SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
1. การถอดแยก 2. การตรวจสอบ 3. การประกอบกลับ
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ลูกถ้วยยกวาล์วประกับวาล์ว
ประกับสปริงวาล์วสปริงวาล์ว
ซีลนำ้ามันหมวกวาล์ว
บ่ารองสปริง
วาล์ว
การถอดแยก ส่วนประกอบ
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ข้อแนะนำาการบริการ:
ทิศทาง/ตำาแหน่งการติดตั้ง
การถอดแยก ถอดลูกถ้วยยกวาล์ว
1. ถอดลูกถ้วยยกวาล์ว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/2)
การถอดแยก ถอดวาล์ว
เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องอัดสปริงวาล์ว)
ประกับวาล์ว
วาล์ว
สปริงวาล์ว
ประกับสปริงวาล์ว
เครื่องมือพิเศษ
(เครื่องอัดสปริงวาล์ว)
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(2/2)
ข้อแนะนำาการบริการ:
ทิศทาง/ตำาแหน่งการติดตั้ง
การถอดแยก ถอดวาล์ว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
การถอดแยก ถอดซีลนำ้ามันหมวกวาล์ว
1. ถอดซีลนำ้ามันหมวกวาล์ว 2. ถอดบ่ารองสปริงวาล์ว
ซีลนำ้ามันหมวกวาล์ว
บ่ารองสปริงวาล์ว
ด้ามแม่เหล็ก
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ข้อแนะนำาการบริการ:
การทำาความสะอาด/การล้าง
มีดขูดปะเก็น
หินนำ้ามันนำ้ามันเครื่อง
การถอดแยก ทำาความสะอาดฝาสูบ
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
การตรวจสอบ ส่วนประกอบ
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ข้อแนะนำาการบริการ:
การตรวจสอบความเครียด
บรรทัดเหล็ก
ฟิลเลอร์เกจ
การตรวจสอบ ตรวจสอบความเรียบของฝาสูบ
ด้านเสื้อสูบ
ด้านท่อร่วมไอดี
ด้านท่อร่วมไอเสีย
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
ฝาสูบ
รอยร้าว
ข้อแนะนำาการบริการ:
การตรวจสอบความเสียหาย/รอยร้าว
การตรวจสอบ ตรวจสอบรอยร้าวของฝาสูบ
(1/1)
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
การตรวจสอบ ตรวจสอบระยะช่องว่าง
ปลอกนำาวาล์ว
วาล์ว
ลูกถ้วยยกวาล์ว
เพลาลูกเบี้ยว
พลาสติกเกจ
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ข้อแนะนำาการบริการ:
ระยะช่องว่าง
การตรวจสอบ ตรวจสอบระยะช่องว่าง
1. ระยะห่างปลอกนำาวาล์ว
คาลิปเปอร์เกจ
ไมโครมิเตอร์
ปลอกนำาวาล์ว
วาล์ว
ปลอกนำาวาล์ว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ข้อแนะนำาการบริการ:
ระยะช่องว่าง
คาลิปเปอร์เกจ
ไมโครมิเตอร์ลูกถ้วยยกวาล์ว
การตรวจสอบ ตรวจสอบระยะช่องว่าง
ลูกถ้วยยกวาล์ว
2. ระยะห่างลูกถ้วยยกวาล์ว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ข้อแนะนำาการบริการ:
