SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  126
Télécharger pour lire hors ligne
วิเคราะหรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ
ตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต
วิทยานิพนธ
ของ
ภัสรธีรา ฉลองเดช
เสนอตอมหาวิทยาลัยทักษิณ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย
ธันวาคม 2548
ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยทักษิณ
ISBN 974 – 451 – 802 – 2
คณะกรรมการควบคุมและคณะกรรมการสอบ ไดพิจารณาวิทยานิพนธฉบับนี้แลว
เห็นสมควรรับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอก
ภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยทักษิณได
คณะกรรมการควบคุม
...........................................................................ประธานกรรมการ
( ผูชวยศาสตราจารยจําเริญ แสงดวงแข )
...........................................................................กรรมการ
( ผูชวยศาสตราจารยนิดา มีสุข )
คณะกรรมการสอบ
...........................................................................ประธานกรรมการ
( ผูชวยศาสตราจารยจําเริญ แสงดวงแข )
...........................................................................กรรมการ
( ผูชวยศาสตราจารยนิดา มีสุข )
...........................................................................กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติม
( รองศาสตราจารยยุรฉัตร บุญสนิท )
...........................................................................กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติม
( อาจารยบัวงาม หอแกว )
มหาวิทยาลัยทักษิณอนุมัติใหรับวิทยานิพนธฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตาม
หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยทักษิณ
...............................................รักษาการในตําแหนงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
( อ.ดร.สมศักดิ์ โชคนุกูล )
วันที่ ........... เดือน ...ธันวาคม.. พ.ศ. ..2548...
ประกาศคุณูปการ
วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี เพราะความกรุณาและการอนุเคราะหจาก
ผูชวยศาสตราจารยจําเริญ แสงดวงแข ประธานกรรมการควบคุมวิทยานิพนธและ
ผูชวยศาสตราจารยนิดา มีสุข กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ ที่ไดใหคําแนะนําและขอคิดเห็น
สําคัญยิ่งหลายประการ แกไขขอบกพรองตางๆ ตลอดจนตรวจแกสํานวนภาษา เพื่อใหสามารถ
สื่อสารไดดียิ่งขึ้น ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งและขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้
ขอกราบขอบพระคุณรองศาสตราจารยยุรฉัตร บุญสนิท และอาจารยบัวงาม หอแกว
กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติมที่ไดใหคําแนะนําเพื่อปรับปรุงแกไขวิทยานิพนธใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น
ตลอดจนขอกราบขอบพระคุณคณาจารย ภาควิชาภาษาไทยฯ ทุกทานของมหาวิทยาลัยทักษิณที่ได
ประสิทธิ์ประสาทความรูแกผูวิจัย
ขอขอบพระคุณ คุณสุเทพ อินทรัตน คุณซมา โยะหมาด คุณดวงฤทัย ชํานาญเพาะ
วาที่รอยตรีสมศักดิ์ หลังชาย และเพื่อนครูโรงเรียนบานวังสายทอง ที่ไดใหโอกาส สนับสนุน
และใหความชวยเหลือแกผูวิจัยดวยดีเสมอมา
ขอขอบคุณปยมิตรทั้งสาม คือ คุณสายพิมพ แกลวทนงค คุณสมพิส พรหมทอง และ
คุณศุภวรรณ มีแกว นิสิตปริญญาโทวิชาเอกภาษาไทย ภาคพิเศษ ป 2545 ที่คอยชวยเหลือและ
เปนกําลังใจแกผูวิจัยมาโดยตลอด
ขอขอบพระคุณ คุณธีระยุทธ ชาตรี คุณอมรรัตน ชมเชย คุณสายสวาท บินรินทร
คุณสําเริง ทองสง คุณนิยอ บาฮา ที่เปนเพื่อนคอยรับฟงเรื่องราวตางๆ และใหกําลังใจ สนับสนุน
จนกระทั่งผูวิจัยประสบความสําเร็จ
ขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยนายแพทยพีระพัฒน หวันดะหวา ที่เปนกําลังใจ คอย
ใหคําปรึกษา พรอมทั้งใหคําแนะนํา ขอคิดตางๆ ที่เปนประโยชนแกผูวิจัยตลอดมา
คุณคาและประโยชนใดๆ อันพึงมีจากวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยขอมอบเปนกตัญูกตเวทิตาแด
คุณแมอารีย พันราย คุณพอนพดล ฉลองเดช ผูวางรากฐานสงเสริมสนับสนุนทางดานการศึกษา
และมอบแตสิ่งที่ดีงามใหแกผูวิจัย โดยเฉพาะคุณแมผูเปนผูรวมทุกขรวมสุขเคียงขางผูวิจัยมาตลอด
ทําใหผูวิจัยสามารถประสบความสําเร็จทางดานการศึกษาและหนาที่การงานไดอยางเต็มภาคภูมิใน
ทุกวันนี้
ภัสรธีรา ฉลองเดช
สารบัญ
บทที่ หนา
1 บทนํา .............................................................................................................................. 1
ภูมิหลัง ........................................................................................................................ 1
ความมุงหมายของการศึกษาคนควา ............................................................................ 5
ความสําคัญของการศึกษาคนควา ................................................................................ 5
ขอตกลงเบื้องตน ......................................................................................................... 5
ขอบเขตการศึกษาคนควา ............................................................................................ 6
ขอบเขตดานขอมูล ................................................................................................. 6
ขอบเขตดานเนื้อหา ................................................................................................ 6
นิยามศัพทเฉพาะ ......................................................................................................... 7
วิธีดําเนินการศึกษาคนควา ............................................................................................ 7
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควา ...................................................... 9
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี ................................................................ 9
เอกสารที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี ............................................................................... 9
งานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี .............................................................................. 17
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล ......................................... 22
