้อ
                                  ๒.๓.๓ เป็นศูนย์กลางจัดสอนอาชีพฝึกการปฏิบัติงาน
                                  ๒.๓.๔ เป็นศูนย์กลางจัดเก็บ แสดง กระจายสินค้าและบริการ ของชุมชน
อย่างเป็นระบบ




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                                    หน้า 3
๓. แต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ในระดับต่างๆ ดังนี้
                ๓.๑ คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ
                ๓.๒ คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จังหวัด
                ๓.๓ คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน อาเภอ
                ๓.๔ คณะกรรมการกลั่นกรองแผนงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สานักงาน กศน.จังหวัด

        ๓.๑ คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วยคณะบุคคลดังนี้
                        ๑. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ         ประธานกรรมการ
                        ๒. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ     รองประธานกรรมการ
                        ๓. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ     รองประธานกรรมการ
                        ๔. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ                   กรรมการ
                        ๕. เลขาธิการสภาการศึกษา                    กรรมการ
                        ๖. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐาน กรรมการ
                        ๗. เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา         กรรมการ
                        ๘. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา        กรรมการ
                        ๙. หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ   กรรมการ
                        ๑๐. ผู้อานวยการสานักบริหารงานคณะกรรมการ กรรมการ
                            ส่งเสริมการศึกษาเอกชน
                        ๑๑. เลขาธิการสานักงานส่งเสริมการศึกษา      กรรมการและเลขานุการ
                            นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
                        ๑๒. ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมปฏิบัติการ     กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
                           สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
                            และการศึกษาตามอัธยาศัย




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                          หน้า 4
มีอานาจหน้าที่
                 ๑. กาหนดนโยบ ายและแนวทางการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา               และมีรายได้ของ
กระทรวงศึกษาธิการให้บรรลุผลตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ
                 ๒. ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ กากับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตาม               นโยบาย และ
ยุทธศาสตร์ของกระทรวง
                 ๓. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่มอบหมาย

        ๓.๒. คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัดสมุทรปราการประกอบด้วยคณะบุคคลดังนี้

                        ๑. ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ                         ประธานกรรมการ
                        ๒. ผู้อานวยการศูนย์อุดมศึกษา                                  กรรมการ
                            มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรีสมุทรปราการ
                        ๓. ผู้อานวยการสานักบริหารยุทธศาสตร์                           กรรมการ
                            และบูรณาการศึกษาที่ ๕
                        ๔. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา                      กรรมการ
                            ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑
                        ๕. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา                      กรรมการ
                            ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๒
                        ๖. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา                      กรรมการ
                            มัธยมศึกษา เขต ๖
                        ๗. นายกสมาคมการศึกษาเอกชนจังหวัดสมุทรปราการ                   กรรมการ
                        ๘. ผู้แทนโรงเรียนเทศบาล ๑ ( เทศบาลนครสมุทรปราการ )            กรรมการ
                        ๙. ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ                 กรรมการ
                                                                                      และเลขานุการ
                        ๑๐. รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ             ผู้ช่วยเลขานุการ




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                              หน้า 5
มีอานาจหน้าที่
                 ๑. อานวยการและควบคุมดูแลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนใน
ระดับจังหวัด
                 ๒. วิเคราะห์ บูรณาการ และจัดทาแผนการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาของจังหวัด
                 ๓. กากับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผน การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมี
งานทาของจังหวัด
                 ๔. ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะในการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาในจังหวัด
                 ๕. สนับสนุน การดาเนินงานตามแนวทางการจัดการศึกษาอาชีพของคณะกรรมการศูนย์ ฝึกอาชีพ
ชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ
                 ๖. ส่งเสริม และประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาของจังหวัด
                 ๗. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่มอบหมาย
                 ๘. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ

        ๓.๓. คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาเภอ
                 ประกอบด้วยคณะบุคคลที่สถานศึกษา พิจารณา ที่มีคุณสมบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณะ กรรมการ
แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนโดยให้ ผอ .กศน.อาเภอ เป็นผู้ลงนามแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพ
ชุมชน และให้ส่งคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการชุดดังกล่าวมายัง สานักงาน กศน. จังหวัด จานวน ๑ ชุด




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                               หน้า 6
๔. คณะกรรมการกลั่นกรองแผนงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สานักงาน กศน.จังหวัด ประกอบด้วยบุคคลดังนี้

        ๑. นายนิธิพงศ์     ดวงมุสิก        ผู้อานวยการ สานักงาน                       ประธานกรรมการ
                                           สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ
        ๒. นายเขษมศักดิ์ แก้วประเสริฐ      ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมือง                 กรรมการ
        ๓. นายสัมฤทธิ์    ศักดิ์ตระกูลกล้า ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพระประแดง             กรรมการ
        ๔. นายสมถวิล      คาทอง            ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางเสาธง              กรรมการ
        ๕. นายสิทธิศักดิ์ สุคนธวงศ์        ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางพลี                กรรมการ
        ๖. นางสาวสุภสิตา บัวเลี้ยง         ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางบ่อ                กรรมการ
        ๗. นายเกรียงไกร ซิ้มเจริญ          ผู้อานวยการ กศน.                           กรรมการ
                                           อาเภอพระสมุทรเจดีย์
        ๘. นายอัครกิตติ์ ไชยธนกุลวัฒน์     คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์                     กรรมการ
                                           มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี สมุทรปราการ
        ๙. นายนรินทร์     วิไลรัตน์        หัวหน้าแผนกวิชาการก่อสร้าง                 กรรมการ
                                           วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ
        ๑๐. นายอัครวัฒน์ มั่นปิยะพง์       กรรมการผู้จัดการ                           กรรมการ
                                           บริษัทรัตนาบดีแลนด์ จากัด
        ๑๑. นางโสภาวรรณ อัมพันศิริรัตน์    รองผู้อานวยการ                             กรรมการ
                                           สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ            และเลขนุการ
        ๑๒. นายชรินทร์     รู้อ่าน         นักวิชาการศึกษา                            กรรมการ
                                                                                      และผู้ช่วยเลขานุการ
อานาจหน้าที่
                ๑. ขับเคลื่อนการดาเนินงานตามนโยบายของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด
                ๒. เห็นชอบและอนุมัติแผนงานโครงการของสถานศึกษา กศน. และนาเสนอคณะกรรมการจังหวัด
                ๓. สนับสนุนทรัพยากรเพื่อจัดกิจกรรม
                ๔. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล
                ๕. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกลั่นกรองแผนงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
สานักงาน กศน.จังหวัดมอบหมาย

สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                             หน้า 7
บทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง “โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน”


                                                                                       ผู้เกี่ยวข้อง
                      บทบาทหน้าที่
                                                                     กศน.จังหวัด กศน.อาเภอ ครู อาสา      ครู กศน.ตาบล