ระยะช่องว่าง
การตรวจสอบ ตรวจสอบระยะช่องว่าง
3. ระยะรุนเพลาลูกเบี้ยว
ไดอัลเกจ
เพลาลูกเบี้ยว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ข้อแนะนำาการบริการ:
ระยะช่องว่าง
การตรวจสอบ ตรวจสอบระยะช่องว่าง
4. ช่องว่างนำ้ามันเพลาลูกเบี้ยว
เพลาลูกเบี้ยว
พลาสติกเกจ
ประกับแบริ่งเพลาลูกเบี้ยว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/2)
นำ้ามันรั่วที่ปลอกนำาวาล์ว นำ้ามันรั่วที่ตำาแหน่งแหวน
การตรวจสอบ ตรวจสอบวาล์ว
1. การตรวจสอบด้วยตาเปล่า
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(2/2)
ข้อแนะนำาการบริการ:
การวัด
เวอร์เนียคาลิปเปอร์
การตรวจสอบ ตรวจสอบวาล์ว
2. วัดขนาด
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ข้อแนะนำาการบริการ:
การวัด
การตรวจสอบ ตรวจสอบสปริงวาล์ว
1. ตรวจเช็คสภาพของสปริง
เวอร์เนียคาลิปเปอร์
ฟิลเลอร์เกจ
เหล็กฉาก
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
เครื่องมือทดสอบสปริง
การตรวจสอบ ตรวจสอบสปริงวาล์ว
2. ตรวจเช็คความตึง
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/3)
ข้อแนะนำาการบริการ:
ชิ้นส่วนที่มีการอัดประกอบ
การตรวจสอบ เปลี่ยนปลอกนำาวาล์ว
1. ถอดปลอกนำาวาล์ว
เครื่องมือพิเศษ (เครื่องมือถอดเปลี่ยนปลอกนำาวาล์ว)
ปลอกนำาวาล์ว
หม้อต้ม
ปลอกนำาวาล์ว
เครื่องมือพิเศษ (เครื่องมือถอด
เปลี่ยนปลอกนำาวาล์ว)
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(2/3)
คาลิปเปอร์เกจ
ข้อแนะนำาการบริการ:
การวัด
การตรวจสอบ เปลี่ยนปลอกนำาวาล์ว
2. วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในรูปลอกโดยใช้คาลิปเปอร์
เกจ
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(3/3)
ข้อแนะนำาการบริการ:
ชิ้นส่วนที่มีการอัดประกอบ
การตรวจสอบ เปลี่ยนปลอกนำาวาล์ว
3. เคาะปลอกนำาวาล์ว
เวอร์เนียคาลิปเปอร์
ปลอกนำาวาล์ว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(3/3)
การตรวจสอบ เปลี่ยนปลอกนำาวาล์ว
4. ขูดเศษเหล็ก
รีมเมอร์
ปลอกนำาวาล์ว
รีมเมอร์
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
การตรวจสอบ ตรวจสอบบ่ารองวาล์ว
วาล์ว แถบสีนำ้าเงิน
(หรือสีตะกั่ว)
บดวาล์ว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/2)
การตรวจสอบ ซ่อมบ่ารองวาล์ว
1. ซ่อมบ่ารองวาล์ว
บ่าวาล์วสูงเกินไป บ่าวาล์วตำ่าเกินไป
ตำาแหน่งที่ตัด
บ่ารองวาล์ว
ตำาแหน่งที่ตัด
บ่ารองวาล์ว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(2/2)