เอกสารที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล ....................................................... 22
งานวิจัยที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล ....................................................... 24
3 การวิเคราะหรสและองคประกอบของรสวรรณคดีในนิทานเวตาล ................................ 26
ศฤงคารรสและองคประกอบของรส .......................................................................... 27
หาสยรสและองคประกอบของรส ............................................................................. 42
กรุณารสและองคประกอบของรส ............................................................................. 46
เราทรรสและองคประกอบของรส ............................................................................ 55
วีรรสและองคประกอบของรส .................................................................................. 65
ภยานกรสและองคประกอบของรส ........................................................................... 73
พีภัตสรสและองคประกอบของรส ............................................................................ 78
บทที่ หนา
อัทภูตรสและองคประกอบของรส ............................................................................ 79
ศานตรสและองคประกอบของรส ............................................................................. 87
4 บทยอ สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ................................................................ 106
บทยอ .................... ................................................................................................... 106
สรุปผล ..................................................................................................................... 108
อภิปรายผล ............................................................................................................... 111
ขอเสนอแนะ .............................................................................................................. 112
บรรณานุกรม ...................................................................................................................... 113
บทคัดยอ ............................................................................................................................. 116
ประวัติยอผูวิจัย ................................................................................................................... 121
1
บทที่ 1
บทนํา
ภูมิหลัง
วรรณคดีถือเปนบทประพันธที่แสดงถึงความรูสึกนึกคิดและจินตนาการของผูประพันธ
ทําใหผูอานเกิดความรูสึกประทับใจ เกิดจินตนาการ กอใหเกิดสุนทรียะทางอารมณ สรางความ
เพลิดเพลินสนุกสนาน ทั้งยังชวยสอนใจเราทางออม ทําใหเราไดเห็นชีวิตและแงของชีวิตที่แปลก
แตกตางไป นอกจากนั้น การที่ผูประพันธเลือกเฟนถอยคําตางๆ มาใชในวรรณคดีแตละเรื่อง
ยังทําใหผูอานไดรับรสวรรณคดีอยางสมบูรณ
วรรณคดีไทยไดรับอิทธิพลตางๆ จากหลายชาติ หลายประเทศไมวาจะเปนจีน ชวา
อาหรับ ตะวันตก อินเดียก็เปนอีกชาติหนึ่งที่ไทยไดรับอิทธิพล กุสุมา รักษมณี ไดกลาวถึง
อิทธิพลของวรรณคดีอินเดียไววา
วรรณคดีไทยไดแสดงใหเห็นอิทธิพลจากวัฒนธรรมและความเชื่อตางๆ ของอินเดีย ดังจะ
เห็นไดจากรูปแบบและเนื้อหาของวรรณคดีหลายเรื่อง ทรรศนะของกวีและผูอานที่ถือวา
วรรณคดีเปนงานที่สูงสง ความเชื่อตางๆ ที่เปนกรอบของเนื้อหาในวรรณคดีและความนิยม
ประดับประดาวรรณคดีดวยความงามของภาษา ลวนเปนลักษณะที่เหมือนกันในวรรณคดี
ไทยและวรรณคดีอินเดีย1
การศึกษาคุณคาวรรณคดีของไทยนั้น สามารถศึกษาไดหลายแนวทาง แนวทางหนึ่ง คือ
การศึกษาอลังการศาสตรตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤตซึ่งถือวา “สิ่งที่ทําใหวรรณคดีมีคุณคา คือ
สิ่งที่ประดับตกแตงวรรณคดี เชน ถอยคําที่งดงามและไพเราะเชนเดียวกับอลังการที่ประดับ
รางกายมนุษย”2
สวนแนวคิดในการศึกษาวรรณคดีของอินเดีย กุสุมา รักษมณี ไดใหขอสรุปไวดังนี้
วรรณคดีสันสกฤตมีทฤษฎีที่สําคัญอยู 8 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีรส วาดวยอารมณของผูอาน
ทฤษฎีอลังการ วาดวยความงามในการประพันธ ทฤษฎีคุณ วาดวยลักษณะเดนในการ
1
กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534. หนา 1.
2
แหลงเดิม. หนา 21.
2
ประพันธ ทฤษฎีรีติ วาดวยลีลาในการประพันธ ทฤษฎีธวนิ วาดวยความหมายแฝงใน
การประพันธ ทฤษฎีวโกรกติ วาดวยภาษาในการประพันธ ทฤษฎีอนุมิติ วาดวยการ
อนุมานความหมายในการประพันธและทฤษฎีเอาจิตยะ วาดวยความเหมาะสมในการ
ประพันธ 1
ทฤษฎีรสในวรรณคดีสันสกฤตเปนการศึกษาปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดขึ้นในใจของผูอาน
เมื่อไดรับรูอารมณที่กวีถายทอดไวในวรรณคดี กุสุมา รักษมณี กลาวถึงทฤษฎีรสตามความเห็น
ของนักวรรณคดีสันสกฤตไววา
วรรณคดีเกิดขึ้นเมื่อกวีมีอารมณสะเทือนใจ แลวถายทอดความรูสึกนั้นออกมาในบท
ประพันธ อารมณนั้นจะกระทบใจผูอาน ทําใหเกิดการรับรูและเกิดปฏิกิริยาทางอารมณ
เปนการตอบสนองสิ่งที่กวีเสนอมา รสจึงมีความรูสึกที่เกิดขึ้นในใจของผูอาน มิใชสิ่งที่
อยูในวรรณคดีซึ่งเปนเพียงอารมณที่กวีถายทอดลงไวและเปนตัวทําใหเกิดรสเทานั้น2
ในดานการรับรูภาวะตางๆ ของผูอานนั้น กุสุมา รักษมณี ไดอธิบายไววา
เมื่อผูอานไดรับรูภาวะ ซึ่งก็คือ อารมณตางๆ ที่กวีแสดงไวในผลงาน มีดวยกัน 9 ภาวะ
ดังนี้ ความรัก (รติ) ความขบขัน (หาสะ) ความทุกขโศก (โศกะ) ความโกรธ (โกรธะ)
ความมุงมั่น (อุตสาหะ) ความนากลัว (ภยะ) ความนารังเกียจ (ชุคุปสา) ความนาพิศวง
(วิสมยะ) และความสงบ ( ศมะ) ผูอานก็จะเกิดอารมณตอบสนองตอภาวะนั้น เรียกวา
“รส” ซึ่งมี 9 รสเทากับจํานวนภาวะและสัมพันธกับแตละภาวะดังนี้ ความซาบซึ้งในความ
รัก (ศฤงคารรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะรัก ความสนุกสนาน (หาสยรส) เปน
อารมณตอบสนองภาวะขบขัน ความสงสาร (กรุณารส) เปนอารมณตอบสนองภาวะทุกข
โศก ความแคนเคือง (เราทรรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะโกรธ ความชื่นชมในความ
กลาหาญ (วีรรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะมุงมั่นในการตอสู ความเกรงกลัว (ภยานก
รส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนากลัว ความเบื่อระอา ชิงชัง (พีภัตสรส) เปนอารมณ
1
กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534.