๑. นานโยบายสู่การปฏิบัติโดยกาหนดเป็นนโยบายจังหวัดที่ชัดเจน             √           -              -         -
๒. ศึกษาแนวคิด กรอบการทางาน วิธีการและยุทธศาสตร์ให้ชัดเจน              √           √              √         √
๓. ประชุมชี้แจงมอบหมายภารกิจให้ กศน.อาเภอทุกอาเภอ                      √           √              -         -
๔. จัดทาแนวทาง คู่มือการดาเนินงาน                                      √           -              -         -
๕. วางระบบการนิเทศ ติดตาม และรายงานผล                                  √           √              -         -
๖. ประสานเครือข่าย แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการ     √           √              √         √
ดาเนินกิจกรรม
๗. นิเทศ ติดตาม ร่วมกับสถานศึกษาเพื่อให้กาลังใจและร่วมแก้ไขปัญหา       √           √              √             -
๘. นานโยบายมาสู่การปฏิบัติโดยดาเนินการ ตามคู่มือการดาเนินงาน            -          √               -            √
โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนการจัดการศึกษาอ าชีพเพื่อการมีงานทาของ
สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ ลงสู่ กศน.ตาบล
๙. ประชุมชี้แจงมอบหมายภารกิจให้บุคลกรในสังกัด กศน.อาเภอ                 -          √               -            -
๑๐. จัดหาแหล่งวิทยากรและประสานภาคีเครือข่าย แหล่งเรียนรู้               -          √               √            √
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการดาเนินกิจกรรม
๑๑. ดาเนินการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาตามแผนที่กาหนด              -          √               -            √
๑๒. สนับสนุนการเรียนการสอนร่วมกับครู กศน.ตาบล                           -          √               √            √
๑๓. ศึกษาสภาพความต้องการของประชาชน เสนอโครงการหลักสูตร                  -          -               -            √
และวางแผนการเรียนการสอน
๑๔ .ประชาสัมพันธ์โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนในระดับจังหวัด                √          √               √            √
อาเภอ ตาบล
๑๕. ส่งเสริมการตลาดและจัดจาหน่าย                                        √          √               -            -
๑๖. สรุป ประเมินโครงการ และเผยแพร่ ทุกระดับ                             √          √               -            √




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                                        หน้า 8
การดาเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
                                    เพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทาของสถานศึกษา


                    การดาเนินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน มีกระบวนการและองค์ประกอบของการดาเนินการดังนี้
ขั้นที่ ๑
                    สารวจความต้องการและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย ( กศน.อาเภอ / กศน.ตาบล ) คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
โดยกระบวนการต่างๆ ดังนี้
                    ๑. การทาเวทีประชาคม
                    ๒. ข้อมูลการสารวจของหน่วยงานต่างๆ ในระดับพื้นที่
                    ๓. ครู กศน.ตาบล และครู ศรช. สารวจข้อมูลความต้องการในกิจกรรมการเรียนรู้ และเนื้อหา
หลักสูตร จากประชาชนโดยตรง
                    ๔. ประชาชนที่ต้องการเรียนรู้ฝึกทักษะอาชีพ มาแจ้งความต้องการของตน ณ กศน.อาเภอ
และ กศน.ตาบล

            กลุ่มเป้าหมาย มีคุณสมบัติดังนี้
                    ๑. ประชาชนผู้ว่างงาน ไม่มีอาชีพ ให้มีอาชีพ
                    ๒. ผู้ที่มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพเดิม หรือต้องการเป็นอาชีพเสริม เช่น กลุ่มผู้ประกอบการ
ทั่วไป, SME, OTOP

ขั้นที่ ๒
            จัดทาโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
                    ๑. จัดทาโครงการ แผนงาน หลักสูตร ( กศน.อาเภอ และกศน.ตาบล )




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                                    หน้า 9
คุณสมบัติของโครงการ แผนงาน และหลักสูตร

                โครงการและแผนงาน
                        ๑. มีความชัดเจน ละเอียด เมื่ออ่านแล้วสามารถทราบว่าโครงการดาเนินการด้วยกิจกรรมใน
ลักษณะใด ช่วงเวลาใด ( ควรระบุวันที่จัดกิจกรรม หากสามารถระบุได้ )
                        ๒. แจกแจงรายละเอียดของค่าใช้จ่ายในโครงการ
                        ๓. การเขียนหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กิจกรรม และผลที่คาดว่าจะได้รับ จานวน
กลุ่มเป้าหมาย มีความสอดคล้องกัน

                การเสนอโครงการ
                        ๑. ผู้เสนอโครงการ      ได้แก่ ครู กศน.ตาบล หรือครู ศรช.
                        ๒. ผู้เห็นชอบโครงการ ได้แก่ ผอ.กศน.อาเภอ
                        ๓. ผู้อนุมัติโครงการ   ได้แก่ ผอ.สานักงาน กศน.จังหวัด
                        ทั้งนี้ขอให้สถานศึกษาลงนามให้ครบถ้วนก่อนเสนอโครงการถึง สานักงาน กศน.จังหวัด


หลักการพิจารณาอนุมัติโครงการ
                ๑. เมื่อกลุ่มเป้าหมายเรียนจบหลักสูตร แล้วต้องมีอาชีพได้จริง เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
                ๒. ค่าใช้จ่ายมีความเหมาะสมในแต่ละโครงการและหลักสูตรในแต่ละพื้นที่
ขั้นที่ ๓
                กศน.อาเภอ และ กศน .ตาบล ดาเนินการโครงการและกิจกรร มตามที่ได้รับอนุมัติ พร้อมทั้งประเมิน
โครงการทุกโครงการโดยจัดทาเป็นเอกสาร
ขั้นที่ ๔
                กศน.อาเภอ และกศน.ตาบล รายงานผลการดาเนินงาน ตามแผนการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ที่ทางสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ ส่งให้ทุก กศน.อาเภอ (ตัวอย่างแผนอยู่ในภาคผนวก)




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                              หน้า 10
การนิเทศ
          การนิเทศโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ มี ๒ ระดับคือ
                 ๑. ระดับจังหวัด แต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยนิเทศร่วมกับ คณะกรรมการนิเทศ
ภายในสถานศึกษา ของแต่ละ กศน.อาเภอ และลงพื้นที่นิเทศการฝึกอบรมให้ความรู้
                 ๒. ระดับอาเภอ นิเทศโดยคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา
                  ให้ผู้นิเทศภายในสถานศึกษาทุกแห่ง นิเทศกิจกรรมดังกล่าวให้เป็นไปตามโครงการและแนวทางที่
กาหนด โดยให้ส่งแผนกา รนิเทศทุกวันที่ ๑ ของเดือน เพื่อเป็นการประสานแผนการนิเทศร่วมกับคณะกรรมการนิเทศ
ระดับจังหวัด
                 หลักสูตรที่ใช้ ในการจัดฝึกอบรม ให้กับกลุ่มเป้าหมายนั้น ต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการศูนย์
ฝึกอาชีพชุมชน คือเมื่อผู้เรียนเรียนจบหลักสูตรแล้ว ต้องมีทักษะความรู้ในวิชาชีพนั้นๆ จนกระทั่งสามารถนาความรู้ไป
ประกอบอาชีพได้จริง มีรายได้ หรือพัฒนาอาชีพเดิมที่ทาอยู่ให้ดีขึ้น