บดวาล์ว
การตรวจสอบ ซ่อมบ่ารองวาล์ว
2. บดวาล์ว 3. ตรวจเช็ค
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
การตรวจสอบ ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ไดอัลเกจ
บล็อกรูปตัววี
บล็อกรูปตัววี
ข้อแนะนำาการบริการ:
ตรวจสอบความคดงอของเพลา
การตรวจสอบ ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ไมโครมิเตอร์
ข้อแนะนำาการบริการ:
การวัด
การตรวจสอบ ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ไมโครมิเตอร์
ข้อแนะนำาการบริการ:
การวัด
การตรวจสอบ ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ลูกถ้วยยกวาล์วประกับวาล์ว
ประกับสปริงวาล์วสปริงวาล์ว
ซีลนำ้ามันหมวกวาล์ว
บ่ารองสปริง
วาล์ว
การประกอบกลับ ส่วนประกอบ
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/1)
ซีลนำ้ามันหมวกวาล์ว
เครื่องมือพิเศษ (เครื่องมือถอดเปลี่ยนซีลนำ้ามันหมวกวาล์ว)
บ่ารองสปริง
ทานำ้ามันเครื่อง
การประกอบกลับ ติดตั้งซีลนำ้ามันหมวกวาล์ว
1. ติดตั้งบ่ารองสปริงวาล์ว 2. ติดตั้งซีลนำ้ามันหมวกวาล์ว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(1/2)
เครื่องมือพิเศษ (เครื่องอัดสปริงวาล์ว)
ประกับวาล์ว
ทาจาระบีเอนกประสงค์
การตรวจสอบ ติดตั้งวาล์ว
(1/2)
ช่างเทคนิคระดับสูง >> การซ่อมใหญ่เครื่องยนต์
(2/2)
วาล์วใช้แล้ว
เทปกาว
การตรวจสอบ ติดตั้งวาล์ว
ผ้าสะอาด

Contenu connexe

Tendances

ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหลังแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหลังแบบซิงโครเมชการส่งกำลังงานเกียร์ขับหลังแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหลังแบบซิงโครเมชGreenswat Optra
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงทับทิม เจริญตา
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมChakkrawut Mueangkhon
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 

Tendances (20)

ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหลังแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหลังแบบซิงโครเมชการส่งกำลังงานเกียร์ขับหลังแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหลังแบบซิงโครเมช
 
Forklift 2
Forklift 2Forklift 2
Forklift 2
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
Cylinder block
Cylinder blockCylinder block
Cylinder block
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
8 2
8 28 2
8 2