หนา 21.
2
แหลงเดิม. หนา 22.
3
ตอบสนองภาวะนารังเกียจ ความอัศจรรยใจ (อัทภูตรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนา
พิศวง และความสงบใจ (ศานตรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะสงบ1
การวิเคราะหรสวรรณคดีไทยตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตจึงเปนแนวทางหนึ่งที่
นาสนใจศึกษา แตเทาที่ผานมา การวิเคราะหวรรณคดีไทยในแนวดังกลาวยังมีผลการวิเคราะหที่ไม
นาพอใจนัก ดังที่กุสุมา รักษมณี กลาวไววา
การวิเคราะหรสในวรรณคดีไทยก็เปนอีกแนวทางหนึ่งที่นิยมกันมาแตมักจะเปนการ
กลาวถึงอยางผิวเผินมากกวาเปนการวิเคราะหองคประกอบของรสอยางละเอียด คงจะเปน
เพราะตําราอลังการศาสตรเทาที่มีในภาษาไทยไดกลาวถึงเรื่องรสไวอยางพอสังเขปเทานั้น
การศึกษาลักษณะนี้ไมไดชวยใหเขาใจวรรณคดีมากขึ้นสักเทาใด เพราะเปนการชี้วา
เนื้อหาตอนใดแสดงอารมณของกวีเปนอยางไร และตรงกับรสใดเทานั้น และนอกจากนั้น
ก็เปนการแสดงความรูสึกของผูอานอยางกวางๆ เชน เนื้อหาตอนใดทําใหเกิดความรูสึก
อยางไรหรืออานจบแลวมีความประทับใจอยางไร วิธีนี้ชวนใหเขาใจไดวาเปนการ
วิเคราะหตามแนวคิดของคนโบราณซึ่งใชความรูสึกเปนเครื่องตัดสิน ยังไมมีหลักเกณฑที่
แนนอน อันที่จริง การศึกษาอารมณในวรรณคดีไมวาจะเปนอารมณของกวีหรือผูอานยัง
มีแงมุมที่นาพิจารณาอีกมากมาย แตเทาที่ผานมานั้นยังไมปรากฏผลเปนที่นายินดีนัก
นาจะเปนเพราะยังไมไดใชประโยชนจากทฤษฎีรสอยางเต็มที่นั่นเอง2
รื่นฤทัย สัจจพันธุ 3
กลาวถึงวรรณคดีอินเดียที่มีอิทธิพลตอวรรณคดีไทย สรุปไดวา มี
6 ประเภท คือ วรรณคดีศาสนา วรรณคดีมหากาพย วรรณคดีบทละคร หนังสือปุราณะ นิทาน
นิยาย และเบ็ดเตล็ด ทั้งนี้ รื่นฤทัย สัจจพันธุ4
ไดกลาวถึงนิทานเวตาลสรุปไดวา เปนวรรณคดีที่
จัดอยูในประเภทนิทานนิยาย โดยอินเดียนั้นไดชื่อวาเปนเทพเจาแหงการเลานิทานแบบซอนนิทาน
( Tales within tales) ซึ่งวิธีการนี้ไดเผยแพรออกไปยังประเทศเพื่อนบานอยางเชน อาหรับและ
เปอรเซีย ก็นิยมการเลานิทานไมแพอินเดีย
1
กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534. หนา
23.
2
แหลงเดิม. หนา 3-4.
3
รื่นฤทัย สัจจพันธุ. “อิทธิพลวรรณคดีอินเดีย,” ภาษาไทย 4 (หนวยที่ 8 – 15). 2526.
หนา 308.
4
แหลงเดิม. หนา 325.
4
ปญญา บริสุทธิ์ กลาวถึงนิทานเวตาลไววา
นิทานเวตาลเปนวรรณคดีประเภทรอยแกวในรูปของนิทาน เปนผลงานของ น.ม.ส.