หลักสูตรการอบรม
          ๑. แหล่งหลักสูตร
                         ๑.๑ หลักสูตรที่สานักงาน กศน.จัดทาขึ้น โดยรวบรวมและเรียบเรียงใหม่จากหลักสูตร กศน .
อาเภอ จัดทาขึ้น จานวนมากกว่า ๘๐ หลักสูตร
                                  ๑.๑.๑ ดาวโหลดได้ที่ www.nfe.go.th/0405
                                  ๑.๑.๒ เอกสาร “หลักสูตรการจั ดการศึกษาอาชีพเพื่อมีงานทา ” ชุดที่ ๑ และ ๒
ของสานักงาน กศน.
                                  ๑.๑.๓ หลักสูตร OTOP Mini MBA ของสานักงาน กศน.
                         ( ข้อ ๑.๑.๒ และ ๑.๑.๓ ตามที่สถานศึกษาทุกแห่งได้รับมอบจาก สานักงาน กศน. )


                         ๑.๒ หลักสูตรที่สถานศึกษาสร้างขึ้นเองตามความต้องการของกลุ่มเป้าห           มายโดยต้อง
คานึงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนและเมื่อเรียนจบหลักสูตรแล้ว สามารถมีงานทาและสร้างอาชีพ
ได้จริง
                                  ๑.๒.๑ หลักสูตรที่ใช้ในการฝึกอาชีพ ควรคานึงถึงความเหมาะสมของโครงสร้าง
หลักสูตร จานวนชั่วโมง ดังนี้


สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                                 หน้า 11
โครงสร้างหลักสูตร สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ดังนี้
        มาตรฐานการเรียนรู้
                ช่องทางการประกอบอาชีพ
                มาตรฐานที่ ๑.๑ วิเคราะห์ศักยภาพของข้อมูลตนเอง ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมและขอบข่ายงาน
อาชีพต่างๆ
                มาตรฐานที่ ๑.๒ มองเห็นช่องทาง และตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการคิดเป็นจาก
ข้อมูลที่เป็นจริง และมีความเป็นไปได้ตามศักยภาพ
                ทักษะการประกอบอาชีพ
                มาตรฐานที่ ๒.๑ มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในอาชีพที่ตัดสินใจเลือก
                มาตรฐานที่ ๒.๒ สามารถจัดหาและคัดเลือกปัจจัยการผลิตได้อย่างเหมาะสมและคุ้มค่า ตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
                การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ
                มาตรฐานที่ ๓.๑ สามารถบริหารจัดการในอาชีพที่ตัดสินใจเลือกได้อย่างมีคุณภาพ
                มาตรฐานที่ ๓.๒ สามารถจัดการกับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับการประกอบอาชีพ

                โครงการประกอบอาชีพ
                มาตรฐานที่ ๔.๑ มีโครงการประกอบอาชีพสาหรับใช้เป็นแนวทางในการนาสู่การปฏิบัติ
                มาตรฐานที่ ๔.๒ มีการตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงการเพื่อการประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง

การจัดการเรียนรู้
        ๑. ช่องทางการประกอบอาชีพ
                ๑.๑ ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สถานประกอบการ สื่อของจริง สื่อบุคคลในชุมชน
ประเทศและโลก เพื่อนาข้อมูลมาคิด วิเคราะห์และใช้ในการประกอบอาชีพที่มีความเป็นไปได้ ในชุมชน
                ๑.๒ วิเคราะห์อาชีพที่คิดว่าจะสามารถเลือกประกอบอาชีพได้ในชุมชน
                ๑.๓ ศึกษาดูงานในสถานประกอบการ แหล่งเรียนรู้ต่างๆในอาชีพที่ตัดสินใจเลือก
                ๑.๔ ตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพโดยใช้กระบวนการคิดเป็นและมีความเป็        นไปได้ตามศักยภาพ
๕ ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศและทาเลที่ตั้ง ศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณีและวิถีชีวิต และทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่


สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                             หน้า 12
๒. การฝึกทักษะชีวิต
                ๒.๑ ศึกษาเรียนรู้ขอบข่ายการประกอบอาชีพที่ตัดสินใจเลือก
                ๒.๒ จัดหาแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพที่เลือก
                ๒.๓ จัดทาแผนการฝึกทักษะตามหลักสูตร
                ๒.๔ ดาเนินการเรียนรู้และฝึกทักษะตามหลักสูตร
                ๒.๕ จดบันทึกผลการเรียนรู้
                ๒.๖ ดาเนินการวัดผลและประเมินผลตามที่หลักสูตรกาหนด

        ๓. การบริหารจัดการในอาชีพ
                ๓.๑ การบริหารจัดการผลิต
                        ๑. สารวจและศึกษาแหล่งวัสดุ อุปกรณ์ และการใช้ประโยชน์ของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
และทุนต่างๆ
                        ๒. การกาหนดและการควบคุมคุณภาพผลผลิตที่ต้องการ
                        ๓. ศึกษาการลดต้นทุนการผลิต แต่คุณภาพคงเดิม
                        ๔. ศึกษาวิเคราะห์ ปัจจัยความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและมีแนวทางในการจัดการความเสี่ยง

                ๓.๒ การบริหารจัดการตลาด
                        ๑. ศึกษาข้อมูลการตลาด และวิเคราะห์ความต้องการของตลาดในชุมชน ประเทศและโลก
                        ๒. กาหนดทิศทาง เป้าหมาย กลยุทธ์ และแผนการาจัดการตลาด
                        ๓. ดาเนินการตามกระบวนการจัดการตลาด เช่น การคิดต้นทุนการผลิต การกาหนด
ราคาขาย การส่งเสริมการขาย การกระจายสินค้า




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                               หน้า 13
จานวนชั่วโมงของหลักสูตร

                  สาหรับจานวนชั่วโมงของหลักสูตร ควรกาหนดให้ไม่น้อยกว่า ๔๐ ชั่วโมงขึ้นไป เพื่อให้สอดคล้องกับ
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ( พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๘ ) ของ สมศ.ดังนี้
                             ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้สาเร็จการศึกษาต่อเนื่องตามหลักสูตร/โครงการ
                             ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๓ ผู้สาเร็จการศึกษาต่อเนื่องที่นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
                  ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อประกันคุณภาพภายในของ
กศน. อาเภอ / เขต ( ทีพัฒนาขึ้นใหม่ )
                     ่
                             ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง
                             ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้เรียนมีงานทาหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางาน
ร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ( หลักสูตรที่จะนามาประเมินเป็นหลักสูตร เฉพาะที่มีระยะเวลาเรียน
ตั้งแต่ ๔๐ ชั่วโมง ขึ้นไป)
                  หากหลักสูตรใดมีจานวนชั่วโมงไม่ถึง ๔๐ ชั่วโมง และสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นไปตาม
ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สถานศึกษาสามารถกระทาได้
แต่ไม่สามารถนามาประเมินให้ผ่านตามตัวบ่งชี้ข้างต้นได้
                  ทั้งนี้การกาหนดจานวนชั่วโมง ของหลักสูตรให้พิจารณาถึงความเหมาะสมของเนื้อหา ค่าตอบแทน
วิทยากร ค่าวัสดุฝึก รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นที่จะเกิดขึ้นโดยพิจารณาถึงความจาเป็น เหมาะสมประหยัด

จานวนกลุ่มเป้าหมาย

                  ในแต่ละหลักสูตร กลุ่มเป้าหมายควรอยู่ระหว่าง ๑๕ –๒๐ คนขึ้นไป ตามนโยบายของสานักงาน กศน.