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
ปริพันธ์
ปริพันธ์ปริพันธ์
ปริพันธ์
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 

Cylinder head

Notes de l'éditeur

  1. ในบทนี้จะอธิบายการถอดแยกชิ้นส่วนฝาสูบ , การตรวจสอบ และการประกอบกลับ 1. การถอดแยก ใช้เครื่องมือพิเศษถอดวาล์ว 2. การตรวจสอบ ใช้เครื่องมือวัด ทำการวัดความบิดเบี้ยวและการสึกหรอ เปลี่ยนชิ้นส่วนที่มีค่าเกินมาตรฐานด้วยอะไหล่ชิ้นใหม่ 3. การประกอบกลับ ตรวจเช็คตำแหน่งการประกอบของชิ้นส่วนขณะมีการปฏิบัติงาน ©2002 TOYOTA MOTOR CORPORATION. All right reserved.
  2. 1. ถอดลูกถ้วยยกวาล์ว 2. ถอดวาล์ว 3. ถอดซีลน้ำมันหมวกวาล์ว 4. ทำความสะอาดฝาสูบ
  3. 1. ถอดลูกถ้วยกดวาล์ว (1) ถอดลูกถ้วยกดวาล์วออกด้วยมือ ข้อควรระวัง : อย่าใช้คีมเพราะอาจจะทำให้ลูกถ้วยกดวาล์วเสียหายได้ (2) ถอดลูกถ้วยกดวาล์ว และจัดเรียงบนกระดาษตามลำดับหมายเลขเพื่อความสะดวกในการประกอบ ข้อแนะนำการบริการ : ขณะทำการประกอบจะต้องประกอบลูกถ้วยกดวาล์วกลับตำแหน่งเดิมจากการถอดชิ้นส่วนออกมา
  4. 1. จัดเครื่องมือพิเศษให้ตรงระหว่างด้านล่างของวาล์วและบ่ารองสปริงวาล์ว 2. ขันเครื่องมือพิเศษเพื่ออัดสปริงวาล์ว และถอดประกับวาล์วทั้ง 2 อันออก 3. ถอดเครื่องมือพิเศษออกแล้วถอดบ่ารองสปริง และสปริงออก หลังจากนั้นดันวาล์วลงด้านห้องเผาไหม้ออกด้วยมือ
  5. 4. วางวาล์วและชิ้นส่วนอื่นๆ ลงบนกระดาษที่ทำหมายเลขไว้เพื่อการประกอบที่ถูกต้องและรวดเร็ว
  6. 1. ถอดซีลน้ำมันหมวกวาล์ว ใช้คีมปากแหลมจับบริเวณส่วนที่เป็นโลหะของซีลน้ำมันหมวกวาล์วแล้วถอดซีลน้ำมันหมวกวาล์ว ข้อควรระวัง : อย่าดึงส่วนที่เป็นยางของซีลน้ำมันหมวกวาล์วเพราะว่าจะทำให้ยางฉีกขาดได้ 2. ถอดบ่ารองสปริงวาล์ว (1) ใช้ไขควงดันให้แหวนรองสปริงวาล์วยกตัวขึ้น (2) ใช้ไขควงแม่เหล็กดูดแหวนรองสปริงวาล์วออก
  7. 1. ขูดปะเก็นเก่าที่ติดอยู่บนฝาสูบออกด้วยมีดขูดปะเก็น 2. ถ้าไม่สามารถขูดปะเก็นเก่าออกได้ด้วยมีดขูดปะเก็น ให้ใช้น้ำมันเครื่องทาและขัดด้วยหินขัดน้ำมัน ข้อควรระวัง : การสึกหรอของผิวหน้าฝาสูบจะเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาดังต่อไปนี้ : • น้ำ / น้ำมันเครื่องรั่ว • กำลังอัดรั่ว
  8. 1. ตรวจสอบฝาสูบด้วยบรรทัดเหล็ก 2. ตรวจสอบการแตกร้าวของฝาสูบ 3. ตรวจสอบระยะช่องว่าง 4. ตรวจสอบวาล์ว 5. ตรวจสอบสปริงวาล์ว 6. เปลี่ยนปลอกนำวาล์ว 7. ตรวจสอบบ่าวาล์ว 8. ปรับแต่งบ่าวาล์ว 9. ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยว
  9. ใช้บรรทัดเหล็กและฟิลเลอร์เกจตรวจสอบความโก่งของฝาสูบ ข้อแนะนำการบริการ : เครื่องยนต์ที่โอเวอร์ฮีทอาจเป็นผลให้ฝาสูบโก่งได้
  10. ใช้น้ำยาตรวจหารอยแตกร้าวเพื่อหารอยแตกร้าวและตรวจสอบฝาสูบ ข้อแนะนำการบริการ : เครื่องยนต์ที่มีการโอเวอร์ฮีทหรือเครื่องยนต์ที่มีการน็อคอย่างรุนแรงอาจทำให้ฝาสูบแตกร้าวได้ • เปลี่ยนฝาสูบถ้ามีรอยแตกร้าวหรือเสียหาย
  11. มีหลายตำแหน่งบนฝาสูบที่จะต้องทำการวัดระยะห่างช่องว่างน้ำมัน 1. ระยะห่างปลอกนำวาล์ว 2. ระยะห่างลูกถ้วยยกวาล์ว 3. ระยะรุนเพลาลูกเบี้ยว 4. ช่องว่างน้ำมันเพลาลูกเบี้ยว
  12. 1. ระยะห่างปลอกนำวาล์ว ใช้คาลิปเปอร์เกจวัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในของปลอกนำวาล์ว และใช้ไมโครมิเตอร์วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกของก้านวาล์ว และหลังจากนั้นคำนวณหาระยะห่างช่องว่างน้ำมัน
  13. 2. ระยะห่างลูกถ้วยกดวาล์ว ใช้คาลิปเปอร์เกจวัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในของเบ้าลูกถ้วยกดวาล์ว และใช้ไมโครมิเตอร์วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกของลูกถ้วยกดวาล์ว และหลังจากนั้นคำนวณหาระยะห่างช่องว่างน้ำมัน
  14. 3. ระยะรุนเพลาลูกเบี้ยว ใช้ไดอัลเกจและไขควงปากแบนวัดระยะรุนเพลาลูกเบี้ยว
  15. 4. ช่องว่างน้ำมันเพลาลูกเบี้ยว ใช้พลาสติกเกจวัดระยะห่างช่องว่างน้ำมัน
  16. 1. การตรวจสอบด้วยตาเปล่า ตรวจสอบคราบเขม่าที่เกาะอยู่บริเวณหน้าวาล์ว และตรวจสอบหาคราบน้ำมันเครื่องที่ผ่านแหวนลูกสูบหรือปลอกนำวาล์วออกมา ข้อแนะนำการบริการ : ถ้าหากมีคราบเขม่าเกาะอยู่บริเวณหน้าวาล์ว อาจเกิดขึ้นจากมีน้ำมันรั่วผ่านแหวนลูกสูบขึ้นมายังวาล์ว ดังนั้น ให้ตรวจสอบระยะห่าง ช่องว่างน้ำมันลูกสูบ และแหวนลูกสูบ • ถ้าหากมีคราบเขม่าเกาะอยู่บริเวณด้านหลังวาล์ว อาจเกิดขึ้นจากมีน้ำมันรั่วผ่านปลอกนำวาล์วเข้ามายังวาล์ว ดังนั้น ให้ตรวจสอบ ระยะห่างช่องว่างน้ำมันปลอกนำวาล์ว
  17. 2. วัดขนาด ใช้เวอร์เนียคาลิปเปอร์ และไมโครมิเตอร์ตรวจสอบตำแหน่งต่อไปนี้ (1) ความยาวของวาล์ว (2) วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกของวาล์ว (3) วัดความหนาของขอบวาล์ว ข้อแนะนำการบริการ : เปลี่ยนวาล์วถ้าค่าที่วัดได้ต่ำกว่าค่ามาตรฐาน
  18. 1. ตรวจเช็คสภาพของสปริง (1) ตรวจเช็คความยาวอิสระ (2) ตรวจเช็คความเอียงสปริงวาล์ว