หรือ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ซึ่งทรงแปลมาจากฉบับภาษาอังกฤษชื่อ “Vikram and the
Vampire” ซึ่ง Sir Richard Burton แปลจากฉบับภาษาสันสกฤตเปนจํานวน 11 เรื่องจาก
ของเดิม 25 เรื่อง ( เวตาลปญจวิมศติ ) สวนนิทานเวตาลพากยไทยของ น.ม.ส.นั้นมีเพียง
10 เรื่อง แตงเปนรอยแกวผสมคําประพันธบางตอนเปนฉันท นับวาเปนนิทานที่นอกจาก
จะสนุกสนานแลว ยังเปนการลับสติปญญาของผูอานอีกดวย เพราะมีปญหาชวนใหคิด
ไดหลายอยางวาคําตอบที่ถูกตองคืออะไร1
วรรณคดีเรื่องนิทานเวตาลนั้น นอกจากจะใหความสนุกสนานเพลิดเพลิน และลับ
สติปญญาของผูอานแลว ยังดีในแงของการใชคําและโวหารตางๆ อีกทั้งยังมีรสวรรณคดีซึ่งเปน
ภาษาวรรณศิลปตามแบบฉบับวรรณคดีสันสกฤตอีกดวย ปญญา บริสุทธิ์ ไดกลาวถึงเรื่องนี้
ไววา
นิทานเวตาลนี้ดีในแงของการใชคําในภาษารอยแกว โดยเฉพาะในพากยไทยนี้ ทานผูแปล
ไดใชโวหารอันคมคายและไพเราะในทางพรรณนาโวหารอยางเดนชัดที่สุดทําใหเกิดจินต
ภาพและภาพพจนมากมายหลายแหงยากที่หนังสือนิทานอื่นๆ ในประเภทเดียวกันจะมี
คุณคาเสมอเหมือน ทั้งนี้ก็เพราะหนังสือนิทานโดยทั่วไปมักจะมุงเลาเรื่องเปนเกณฑ แต
การใชภาษาวรรณศิลปเกือบจะไมถือเปนเรื่องสําคัญเลย สวนนิทานเวตาลเปนหนังสือ
สําหรับผูใหญหรือคนประเภทมีความรูอานจึงตางกับนิทานธรรมดา ดวยเหตุนี้นิทาน
เวตาลจึงตองอาศัยภาษาวรรณศิลปเปนเครื่องประกอบอยางสําคัญ เพื่อใหเกิดความจับใจ
แกผูอานที่มีความรู อีกประการหนึ่งขอที่ควรสังเกตก็คือ เรื่องเดิมในภาษาสันสกฤตมี
วิธีการเขียนที่ละเมียดละไมและแพรวพราวดวยภาษาวรรณศิลปตามแบบฉบับวรรณคดี
สันสกฤตโดยทั่วไป เมื่อเปนดังนี้ฉบับภาษาไทยก็ตองมีวิธีเขียนเลียนแบบสันสกฤตดวย
ดวยเหตุนี้นิทานเวตาลจึงมีคุณคาถึง 2 อยางคือ เนื้อเรื่องดีอยางหนึ่ง และการใชภาษามี
อลังการที่เดนชัดอีกอยางหนึ่ง2
1
ปญญา บริสุทธิ์. วิเคราะหวรรณคดีไทยโดยประเภท. 2542. หนา 38.
2
แหลงเดิม. หนา 38-39.
5
จากความนาสนใจทั้งเนื้อหาและภาษาที่ใชในวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาลกับทฤษฎีรส
วรรณคดีสันสกฤต ประกอบกับการวิเคราะหรสวรรณคดียังมีงานอยูนอยมาก ผูวิจัยจึงไดสนใจ
วิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดย
จะวิเคราะหทั้ง 9 รสวรรณคดีพรอมองคประกอบดานตางๆของแตละรสอยางละเอียดลึกซึ้ง
ความมุงหมายของการศึกษาคนควา
เพื่อวิเคราะหรสและองคประกอบของรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธ
กรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยใชทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต
ความสําคัญของการศึกษาคนควา
ผลของการศึกษาคนความีความสําคัญดังตอไปนี้
1. ทําใหเขาใจถึงรสวรรณคดีสันสกฤตและองคประกอบของแตละรสวรรณคดีที่ปรากฏ
ในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณไดอยางลึกซึ้ง อันนําไปเปนแนวทาง
การศึกษารสวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตที่ปรากฏในวรรณคดีไทยเรื่องอื่นๆ ตอไป
2. สามารถนําหลักการวิเคราะหไปปรับปรุงประยุกตใชในการเรียนการสอน การศึกษา
เรื่องทฤษฎีรสวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสฤตที่ปรากฏในวรรณคดีสําหรับนักเรียนและผูที่
สนใจศึกษาคนควา
3. ผลของการศึกษาคนควาทําใหเขาใจอารมณความรูสึกที่กวีถายทอดออกมาพรอมทั้ง
เขาใจปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดขึ้นในใจของผูอานอยางละเอียดและมีหลักเกณฑแนนอนอันเปน
การใชประโยชนจากทฤษฎีรสอยางเต็มที่ในการศึกษาอารมณความรูสึกของกวีและผูอานวรรณคดี
ไทยเรื่องอื่นๆ
4. ชวยใหผูสนใจไดประจักษในคุณคาของวรรณคดีไทยในแงของรสวรรณคดีมากขึ้น
ขอตกลงเบื้องตน
การอางอิงขอความจากหนังสือวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยา
ลงกรณ ซึ่งจัดพิมพโดยสํานักพิมพศิลปาบรรณาคาร ป พ.ศ.2511 ผูวิจัยใชวิธีการอางอิงโดยการ
บอกเลขหนาไวในวงเล็บใตขอความที่ยกมา เชน
6
สักครูหนึ่งถึงกลางปาชา พระราชาทอดพระเนตรเห็นสิ่งซึ่งนาเปนที่รังเกียจตางๆ อยูลอม
กองไฟซึ่งไดเผาศพใหมๆ ภูตผีปศาจปรากฏแกตา รอบขางเสือคํารามอยูก็มี ชางฟาดงวง
อยูก็มี หมาไนซึ่งขนเรืองๆ อยูในที่มืดก็กินซากศพ ซึ่งกระจัดกระจายเปนชิ้นเปนทอน
หมาจิ้งจอกก็ตอสูกันแยงอาหาร คือเนื้อแลกระดูกมนุษย หมีก็ยืนเคี้ยวกินตับแหงทารก
( หนา 33)
พระราชบุตร ไดฟงพุทธิศริระสําแดงความรอนใจ ดังนั้นก็สิ้นความอ้ําอึ้ง พระหัตถจับมือ
พุทธิศริระ น้ําพระเนตรตกตรัสวา “ชายใดเขาเดินในทางแหงความรักชายนั้นจะรอดชีวิตไปมิได
หรือถายังไมสิ้นชีวิต ชีวิตก็มิใชอื่น คือความทุกขที่ยืดยาวออกไปนั่นเอง”
( หนา 51)
ขอบเขตของการศึกษาคนควา
ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่น
พิทยาลงกรณ ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการวิเคราะหดังตอไปนี้
ขอบเขตดานขอมูล
ในการวิเคราะหครั้งนี้ ผูวิจัยจะวิเคราะหขอมูลดานรสวรรณคดีและองคประกอบของรส
วรรณคดีจากวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยจะวิเคราะห
นิทานทั้ง 10 เรื่องรวมทั้งตนเรื่องและปลายเรื่องดวย