การประเมินความสาเร็จ

                  ๑. ผู้เข้ารับการอบรมเมื่อเรียนจบหลักสูตร แล้วมีทักษะความรู้ในการประกอบอาชีพ
                  ๒. สามารถนความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพได้จริงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ของผู้เข้ารับการอบรมแต่
ละหลักสูตร โดยครู กศน.ตาบล และ กศน.อาเภอ มีระบบการติดตามและรายงานผลความสาเร็จ




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                                     หน้า 14
จบหลักสูตร
  -                 กศน. อาเภอ ออกหลักฐานการจบหลักสูตร
  -                 ผู้อานวยการสถานศึกษา เป็นผู้ลงนาม


การเทียบโอนผลการเรียน

                   ๑. ผู้เรียนที่มี ความรู้ประสบการณ์ เกี่ยวกับการประกอบอาชีพแล้วสามาร ถนามาใช้เทียบโอนผลการ
เรียนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้
                   ๒. การคิดหน่วยกิต ๔๐ ชั่วโมง เท่ากับ ๑ หน่วยกิต และสามารถนาจานวนชั่วโมงของหลายหลักสูตร
ในวิชาชีพนั้นมารวมกันได้

เกณฑ์การเบิกจ่าย

                   ให้สถานศึกษาบริหารจัดการให้โครงการศูนย์          ฝึกอาชีพชุมชน ของแต่ละอาเภอเป็นไปตาม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของผู้รับบริการ ตามที่กาหนดรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณโครงการศูนย์ ฝึกอาชีพ
ชุมชน ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ และเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามเกณฑ์การจ่าย


      รายการค่าใช้จ่าย                          เกณฑ์                                    รายละเอียด
ค่าตอบแทนวิทยากร              - ไม่เกิน ๒๐๐ บาท / ชม.
                              - ผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินครั้งละ ๓ ชม. ในอัตรา
                                ครั้งละไม่เกิน ๑,๕๐๐ บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์               ไม่เกิน ๒,๐๐๐ บาท / คน                        ตามความเหมาะสมกับโครงการ จ่ายจริง
                                                                            ตามความจาเป็น เหมาะสมประหยัด
ค่าศึกษาดูงาน                 คนละ ๑๒๐ บาท / วัน                            ไม่เกิน ๔ วันรวมเดินทางไปกลับ
- ค่าเบี้ยเลี้ยง
- ค่าพาหนะ                    เบิกจ่ายตามจริง
- ค่าที่พัก                   ไม่เกิน ๕๐๐ บาท




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                                   หน้า 15
ค่าใช้จ่ายของผู้เรียน

-         เรียนฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร           หน้า 16
คณะผู้จัดทา

ที่ปรึกษา
        นายนิธิพงศ์               ดวงมุสิก                 ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ
        นางโสภาวรรณ               อัมพันศิริรัตน์          รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ
        นางรัตนา                  แก่นสารี                 ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ

ผู้รวบรวม เรียบเรียง
        นายชรินทร์                รู้อ่าน                  นักวิชาการศึกษา

บรรณาธิการ
        นางรัตนา                  แก่นสารี                 ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ

พิมพ์ / ออกแบบปก
        นายชรินทร์                รู้อ่าน                  นักวิชาการศึกษา




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                              หน้า 17
ภาคผนวก
   - คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๘๓/๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัดสมุทรปราการ
   - รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทาของ สานักงาน กศน.
   - แบบรายงานการดาเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอ
   - แบบรายงานการนิเทศโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอ




สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร                                                         หน้า 18
สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร   หน้า 19

Contenu connexe

Tendances

ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
Thidarat Termphon
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
juckit009
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
พัน พัน
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
charinruarn
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
Thidarat Termphon
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
Thidarat Termphon
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
Thidarat Termphon
 
โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5
Alzheimer Katty
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
Thidarat Termphon
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
iceskywalker
 
รูปแบบการเขียนโครงงาน
รูปแบบการเขียนโครงงานรูปแบบการเขียนโครงงาน
รูปแบบการเขียนโครงงาน
jekuya
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
suchinmam
 

Tendances (20)

ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 
ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 2 พว22003
ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 2 พว22003ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 2 พว22003
ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 2 พว22003
 
Dự án đầu tư nhà máy sản xuất lắp ráp các loại máy
Dự án đầu tư nhà máy sản xuất lắp ráp các loại máyDự án đầu tư nhà máy sản xuất lắp ráp các loại máy
Dự án đầu tư nhà máy sản xuất lắp ráp các loại máy
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5โครงงาน มะยม ม.5/5
โครงงาน มะยม ม.5/5
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
 
รูปแบบการเขียนโครงงาน
รูปแบบการเขียนโครงงานรูปแบบการเขียนโครงงาน
รูปแบบการเขียนโครงงาน
 
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันIsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
ศิลปะ ม.ต้น กศน.
ศิลปะ ม.ต้น กศน.ศิลปะ ม.ต้น กศน.
ศิลปะ ม.ต้น กศน.
 

En vedette

การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
Nattapon
 
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
nang_phy29
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
Sirilag Maknaka
 

En vedette (8)

ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
 
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (ครูสอนดีอุดรธานี)
 
โครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้นโครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้น
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 

Similaire à คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003

คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
Montree Jareeyanuwat
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
Nattapon
 
กศน ตำบล
กศน  ตำบลกศน  ตำบล
กศน ตำบล
kruteerapol
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
Nattapon
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นรินทร์ แสนแก้ว
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
Nattapon
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
chanhom357
 

Similaire à คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003 (20)

คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
 
กศน ตำบล
กศน  ตำบลกศน  ตำบล
กศน ตำบล
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
จุดเน้นที่ 2
จุดเน้นที่ 2จุดเน้นที่ 2
จุดเน้นที่ 2
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
Smart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hSmart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-h
 

คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003

  • 1. บทนา การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมากเพราะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มี ความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคลเป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและ ส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กาหนดยุทธศาส ตร์ ๒๕๕๕ ภายใต้กรอบเวลา ๒ ปีที่จะพัฒนา ๕ ศักยภาพของพื้นที่ใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ให้สามารถแข่งขั นได้ใน ๕ ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ ในเวทีโลก ” และได้กาหนดภารกิจว่าจะพัฒนายกระดับและจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และ ขีดความสามารถให้ ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่งคั่ง และมั่นคงเพื่อเป็นบุคลากรที่มีวินัยเปี่ยมไปด้วย คุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม โดยคานึงถึงศักยภาพและบริบทรอบๆ ตัว ผู้เรียน พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้และกระบวนการเรียนการสอนให้ ทัดเทียมอารยะประเทศ ด้วยการบริหาร จัดการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ มุ่งเป้าหมายของการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและยกระดับศักยภาพในการ ทางานให้บุคคลากรไทยให้แข่งขันได้ ในระดับสากลภายใต้ศักยภาพ ๕ ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติใน แต่ละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ ศักยภาพ ของศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่ สานักงาน กศน .จังหวัดสมุทรปราการ จึงได้นานโยบาย และยุทธศาสตร์ดังกล่าวสู่การปฏิบัติ เพื่อจัด การศึกษาพัฒนาอาชีพให้กลุ่มเป้าหมายและประชาชน มีรายได้และมีงานทาอย่างยั่งยืน มีความสามารถในเชิงการ แข่งขัน โดยการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาเภอ ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวจะทาให้การจัดการศึกษาของสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ เป็นการจัดการศึก ษาตลอดชีวิ ตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชนในชุมชน และเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตอย่างแท้จริง สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 1
  • 2. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ให้แก่ประชาชนที่ไม่มีอาชีพให้มี ทักษะอาชีพ มีงานทา มีรายได้ ๒. เพื่อส่งเสริมและสนั บสนุน การพัฒนาอาชีพเดิมของประชาชนให้มีความมั่นคงยั่งยืน และมีรายได้ สูงขึ้น ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีทักษะของการเป็นผู้ประกอบการ จากการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติงานจริง ๔. เพื่อส่งเสริมการนาความรู้และประสบการณ์ในการเรียนรู้อาชีพไปใช้เทียบระดับการศึกษา และ เทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตร กศน.ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป้าหมาย ประชาชนคนไทยจานวน ๑,๔๘๑,๘๐๐ ล้านคน ที่เข้ารั บการเรียนรู้มีทักษะอาชีพ มีงานทา มีรายได้ และสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชน กลุ่มเป้าหมาย ๑. ประชาชนผู้ว่างงานและต้องการเข้าสู่อาชีพใหม่ ๒. ประชาชนที่มีอาชีพอยู่แล้ว แต่ต้องการพัฒนาอาชีพเดิมให้ดีขึ้น เช่นกลุ่ม OTOP กลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้จริงไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ โดยจังหวัดสมุทรปราการมีเป้าหมาย ดังนี้ ๑. กศน.อาเภอเมือง จานวน ๒,๒๙๘ คน ๒. กศน.อาเภอพระประแดง จานวน ๑,๓๐๐ คน ๓. กศน.อาเภอพระสมุทรเจดีย์ จานวน ๖๒๐ คน ๔. กศน.อาเภอบางพลี จานวน ๙๑๒ คน ๕. กศน.อาเภอบางบ่อ จานวน ๗๒๐ คน ๖. กศน.อาเภอบางเสาธง จานวน ๒๗๐ คน สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 2
  • 3. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ๑.หลักการดาเนินงาน ในการจัดดาเนินโครงการ ฝึกทักษะอาชีพและการให้ความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพเพื่อให้ผู้เรียน สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้จริง มีรายได้ และพัฒนาอาชีพเดิมนั้น สถานศึกษา กศน . ผู้จัดทั้งระดับอาเภอ และ กศน.ตาบล ควรดาเนินการตามหลักการดังนี้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ๑.๑ เป็นการจัดการศึกษาเพื่อให้ มีทักษะอาชีพ มีรายได้และมีงานทา ๑.๒ บูรณาการและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ๑.๓ หลักสูตรมี ๒ ประเภท โดยยึดหลักการ ๕ กลุ่มอาชีพ กลุ่มหลักสูตรใหม่ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด สร้างสรรค์และด้านอานวยการและอาชีพเฉพาะทาง และศักยภาพของพื้นที่ตาม ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และทาเลที่ตั้ง ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตและทรัพยากรมนุษย์ ในแต่ละ พื้นที่ คือ ๑.๓.๑ หลักสูตรที่กาหนดไว้ ตามสภาพปัญหาของพื้นที่ ๑.๓.๒ หลักสูตรความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของพื้นที่ ๑.๔ ใช้ชุมชนเป็นฐานในการดาเนินงาน เช่น สภาพปัญหากลุ่มเป้าหมายเนื้อหา หลักสูตรเป็นต้น ๒. การจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ให้มีการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ดังนี้ ๒.๑ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด ๒.๒ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาเภอ ( อย่างน้อยอาเภอละ ๒ แห่ง ) ๒.๓ ภารกิจของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน มีหน้าที่ดังนี้ ๒.๓.๑ ประชาสัมพันธ์และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของผู้เรียน ๒.๓.๒ เป็นศูนย์กลางในการประสานการจาหน่ายระหว่างผู้เรียนกับผู้ซื้อ ๒.๓.๓ เป็นศูนย์กลางจัดสอนอาชีพฝึกการปฏิบัติงาน ๒.๓.๔ เป็นศูนย์กลางจัดเก็บ แสดง กระจายสินค้าและบริการ ของชุมชน อย่างเป็นระบบ สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 3
  • 4. ๓. แต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ในระดับต่างๆ ดังนี้ ๓.๑ คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ ๓.๒ คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จังหวัด ๓.๓ คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน อาเภอ ๓.๔ คณะกรรมการกลั่นกรองแผนงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สานักงาน กศน.จังหวัด ๓.๑ คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วยคณะบุคคลดังนี้ ๑. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานกรรมการ ๒. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานกรรมการ ๓. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานกรรมการ ๔. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ ๕. เลขาธิการสภาการศึกษา กรรมการ ๖. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐาน กรรมการ ๗. เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรรมการ ๘. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กรรมการ ๙. หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ ๑๐. ผู้อานวยการสานักบริหารงานคณะกรรมการ กรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ๑๑. เลขาธิการสานักงานส่งเสริมการศึกษา กรรมการและเลขานุการ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑๒. ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมปฏิบัติการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 4