  19. 2. ตรวจเช็คความตึง ใช้เครื่องมือทดสอบสปริงวัดแรงกดสปริงที่ระยะความยาวกำหนดมาตรฐาน แรงกดสปริงเมื่อติดตั้ง : แรงกดเมื่อความยาวของสปริงวาล์วอยู่ในสภาพที่ติดตั้งบนฝาสูบ แรงกดสูงสุด : แรงกดเมื่อความยาวของสปริงถูกกดลงในสภาวะที่รับแรงอัดภายใต้การทำงานที่แท้จริง ข้อแนะนำการบริการ : เปลี่ยนสปริงวาล์วถ้าแรงกดขณะติดตั้งไม่เป็นไปตามค่ากำหนด
  20. ปลอกนำวาล์วจะสามารถเปลี่ยนได้อย่างง่ายโดยการต้มให้ร้อนก่อนเพื่อให้ฝาสูบขยายตัว 1. ถอดปลอกนำวาล์ว (1) ให้ความร้อนแก่ฝาสูบ 80° ถึง 100°C (176° ถึง 212°F) ข้อควรระวัง : ฝาสูบอาจเสียรูปได้ถ้าหากได้รับความร้อนสูงเกินไป (2) ใช้เครื่องมือพิเศษและค้อนตอกปลอกนำวาล์วออกทางด้านห้องเผาไหม้
  21. 2. วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในรูปลอกนำวาล์วโดยใช้คาลิปเปอร์เกจ ข้อแนะนำการบริการ : ถ้าค่าที่วัดได้สูงกว่าค่ามาตรฐานให้ทำการคว้านรูปลอกนำวาล์วเป็นขนาดโอเวอร์ไซด์ เพื่อให้สามารถใส่วาล์วโอเวอร์ไซด์ลงไปได้
  22. 3. เคาะ ปลอกนำวาล์ว (1) ให้ความร้อนแก่ฝาสูบ 80° ถึง 100°C (176° ถึง 212°F) (2) ใช้เครื่องมือพิเศษ และค้อนตอกปลอกนำวาล์วเบาๆ ลงไปบนฝาสูบจากทางด้านบน ข้อแนะนำการบริการ : ขณะที่ทำการตอกปลอกนำวาล์วให้ใช้เวอร์เนียคาลิปเปอร์วัดระยะความสูงของปลอกนำวาล์วด้วย
  23. 4. ขูดเศษเหล็ก ใช้รีมเมอร์คว้านปลอกนำวาล์ว
  24. ตรวจเช็คผิวหน้าสัมผัสระหว่างวาล์วและบ่าวาล์ว (1) ทาสีน้ำเงินอมเขียวบางๆ ( หรือขาวตะกั่ว ) รอบๆผิวหน้าสัมผัสของวาล์ว (2) กดวาล์วให้แนบลงกับบ่าวาล์ว (3) ตรวจเช็คว่าสีน้ำเงินอมเขียว ( หรือสีขาวตะกั่ว ) เกาะติดอยู่กับบ่าวาล์ว ตรวจสอบความกว้างหน้าสัมผัสและตำแหน่ง ถ้าหน้าสัมผัสบ่าวาล์วกว้างเกินไปจะทำให้คราบเขม่าเกาะบ่าวาล์วได้ง่ายและทำให้บ่าวาล์วรั่ว ตรงกันข้ามถ้าหน้าสัมผัสแคบเกินไปจะทำให้บ่าวาล์วสึกหรอไม่เท่ากัน ข้อควรระวัง : อย่าทาสีน้ำเงินอมเขียว ( หรือสีขาวตะกั่ว ) มากเกินไป • ขณะกดวาล์วให้แนบลงกับบ่าวาล์วอย่าหมุนวาล์ว • การตรวจสอบจะไม่สามารถกระทำได้ถ้าหากวาล์วคดหรือปลอกนำวาล์วมีระยะห่างช่องว่างน้ำมันมากเกินไป
  25. 1. ซ่อมบ่ารองวาล์ว (1) มีดปาดบ่าวาล์วสามารถเปลี่ยนตำแหน่งหน้าสัมผัสบ่าวาล์วได้ (2) ความกว้างหน้าสัมผัสที่ถูกต้องให้เทียบกับค่ามาตรฐาน ข้อควรระวัง : ให้หยุดปาดบ่าวาล์วเป็นระยะๆ เพื่อดูความแตกต่างของหน้าสัมผัสบ่าวาล์วในแต่ละครั้ง • อย่าหมุนวาล์วกลับทิศทางขณะที่กดลงบนบ่าวาล์ว • ตรวจเช็คตำแหน่งหน้าสัมผัสและความกว้างขณะทำการปาดบ่าวาล์ว • หากหน้าสัมผัสเป็นร่องหรือกินหน้าสัมผัสเป็นช่วงๆ ให้ลดแรงในการปาดบ่าวาล์วลง