ขอบเขตดานเนื้อหา
การวิเคราะหรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ
จะวิเคราะหตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต โดยวิเคราะหองคประกอบดานวิภาวะ ดานอนุภาวะ
และดานสาตตวิกภาวะ ตามลําดับรสวรรณคดีดังนี้
1. ศฤงคารรส (รสแหงความรัก)
2 หาสยรส (รสแหงความสนุกสนาน)
3 กรุณารส (รสแหงความสงสาร)
4 เราทรรส (รสแหงความแคนเคือง)
5 วีรรส (รสแหงความชื่นชมในความกลาหาญ)
6 ภยานกรส (รสแหงความเกรงกลัว)
7
7 พีภัตสรส (รสแหงความเบื่อระอา ชิงชัง)
8 อัทภูตรส (รสแหงความอัศจรรยใจ)
9 ศานตรส (รสแหงความสงบใจ)
นิยามศัพทเฉพาะ
ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่น
พิทยาลงกรณ มีคําศัพทเฉพาะที่เกี่ยวกับรสวรรณคดีซึ่งผูวิจัยจะตองนํามาใชในการวิเคราะห
ดังตอไปนี้
ศฤงคารรส คือ ความซาบซึ้งในความรัก เปนรสที่เกิดจากการมีความรักของตัวละคร
หาสยรส คือ ความสนุกสนาน เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความขบขันของตัวละคร
กรุณารส คือ ความสงสาร เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความทุกขโศกของตัวละคร
เราทรรส คือ ความแคนเคือง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความโกรธของตัวละคร
วีรรส คือ ความชื่นชม เปนรสที่เกิดจากการรับรูความมุงมั่นในการแสดงความกลาหาญ
ของตัวละคร
ภยานกรส คือ ความเกรงกลัว เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนากลัวของตัวละคร
พีภัตสรส คือ ความเบื่อ รําคาญ ขยะแขยง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนาเบื่อ นา
รังเกียจของตัวละคร
อัทภูตรส คือ ความอัศจรรยใจ เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนาพิศวงของตัวละคร
ศานตรส คือ ความสงบใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความสงบของตัวละคร
วิภาวะ คือ เหตุของภาวะที่เปนเหตุการณ บุคคลหรือสิ่งตางๆ ที่กวีกําหนดไวในเนื้อเรื่อง
ใหเปนสาเหตุทําใหเกิดภาวะตางๆ
อนุภาวะ คือ ผลของภาวะซึ่งเปนการแสดงออกของตัวละครดวยคําพูดหรืออากัปกิริยาให
รูวาเกิดภาวะอยางใดอยางหนึ่งขึ้นแกตัวละคร
สาตตวิกภาวะ คือ การแสดงออกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเปนปฏิกิริยาที่ไมสามารถบังคับ
ได
วิธีดําเนินการศึกษาคนควา
ในการวิเคราะหครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้
8
1. ขั้นรวบรวมขอมูล
1.1 ศึกษารวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับรสและองคประกอบของรสวรรณคดี
1.2 ศึกษารวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล
2. ขั้นศึกษาวิเคราะห
ผูวิจัยไดวิเคราะหรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่น
พิทยาลงกรณ โดยดําเนินการดังนี้
2.1 พิจารณาคัดเลือกเนื้อหาในนิทานแตละเรื่อง เพื่อวิเคราะหแยกเปนรสตางๆ ตาม
ทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต
2.2 พิจารณาเนื้อหาในแตละรส แลววิเคราะหองคประกอบในดานวิภาวะ อนุภาวะ
และสาตตวิกภาวะของแตละรส
3. ขั้นสรุปผล อภิปรายผลและเสนอแนะ
3.1 สรุปผลการวิเคราะหและอภิปรายผล
3.2 เสนอผลการวิเคราะหโดยวิธีพรรณนาวิเคราะห
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควา
ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธ
กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ผูวิจัย ไดจัดแบงเอกสารที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควาออกเปน 2 ประเภท
คือ
1. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี
2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี
เอกสารที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี
ผูวิจัยไดรวบรวมรสวรรณคดี เพื่อนํามาศึกษาและใชเปนแนวทางในการวิเคราะห
ทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาล ฉบับ พระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ดังตอไปนี้
กุสุมา รักษมณี 1
ไดกลาวถึงทฤษฎีรสวรรณคดีสันสฤต สรุปไดดังนี้
รส คือ ปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดขึ้นในใจของผูอาน เมื่อผูอานไดรับรูอารมณที่กวีได
ถายทอดเอาไวในวรรณคดี โดยนักวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตมีความเห็นวารส
วรรณคดีเกิดขึ้นเมื่อกวีมีอารมณสะเทือนใจ แลวถายทอดความรูสึกนั้นออกมาในบทประพันธ
อารมณนั้นจะกระทบใจผูอานทําใหเกิดการรับรูและเกิดปฏิกิริยาทางอารมณเปนการตอบสนองสิ่งที่
กวีเสนอออกมา รสจึงเปนความรูสึกที่เกิดขึ้นในใจของผูอาน มิใชสิ่งที่อยูในวรรณคดีซึ่งเปนเพียง
อารมณที่กวีถายทอดลงไวและเปนตัวทําใหเกิดรสเทานั้น
สวนรายละเอียดตาง ๆ ที่เกี่ยวกับลักษณะของรสและลําดับขั้นตอนในการเกิดรสนั้น
กุสุมา รักษมณี ไดกลาวไวสรุปไดวา อารมณตาง ๆ ที่กวีแสดงไวในผลงานเรียกวา “ภาวะ” ใน
ระยะแรกภาวะหลักมี 9 อยาง คือ ความรัก (รติ) ความขบขัน (หาสะ) ความทุกขโศก (โสกะ)
ความโกรธ (โกรธะ) ความมุงมั่น (อุตสาหะ) ความนากลัว (ภยะ) ความนารังเกียจ (ชุคุปสา)
1
กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534.