  • 5. มีอานาจหน้าที่ ๑. กาหนดนโยบ ายและแนวทางการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา และมีรายได้ของ กระทรวงศึกษาธิการให้บรรลุผลตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ๒. ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ กากับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตาม นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ของกระทรวง ๓. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่มอบหมาย ๓.๒. คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัดสมุทรปราการประกอบด้วยคณะบุคคลดังนี้ ๑. ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ ประธานกรรมการ ๒. ผู้อานวยการศูนย์อุดมศึกษา กรรมการ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรีสมุทรปราการ ๓. ผู้อานวยการสานักบริหารยุทธศาสตร์ กรรมการ และบูรณาการศึกษาที่ ๕ ๔. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรรมการ ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑ ๕. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรรมการ ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๒ ๖. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรรมการ มัธยมศึกษา เขต ๖ ๗. นายกสมาคมการศึกษาเอกชนจังหวัดสมุทรปราการ กรรมการ ๘. ผู้แทนโรงเรียนเทศบาล ๑ ( เทศบาลนครสมุทรปราการ ) กรรมการ ๙. ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ กรรมการ และเลขานุการ ๑๐. รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ ผู้ช่วยเลขานุการ สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 5
  • 6. มีอานาจหน้าที่ ๑. อานวยการและควบคุมดูแลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนใน ระดับจังหวัด ๒. วิเคราะห์ บูรณาการ และจัดทาแผนการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาของจังหวัด ๓. กากับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผน การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมี งานทาของจังหวัด ๔. ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะในการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาในจังหวัด ๕. สนับสนุน การดาเนินงานตามแนวทางการจัดการศึกษาอาชีพของคณะกรรมการศูนย์ ฝึกอาชีพ ชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ ๖. ส่งเสริม และประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาของจังหวัด ๗. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่มอบหมาย ๘. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ ๓.๓. คณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาเภอ ประกอบด้วยคณะบุคคลที่สถานศึกษา พิจารณา ที่มีคุณสมบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณะ กรรมการ แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนโดยให้ ผอ .กศน.อาเภอ เป็นผู้ลงนามแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน และให้ส่งคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการชุดดังกล่าวมายัง สานักงาน กศน. จังหวัด จานวน ๑ ชุด สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 6
  • 7. ๔. คณะกรรมการกลั่นกรองแผนงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สานักงาน กศน.จังหวัด ประกอบด้วยบุคคลดังนี้ ๑. นายนิธิพงศ์ ดวงมุสิก ผู้อานวยการ สานักงาน ประธานกรรมการ สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ ๒. นายเขษมศักดิ์ แก้วประเสริฐ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมือง กรรมการ ๓. นายสัมฤทธิ์ ศักดิ์ตระกูลกล้า ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพระประแดง กรรมการ ๔. นายสมถวิล คาทอง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางเสาธง กรรมการ ๕. นายสิทธิศักดิ์ สุคนธวงศ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางพลี กรรมการ ๖. นางสาวสุภสิตา บัวเลี้ยง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางบ่อ กรรมการ ๗. นายเกรียงไกร ซิ้มเจริญ ผู้อานวยการ กศน. กรรมการ อาเภอพระสมุทรเจดีย์ ๘. นายอัครกิตติ์ ไชยธนกุลวัฒน์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ กรรมการ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี สมุทรปราการ ๙. นายนรินทร์ วิไลรัตน์ หัวหน้าแผนกวิชาการก่อสร้าง กรรมการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ ๑๐. นายอัครวัฒน์ มั่นปิยะพง์ กรรมการผู้จัดการ กรรมการ บริษัทรัตนาบดีแลนด์ จากัด ๑๑. นางโสภาวรรณ อัมพันศิริรัตน์ รองผู้อานวยการ กรรมการ สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ และเลขนุการ ๑๒. นายชรินทร์ รู้อ่าน นักวิชาการศึกษา กรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ อานาจหน้าที่ ๑. ขับเคลื่อนการดาเนินงานตามนโยบายของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัด ๒. เห็นชอบและอนุมัติแผนงานโครงการของสถานศึกษา กศน. และนาเสนอคณะกรรมการจังหวัด ๓. สนับสนุนทรัพยากรเพื่อจัดกิจกรรม ๔. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล ๕. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกลั่นกรองแผนงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สานักงาน กศน.จังหวัดมอบหมาย สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 7