  26. 2. บดวาล์ว (1) หลังจากทำการปาดบ่าวาล์วทาบ่าวาล์วด้วยกากเพชร (2) ดันวาล์วขึ้นลงด้วยไม้บดวาล์วและให้วาล์วสัมผัสกับบ่าวาล์ว ข้อควรระวัง : ขณะกดวาล์วให้แนบลงกับบ่าวาล์วอย่าหมุนวาล์ว (3) หลังจากที่ทำตามข้อ 2 เรียบร้อยแล้วทำความสะอาดกากเพชรออกจากวาล์วและบ่าวาล์ว 3. ตรวจเช็ค ตรวจเช็คหน้าสัมผัสวาล์วและบ่าวาล์วอีกครั้ง
  27. ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยวตามจุดต่างๆ ดังต่อไปนี้ : ตรวจสอบเพลาลูกเบี้ยวตามจุดต่างๆ ดังต่อไปนี้ : 1. ตรวจเช็คความคดงอของเพลา 2. ตรวจเช็คความสูงยอดแคม 3. ตรวจเช็คข้อเพลาลูกเบี้ยว ข้อแนะนำการบริการ : ลูกเบี้ยวที่สึกหรอจะทำให้เกิดเสียงดังและเป็นเหตุให้วาล์วไอดีและไอเสียเปิดและปิดไม่ตรงกับจังหวะการทำงาน • ถ้าค่าที่วัดได้ไม่อยู่ในค่ากำหนดให้เปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยว
  28. 1. ตรวจเช็คความคดงอของเพลา วางเพลาลูกเบี้ยวบน วี - บล็อคและใช้ไดอัลเกจวัดความคดงอของเพลาลูกเบี้ยว
  29. 2. ตรวจเช็คความสูงยอดแคม ใช้ไมโครมิเตอร์วัดความสูงของแคม
  30. 3. ตรวจเช็คข้อเพลาลูกเบี้ยว ใช้ไมโครมิเตอร์วัดข้อเพลาลูกเบี้ยว
  31. 1. ติดตั้งซีลน้ำมันหมวกวาล์ว 2. ติดตั้งวาล์ว 3. ติดตั้งลูกถ้วยกดวาล์ว
  32. 1. ติดตั้งบ่ารองสปริงวาล์ว 2. ติดตั้งซีลน้ำมันหมวกวาล์ว (1) ทาน้ำมันเครื่องบริเวณผิวหน้าด้านในของซีลน้ำมันหมวกวาล์ว (2) จัดซีลน้ำมันหมวกวาล์วเข้ากับเครื่องมือพิเศษ (3) ดันซีลน้ำมันหมวกวาล์วให้ตรงเข้ากับปลอกนำวาล์ว ข้อควรระวัง : ซีลน้ำมันหมวกวาล์วของวาล์วไอดีและวาล์วไอเสียมีสีไม่เหมือนกัน ถ้าติดตั้งผิดจะทำให้เกิดความเสียหายได้ • ซีลน้ำมันหมวกวาล์วของวาล์วไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ในการติดตั้งต้องใช้ซีลน้ำมันหมวกวาล์วตัวใหม่
  33. ติดตั้งวาล์วกลับตำแหน่งเดิมตามลำดับดังนี้ 1. ทาน้ำมันเครื่องบริเวณก้านวาล์วแลัวสอดเข้าไปในรูของปลอกนำวาล์วจากทางด้านห้องเผาไหม้ 2. ตรวจสอบการเคลื่อนตัวของวาล์วว่าเป็นไปอย่างราบเรียบ 3. ติดตั้งสปริงวาล์ว และบ่ารองสปริง 4. จัดเครื่องมือพิเศษเข้ากับบ่ารองสปริงวาล์ว 5. หมุนเครื่องมือพิเศษอัดสปริงวาล์วลงไปจนกระทั่งสามารถติดตั้งประกับวาล์วได้ 6. เพื่อป้องกันไม่ให้ประกับวาล์วหล่นออกมาเมื่อประกอบให้ทาจาระบีที่ประกับวาล์วก่อนประกอบ 7. ถอดเครื่องมือพิเศษกดสปริงวาล์ว
  34. 8. หลังจากถอดเครื่องมือพิเศษแล้ว ใช้วาล์วเก่าวางบนวาล์วที่ติดตั้งแล้ว เคาะด้วยค้อนพลาสติกเพื่อให้วาล์วเข้าที่ ข้อควรระวัง : ก่อนทำการเคาะให้ใช้ผ้าสะอาดคลุมก่อนเพื่อป้องกันประกับวาล์วกระเด็นออกมาถ้าหากติดตั้งไม่ดี