หนา 22 – 23.
10
ความนาพิศวง (วิสมยะ) และความสงบ (ศมะ) เพื่อใหผูอานสามารถรับรูวาเกิดภาวะหนึ่งขึ้นแกตัว
ละคร กวีตองแสดงเหตุของภาวะ (วิภาวะ) ไวเปนเบื้องตน ตอจากนั้นตัวละครตองแสดงผลของ
ภาวะ (อนุภาวะ) ใหรูวาเกิดภาวะหนึ่งขึ้นในใจของตัวละครแลว นอกจากนั้นยังมีการแสดงออกอีก
อยางหนึ่งเปนภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ (สาตตวิกภาวะ) สาตตวิกภาวะจึงทําหนาที่ชวยอนุภาวะ
ใหผูอานไดรับรูภาวะในใจตัวละครไดงายขึ้น เมื่อผูอานไดรับรูภาวะที่กวีแสดงไวแลวก็จะเกิด
อารมณตอบสนองตอภาวะนั้น เรียกวา “รส” ซึ่งมี 9 รส เทากับจํานวนภาวะและจะสัมพันธกับ
แตละภาวะ คือ ความซาบซึ้งในความรัก (ศฤงคารรส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะรัก ความ
สนุกสนาน (หายสยรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะขบขัน ความสงสาร (กรุณารส) เปนอารมณ
ตอบสนองตอภาวะทุกขโศก ความแคนเคือง (เราทรรส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะโกรธ
ความชื่นชมในความกลาหาญ (วีรรส) เปนอารมณตอบสนองความมุงมั่นในการตอสู ความเกรง
กลัว (ภยานกรส) เปนภาวะตอบสนองตอภาวะนากลัว ความเบื่อระอา ชิงชัง (พีภัตสรส) เปน
อารมณตอบสนองภาวะนารังเกียจ ความอัศจรรยใจ (อัทภูตรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนา
พิศวง และความสงบแหงจิตใจ สวน (ศานตรส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะสงบ
ในสวนของรสวรรณคดีสันสกฤต กุสุมา รักษมณี1
ไดกลาวไว สรุปไดวา การเกิดรส
ทั้ง 8 มีภาวะตาง ๆ เปนองคประกอบ ดังนี้
ศฤงคารรส คือ ความซาบซึ้งในความรัก เกิดจากความรัก 2 ประเภท คือ ความรักของผู
ที่ไดอยูดวยกัน (สัมโภคะ) และความรักของผูที่อยูหางจากกัน (วิประลัมภะ) ความรักแบบ
สัมโภคะนั้นมีเหตุของภาวะ (วิภาวะ) คือ การอยูกับผูที่ถูกตาตองใจ การอยูในบานเรือนหรือ
สถานที่ที่สวยงาม การอยูในฤดูกาลที่เอื้อตอการแสดงความรัก การแตงตัวงดงาม การลูบทาดวย
ของหอมและประดับดวยมาลัย การเที่ยวชมสวนหรือเลนสนุกสนาน การดูหรือฟงสิ่งที่เจริญหู
เจริญตา เปนตน การแสดงผลของภาวะ (อนุภาวะ) ไดแก พูดจาออนหวาน จริตกิริยาแชมชอย
ชมายชายตา ยิ้มแยมแจมใส เปนตน สวนความรักแบบวิประลัมภะนั้นมีเหตุของภาวะ คือ การ
พลัดพรากจากกัน การแสดงผลของภาวะ ไดแก ทาทางหมดอาลัยตายอยาก สงสัย วิตกกังวล
กระสับกระสาย พร่ํารําพัน เปนตน
1
กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534.
หนา 109.