  • 8. บทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง “โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน” ผู้เกี่ยวข้อง บทบาทหน้าที่ กศน.จังหวัด กศน.อาเภอ ครู อาสา ครู กศน.ตาบล ๑. นานโยบายสู่การปฏิบัติโดยกาหนดเป็นนโยบายจังหวัดที่ชัดเจน √ - - - ๒. ศึกษาแนวคิด กรอบการทางาน วิธีการและยุทธศาสตร์ให้ชัดเจน √ √ √ √ ๓. ประชุมชี้แจงมอบหมายภารกิจให้ กศน.อาเภอทุกอาเภอ √ √ - - ๔. จัดทาแนวทาง คู่มือการดาเนินงาน √ - - - ๕. วางระบบการนิเทศ ติดตาม และรายงานผล √ √ - - ๖. ประสานเครือข่าย แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการ √ √ √ √ ดาเนินกิจกรรม ๗. นิเทศ ติดตาม ร่วมกับสถานศึกษาเพื่อให้กาลังใจและร่วมแก้ไขปัญหา √ √ √ - ๘. นานโยบายมาสู่การปฏิบัติโดยดาเนินการ ตามคู่มือการดาเนินงาน - √ - √ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนการจัดการศึกษาอ าชีพเพื่อการมีงานทาของ สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ ลงสู่ กศน.ตาบล ๙. ประชุมชี้แจงมอบหมายภารกิจให้บุคลกรในสังกัด กศน.อาเภอ - √ - - ๑๐. จัดหาแหล่งวิทยากรและประสานภาคีเครือข่าย แหล่งเรียนรู้ - √ √ √ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการดาเนินกิจกรรม ๑๑. ดาเนินการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาตามแผนที่กาหนด - √ - √ ๑๒. สนับสนุนการเรียนการสอนร่วมกับครู กศน.ตาบล - √ √ √ ๑๓. ศึกษาสภาพความต้องการของประชาชน เสนอโครงการหลักสูตร - - - √ และวางแผนการเรียนการสอน ๑๔ .ประชาสัมพันธ์โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนในระดับจังหวัด √ √ √ √ อาเภอ ตาบล ๑๕. ส่งเสริมการตลาดและจัดจาหน่าย √ √ - - ๑๖. สรุป ประเมินโครงการ และเผยแพร่ ทุกระดับ √ √ - √ สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 8
  • 9. การดาเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทาของสถานศึกษา การดาเนินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน มีกระบวนการและองค์ประกอบของการดาเนินการดังนี้ ขั้นที่ ๑ สารวจความต้องการและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย ( กศน.อาเภอ / กศน.ตาบล ) คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย โดยกระบวนการต่างๆ ดังนี้ ๑. การทาเวทีประชาคม ๒. ข้อมูลการสารวจของหน่วยงานต่างๆ ในระดับพื้นที่ ๓. ครู กศน.ตาบล และครู ศรช. สารวจข้อมูลความต้องการในกิจกรรมการเรียนรู้ และเนื้อหา หลักสูตร จากประชาชนโดยตรง ๔. ประชาชนที่ต้องการเรียนรู้ฝึกทักษะอาชีพ มาแจ้งความต้องการของตน ณ กศน.อาเภอ และ กศน.ตาบล กลุ่มเป้าหมาย มีคุณสมบัติดังนี้ ๑. ประชาชนผู้ว่างงาน ไม่มีอาชีพ ให้มีอาชีพ ๒. ผู้ที่มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพเดิม หรือต้องการเป็นอาชีพเสริม เช่น กลุ่มผู้ประกอบการ ทั่วไป, SME, OTOP ขั้นที่ ๒ จัดทาโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ๑. จัดทาโครงการ แผนงาน หลักสูตร ( กศน.อาเภอ และกศน.ตาบล ) สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 9
  • 10. คุณสมบัติของโครงการ แผนงาน และหลักสูตร โครงการและแผนงาน ๑. มีความชัดเจน ละเอียด เมื่ออ่านแล้วสามารถทราบว่าโครงการดาเนินการด้วยกิจกรรมใน ลักษณะใด ช่วงเวลาใด ( ควรระบุวันที่จัดกิจกรรม หากสามารถระบุได้ ) ๒. แจกแจงรายละเอียดของค่าใช้จ่ายในโครงการ ๓. การเขียนหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กิจกรรม และผลที่คาดว่าจะได้รับ จานวน กลุ่มเป้าหมาย มีความสอดคล้องกัน การเสนอโครงการ ๑. ผู้เสนอโครงการ ได้แก่ ครู กศน.ตาบล หรือครู ศรช. ๒. ผู้เห็นชอบโครงการ ได้แก่ ผอ.กศน.อาเภอ ๓. ผู้อนุมัติโครงการ ได้แก่ ผอ.สานักงาน กศน.จังหวัด ทั้งนี้ขอให้สถานศึกษาลงนามให้ครบถ้วนก่อนเสนอโครงการถึง สานักงาน กศน.จังหวัด หลักการพิจารณาอนุมัติโครงการ ๑. เมื่อกลุ่มเป้าหมายเรียนจบหลักสูตร แล้วต้องมีอาชีพได้จริง เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ๒. ค่าใช้จ่ายมีความเหมาะสมในแต่ละโครงการและหลักสูตรในแต่ละพื้นที่ ขั้นที่ ๓ กศน.อาเภอ และ กศน .ตาบล ดาเนินการโครงการและกิจกรร มตามที่ได้รับอนุมัติ พร้อมทั้งประเมิน โครงการทุกโครงการโดยจัดทาเป็นเอกสาร ขั้นที่ ๔ กศน.อาเภอ และกศน.ตาบล รายงานผลการดาเนินงาน ตามแผนการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ที่ทางสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ ส่งให้ทุก กศน.อาเภอ (ตัวอย่างแผนอยู่ในภาคผนวก) สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 10
  • 11. การนิเทศ การนิเทศโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ มี ๒ ระดับคือ ๑. ระดับจังหวัด แต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยนิเทศร่วมกับ คณะกรรมการนิเทศ ภายในสถานศึกษา ของแต่ละ กศน.อาเภอ และลงพื้นที่นิเทศการฝึกอบรมให้ความรู้ ๒. ระดับอาเภอ นิเทศโดยคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ให้ผู้นิเทศภายในสถานศึกษาทุกแห่ง นิเทศกิจกรรมดังกล่าวให้เป็นไปตามโครงการและแนวทางที่ กาหนด โดยให้ส่งแผนกา รนิเทศทุกวันที่ ๑ ของเดือน เพื่อเป็นการประสานแผนการนิเทศร่วมกับคณะกรรมการนิเทศ ระดับจังหวัด หลักสูตรที่ใช้ ในการจัดฝึกอบรม ให้กับกลุ่มเป้าหมายนั้น ต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการศูนย์ ฝึกอาชีพชุมชน คือเมื่อผู้เรียนเรียนจบหลักสูตรแล้ว ต้องมีทักษะความรู้ในวิชาชีพนั้นๆ จนกระทั่งสามารถนาความรู้ไป ประกอบอาชีพได้จริง มีรายได้ หรือพัฒนาอาชีพเดิมที่ทาอยู่ให้ดีขึ้น หลักสูตรการอบรม ๑. แหล่งหลักสูตร ๑.๑ หลักสูตรที่สานักงาน กศน.จัดทาขึ้น โดยรวบรวมและเรียบเรียงใหม่จากหลักสูตร กศน . อาเภอ จัดทาขึ้น จานวนมากกว่า ๘๐ หลักสูตร ๑.๑.๑ ดาวโหลดได้ที่ www.nfe.go.th/0405 ๑.๑.๒ เอกสาร “หลักสูตรการจั ดการศึกษาอาชีพเพื่อมีงานทา ” ชุดที่ ๑ และ ๒ ของสานักงาน กศน. ๑.๑.๓ หลักสูตร OTOP Mini MBA ของสานักงาน กศน. ( ข้อ ๑.๑.๒ และ ๑.๑.๓ ตามที่สถานศึกษาทุกแห่งได้รับมอบจาก สานักงาน กศน. ) ๑.๒ หลักสูตรที่สถานศึกษาสร้างขึ้นเองตามความต้องการของกลุ่มเป้าห มายโดยต้อง คานึงถึงวัตถุประสงค์ของโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนและเมื่อเรียนจบหลักสูตรแล้ว สามารถมีงานทาและสร้างอาชีพ ได้จริง ๑.๒.๑ หลักสูตรที่ใช้ในการฝึกอาชีพ ควรคานึงถึงความเหมาะสมของโครงสร้าง หลักสูตร จานวนชั่วโมง ดังนี้ สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 11
  • 12. โครงสร้างหลักสูตร สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ดังนี้ มาตรฐานการเรียนรู้ ช่องทางการประกอบอาชีพ มาตรฐานที่ ๑.๑ วิเคราะห์ศักยภาพของข้อมูลตนเอง ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมและขอบข่ายงาน อาชีพต่างๆ มาตรฐานที่ ๑.๒ มองเห็นช่องทาง และตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการคิดเป็นจาก ข้อมูลที่เป็นจริง และมีความเป็นไปได้ตามศักยภาพ ทักษะการประกอบอาชีพ มาตรฐานที่ ๒.๑ มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในอาชีพที่ตัดสินใจเลือก มาตรฐานที่ ๒.๒ สามารถจัดหาและคัดเลือกปัจจัยการผลิตได้อย่างเหมาะสมและคุ้มค่า ตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ มาตรฐานที่ ๓.๑ สามารถบริหารจัดการในอาชีพที่ตัดสินใจเลือกได้อย่างมีคุณภาพ มาตรฐานที่ ๓.๒ สามารถจัดการกับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับการประกอบอาชีพ โครงการประกอบอาชีพ มาตรฐานที่ ๔.๑ มีโครงการประกอบอาชีพสาหรับใช้เป็นแนวทางในการนาสู่การปฏิบัติ มาตรฐานที่ ๔.๒ มีการตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงการเพื่อการประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง การจัดการเรียนรู้ ๑. ช่องทางการประกอบอาชีพ ๑.๑ ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สถานประกอบการ สื่อของจริง สื่อบุคคลในชุมชน ประเทศและโลก เพื่อนาข้อมูลมาคิด วิเคราะห์และใช้ในการประกอบอาชีพที่มีความเป็นไปได้ ในชุมชน ๑.๒ วิเคราะห์อาชีพที่คิดว่าจะสามารถเลือกประกอบอาชีพได้ในชุมชน ๑.๓ ศึกษาดูงานในสถานประกอบการ แหล่งเรียนรู้ต่างๆในอาชีพที่ตัดสินใจเลือก ๑.๔ ตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพโดยใช้กระบวนการคิดเป็นและมีความเป็ นไปได้ตามศักยภาพ ๕ ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศและทาเลที่ตั้ง ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิต และทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่ สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 12