11
หาสยรส คือ ความสนุกสนาน เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความขบขัน นาฏยศาสตร
แบงความขบขันออกเปน 2 ลักษณะ คือ ความขบขันที่เกิดแกผูอื่น หมายถึง การพูดหรือทําให
ผูอื่นขบขันซึ่งสวนมากมักจะเปนไปโดยตนเองไมรูตัว และความขบขันที่เกิดแกตนเอง รูสึกขัน
ตนเองหรือขันผูอื่น วิภาวะของความขบขัน ไดแก การแตงตัวแปลก ๆ เชน ชายแตงตัวอยางหญิง
สวมเสื้อผารุมรามรุงรัง แตงตัวผิดกาลเทศะ หรือแตงตัวมากเกินไป ฯลฯ การทําทาแปลก ๆ เชน
เดินงก ๆ เงิ่น ๆ ลมลุกคลุกคลาน หรือทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งซ้ํา ๆ ซาก ๆ ฯลฯ การพูดแปลก ๆ เชน พูด
ผิด ๆ ถูก ๆ พูดรัวจนฟงไมไดศัพท พูดดวยสําเนียงตางไปจากคนสวนใหญหรือพูดซ้ําซาก ฯลฯ
อนุภาวะไดแกการยิ้มหรือหัวเราะ ซึ่งนาฏยศาสตรกลาวไว 6 ลักษณะ คือ ยิ้มนอย ๆ ไมเห็นไรฟน
และแยมปากพอเห็นไรฟน เปนลักษณะของคนชั้นสูง หัวเราะเบา ๆ และหัวเราะเฮฮาเปนลักษณะ
ของคนชั้นกลาง หัวเราะงอหายและหัวเราะทองคัดทองแข็งเปนลักษณะของสามัญชนทั่วไป
วยภิจาริภาวะ ซึ่งเปนภาวะเสริมของความขบขัน ไดแก ความเสแสรง ความเกียจคราน หรือความ
งวงงุน ความริษยา เปนตน บางภาวะเชนความรุนแรง อาจเปนตัวแปรได รสที่ควรจะเกิดจาก
ภาวะขบขันจึงไมใช หาสยรส แตกลายเปนกรุณารสเพราะความสงสารผูถูกกระทํา
กรุณารส คือ ความสงสาร เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความทุกขโศก ซึ่งมี 3 อยาง
คือ ความทุกขโศกที่เกิดจากความอยุติธรรม เกิดจากความเสื่อมทรัพย และเกิดจากเหตุวิบัติ โดย
อาจมีภาวะเสริมคือความไมแยแส ความเหนื่อยออน ความวิตก ความโหยหา ความตื่นตระหนก
ความหลง ความออนเพลีย ความสิ้นหวัง ความอับจน ความปวยไข ความเฉยชา ความบาคลั่ง
ความสิ้นสติ ความพรั่นพรึง ความเกียจคราน ความตาย ฯลฯ วิภาวะของความทุกขโศก คือ การ
พลัดพรากพรากจากคนรักโดยไมมีโอกาสกลับมาพบกัน ทรัพยสมบัติเสียหาย ถูกแชงดา ถูกฆา
ถูกลงโทษ กักขังจองจํา ถูกจองเวร ประสบเคราะหกรรม ตกทุกขไดยาก เปนตน อนุภาวะของ
ความทุกขโศกพึงแสดงออกดวย การรองไหคร่ําครวญ แตการรองไหนั้นเปนลักษณะของคนชั้นต่ํา
และสตรีเทานั้น สําหรับคนชั้นสูงและชั้นกลางเมื่อประสบทุกขโศกจะตองกลั้นไวในใจไมรองไห
คร่ําครวญ นอกจากนั้นอาจมีอนุภาวะอื่น เชน การทอดถอนใจ ทุมทอดตัว ตีอกชกหัว ฯลฯ
หรือมีปฏิกิริยา (สาตตวิกภาวะ) เชน นิ่งตะลึงงัน ตัวสั่น สีหนาเปลี่ยน น้ําตาไหล เสียงเปลี่ยน
เปนตน
เราทรรส คือ ความแคนเคือง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความโกรธ ตัวละครผูมีความ
โกรธเปนเจาเรือน มักไดแก รากษส ทานพ คนฉุนเฉียว เปนตน อาจมีภาวะเสริม คือ ความตื่น
ตระหนก ความแคน ความหวั่นไหว ฯลฯ วิภาวะของความโกรธ ไดแก การพูดใสความ พูดให
เจ็บใจ ดูหมิ่น กลาวเท็จ อาฆาตจองเวร กลาวคําหยาบ ขมขู อิจฉาริษยา ทะเลาะทุมเถียง ตอสู
ฯลฯ อนุภาวะของความโกรธ ไดแก การเฆี่ยน ตัด ตี ฉีก บีบ ขวางทําใหเลือดตก ฯลฯ และ
12
อาจมีปฏิกิริยา คือ เหงื่อออก ขนลุก ตัวสั่น เสียงเปลี่ยน เปนตน เนื่องจากความโกรธนั้นมีหลาย
อยาง ไดแก ความโกรธที่เกิดจากศัตรู เกิดจากผูใหญ เกิดจากเพื่อนรัก เกิดจากคนรับใช และ
เกิดขึ้นเอง การแสดงความโกรธจึงมีตางกันไปดวย เชน เมื่อผูใหญทําใหโกรธ ผูแสดงพึงกมหนา
เล็กนอย มีน้ําตาคลอเบา อัดอั้นตันใจ ฯลฯ แตเมื่อคนรับใชทําใหโกรธ อาจชี้นิ้ว ตวาด ถลึงตา
ฯลฯ
วีรรส คือ ความชื่นชม เปนรสที่เกิดจากการรับรูความมุงมั่นในการแสดงความกลา
หาญอันเปนคุณลักษณของคนชั้นสูง ความกลาหาญมี 3 อยาง คือ กลาให (ทานวีระ) กลา
ประพฤติธรรมหรือหนาที่ (ธรรมวีระ) และกลารบ (รณวีระ) อาจมีภาวะเสริม คือ ความมั่นคง
ความพินิจพิเคราะห ความจองหอง ความตื่นตระหนก ความรุนแรง ความแคน ความระลึกได
ฯลฯ วิภาวะของความมุงมั่น ไดแก การเอาชนะศัตรู การบังคับอินทรียของตนได การแสดง
พละกําลัง ฯลฯ อนุภาวะของความมุงมั่น ไดแก ทาทีมั่นคง เฉลียวฉลาดในการงาน เขมแข็ง