  • 13. ๒. การฝึกทักษะชีวิต ๒.๑ ศึกษาเรียนรู้ขอบข่ายการประกอบอาชีพที่ตัดสินใจเลือก ๒.๒ จัดหาแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพที่เลือก ๒.๓ จัดทาแผนการฝึกทักษะตามหลักสูตร ๒.๔ ดาเนินการเรียนรู้และฝึกทักษะตามหลักสูตร ๒.๕ จดบันทึกผลการเรียนรู้ ๒.๖ ดาเนินการวัดผลและประเมินผลตามที่หลักสูตรกาหนด ๓. การบริหารจัดการในอาชีพ ๓.๑ การบริหารจัดการผลิต ๑. สารวจและศึกษาแหล่งวัสดุ อุปกรณ์ และการใช้ประโยชน์ของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ และทุนต่างๆ ๒. การกาหนดและการควบคุมคุณภาพผลผลิตที่ต้องการ ๓. ศึกษาการลดต้นทุนการผลิต แต่คุณภาพคงเดิม ๔. ศึกษาวิเคราะห์ ปัจจัยความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและมีแนวทางในการจัดการความเสี่ยง ๓.๒ การบริหารจัดการตลาด ๑. ศึกษาข้อมูลการตลาด และวิเคราะห์ความต้องการของตลาดในชุมชน ประเทศและโลก ๒. กาหนดทิศทาง เป้าหมาย กลยุทธ์ และแผนการาจัดการตลาด ๓. ดาเนินการตามกระบวนการจัดการตลาด เช่น การคิดต้นทุนการผลิต การกาหนด ราคาขาย การส่งเสริมการขาย การกระจายสินค้า สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 13
  • 14. จานวนชั่วโมงของหลักสูตร สาหรับจานวนชั่วโมงของหลักสูตร ควรกาหนดให้ไม่น้อยกว่า ๔๐ ชั่วโมงขึ้นไป เพื่อให้สอดคล้องกับ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ( พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๘ ) ของ สมศ.ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้สาเร็จการศึกษาต่อเนื่องตามหลักสูตร/โครงการ ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๓ ผู้สาเร็จการศึกษาต่อเนื่องที่นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อประกันคุณภาพภายในของ กศน. อาเภอ / เขต ( ทีพัฒนาขึ้นใหม่ ) ่ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๖ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗ ผู้เรียนมีงานทาหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ( หลักสูตรที่จะนามาประเมินเป็นหลักสูตร เฉพาะที่มีระยะเวลาเรียน ตั้งแต่ ๔๐ ชั่วโมง ขึ้นไป) หากหลักสูตรใดมีจานวนชั่วโมงไม่ถึง ๔๐ ชั่วโมง และสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่า เป็นไปตาม ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สถานศึกษาสามารถกระทาได้ แต่ไม่สามารถนามาประเมินให้ผ่านตามตัวบ่งชี้ข้างต้นได้ ทั้งนี้การกาหนดจานวนชั่วโมง ของหลักสูตรให้พิจารณาถึงความเหมาะสมของเนื้อหา ค่าตอบแทน วิทยากร ค่าวัสดุฝึก รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นที่จะเกิดขึ้นโดยพิจารณาถึงความจาเป็น เหมาะสมประหยัด จานวนกลุ่มเป้าหมาย ในแต่ละหลักสูตร กลุ่มเป้าหมายควรอยู่ระหว่าง ๑๕ –๒๐ คนขึ้นไป ตามนโยบายของสานักงาน กศน. การประเมินความสาเร็จ ๑. ผู้เข้ารับการอบรมเมื่อเรียนจบหลักสูตร แล้วมีทักษะความรู้ในการประกอบอาชีพ ๒. สามารถนความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพได้จริงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ของผู้เข้ารับการอบรมแต่ ละหลักสูตร โดยครู กศน.ตาบล และ กศน.อาเภอ มีระบบการติดตามและรายงานผลความสาเร็จ สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 14
  • 15. จบหลักสูตร - กศน. อาเภอ ออกหลักฐานการจบหลักสูตร - ผู้อานวยการสถานศึกษา เป็นผู้ลงนาม การเทียบโอนผลการเรียน ๑. ผู้เรียนที่มี ความรู้ประสบการณ์ เกี่ยวกับการประกอบอาชีพแล้วสามาร ถนามาใช้เทียบโอนผลการ เรียนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ ๒. การคิดหน่วยกิต ๔๐ ชั่วโมง เท่ากับ ๑ หน่วยกิต และสามารถนาจานวนชั่วโมงของหลายหลักสูตร ในวิชาชีพนั้นมารวมกันได้ เกณฑ์การเบิกจ่าย ให้สถานศึกษาบริหารจัดการให้โครงการศูนย์ ฝึกอาชีพชุมชน ของแต่ละอาเภอเป็นไปตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายของผู้รับบริการ ตามที่กาหนดรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณโครงการศูนย์ ฝึกอาชีพ ชุมชน ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ และเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามเกณฑ์การจ่าย รายการค่าใช้จ่าย เกณฑ์ รายละเอียด ค่าตอบแทนวิทยากร - ไม่เกิน ๒๐๐ บาท / ชม. - ผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินครั้งละ ๓ ชม. ในอัตรา ครั้งละไม่เกิน ๑,๕๐๐ บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ ไม่เกิน ๒,๐๐๐ บาท / คน ตามความเหมาะสมกับโครงการ จ่ายจริง ตามความจาเป็น เหมาะสมประหยัด ค่าศึกษาดูงาน คนละ ๑๒๐ บาท / วัน ไม่เกิน ๔ วันรวมเดินทางไปกลับ - ค่าเบี้ยเลี้ยง - ค่าพาหนะ เบิกจ่ายตามจริง - ค่าที่พัก ไม่เกิน ๕๐๐ บาท สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 15
  • 16. ค่าใช้จ่ายของผู้เรียน - เรียนฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 16
  • 17. คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา นายนิธิพงศ์ ดวงมุสิก ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ นางโสภาวรรณ อัมพันศิริรัตน์ รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ นางรัตนา แก่นสารี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ ผู้รวบรวม เรียบเรียง นายชรินทร์ รู้อ่าน นักวิชาการศึกษา บรรณาธิการ นางรัตนา แก่นสารี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ พิมพ์ / ออกแบบปก นายชรินทร์ รู้อ่าน นักวิชาการศึกษา สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 17
  • 18. ภาคผนวก - คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๘๓/๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจังหวัดสมุทรปราการ - รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทาของ สานักงาน กศน. - แบบรายงานการดาเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอ - แบบรายงานการนิเทศโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อาเภอ สำนักงำน กศน.จังหวัดสมุทรปรำกำร หน้า 18