ขะมักเขมน พูดจาแข็งขัน เปนตน
ภยานกรส คือ ความเกรงกลัว เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนากลัว ซึ่งแบงเปน 3
ประเภท คือ เกิดจากการหลอกลวง เกิดจากการลงโทษ และเกิดจากการขมขู อาจมีภาวะเสริม คือ
ความสงสัย ความหลง ความอับจน ความตื่นตระหนก ความเฉยชา ความพรั่นพรึง ความสิ้นสติ
ความตาย ฯลฯ วิภาวะของความนากลัว ไดแก การไดยินเสียงผิดปกติ การเห็นภูตผีปศาจหรือ
สัตวราย การอยูคนเดียว การไปในปาเปลี่ยวรกราง การทําผิด ฯลฯ อนุภาวะของความนากลัว
ไดแก การวิ่งหนี การสงเสียงรอง เปนตน และอาจมีปฏิกิริยา เชน อาการตะลึงงัน เหงื่อออก
ขนลุก ตัวสั่น สีหนาเปลี่ยน เสียงเปลี่ยน น้ําตาไหล หรือ เปนลม
พีภัตสรส คือ ความเบื่อ รําคาญ ขยะแขยง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนาเบื่อ นา
รังเกียจ ซึ่งมี 2 ประเภท คือ เกิดจากสิ่งนารังเกียจที่ไมสกปรก เชน เลือด และสิ่งนารังเกียจที่
สกปรก เชน อุจจาระ หนอน อาจมีภาวะเสริม คือ ความสิ้นสติ ความตื่นตระหนก ความหลง
ความปวยไข ความตาย เปนตน วิภาวะของความนาเบื่อ นารังเกียจ ไดแก สิ่งที่ไมสบอารมณ
หรือไมตองประสงค สิ่งชวนสลดใจ สิ่งสกปรก เปนตน อนุภาวะของความนาเบื่อ นารังเกียจ คือ
การทําทาทางขยะแขยง นิ่วหนา อาเจียน ถมน้ําลาย ตัวสั่น ฯลฯ
อัทภูตรส คือ ความอัศจรรยใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความนาพิศวง อันมี 2
ประเภท คือ เกิดจากสิ่งที่เปนทิพย หรืออภินิหาร และเกิดจากสิ่งที่นารื่นรมย อาจมีภาวะเสริม
คือ ความตื่นตระหนก ความหวั่นไหว ความยินดี ความบาคลั่ง ความมั่นคง เปนตน วิภาวะของ
ความนาพิศวง ไดแก การพบเห็นสิ่งที่เปนทิพย การไดรับสิ่งที่ปรารถนา การไปเที่ยวในสถานที่ที่
งดงาม นารื่มรมย เชน อุทยาน วิหาร การเห็นสิ่งที่เปนมายา หรือมีเวทมนตร ฯลฯ อนุภาวะของ
13
ความนาพิศวง คือ การทําทาประหลาดใจ หรืออุทานดวยความแปลงใจ เปนตน อาจมีปฏิกิริยา
เชน การนิ่งตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก น้ําตาไหล ฯลฯ
ศานตรส คือ ความสงบใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความสงบของตัวละคร
ศานตรสในนาฏยศาสตรก็มีแตในตนฉบับบางฉบับเทานั้น ทั้งยังมีลักษณะของการแตงเติมมากกวา
ศานตรส คงเปนอิทธิพลของคติทางพุทธที่ถือวาความสงบเปนสิ่งประเสริฐ เปนทางสูนิพพาน กวี
พุทธสวนมากจึงถือวาศานตรสเปนรสที่เดนกวารสอื่นทั้ง 8 และภาวะสงบ (ศานตะ) ก็เปนภาวะ
เดน ดังปรากฏในโศลกบทที่ 103 ซึ่งเปนสวนที่เพิ่มเขามาในนาฏยศาสตรบางฉบับวา
“ภาวะอาศัยเหตุการณของตน ๆ แลวเกิดขึ้นจากศานตะ
และเมื่อยังไมประสบเหตุการณอยางใดแลว ก็แฝงตัวอยูในศานตะนั้นเองอีก”
ดวยเหตุนี้จึงมีนักวรรณคดีบางกลุมยอมรับศานตรส แตก็ยังนับวารสมีเพียง 8 รส
เพราะถือวารสตาง ๆ ทั้ง 8 เกิดจากศานตรสอีกทีหนึ่ง จึงไมนับศานตรสรวมกับรสอื่น ๆ หากยก
ใหเปนแมแบบของรสทั้งปวง
วาคภฏ1
ผูเขียนตําราอลังการศาสตร กลาวถึงรสวรรณคดีไวในปริจเฉทที่ 5 สรุปได
ดังนี้ อาหารถาขาดเกลือก็ไมอรอยฉันใด รสก็ยอมไมไรอารมณฉันนั้น รสเปนองคประกอบที่ทําให
กาพยกลอนเดนขึ้นมี สฺถายีภาว อันวิภาว อนุภาว สาตฺวิก และ วฺยภิจารี ซึ่งนักปราชญกลาววารส
มี 9 อยาง คือ ศฺฤงคาร วีร กรุณา หาสฺย อทฺภุต ภยานก เราทฺร พีภตฺ และ ศานฺต ทั้งนี้
“ศฤงฺคาร” คือ รสของการที่สามีภรรยาปฏิบัติตอกันและกันดวยความรักใคร มี 2 ประเภท คือ
“สํโยคศฺฤงฺคาร” และ “วิปฺรลมฺภศฺฤงฺคาร” ศฺฤงฺคารทั้งสองอยางนี้เปนไปในระหวางสามีภรรยา
คูที่อยูดวยกันและคูที่พรากจากกันโดยเปนไปอยางลับหรืออยางจะแจง ในเรื่องศฺฤงฺคารนี้ “ ตัว
ละคร” ที่ทานยกยอง คือ สาวผูประกอบไปดวยรูปและเสาวภาคย มีสกุล ชํานิชํานาญ หนุม
สุภาพ พูดคําที่ทั้งไพเราะ และจริง มีเกียรติ และมีคุณความดีตาง ๆ ขณะสามีภรรยาที่รักกัน ฝายใด
ฝายหนึ่งถึงแกกรรมลง “ศฺฤงฺคาร” ชื่อ “กรุณา” ก็เกิดขึ้น (วิธีแสดง “กรุณา”) นี้ก็แตพรรณนาถึง
เรื่องที่แลวมาแลว “วีรรส” มีความเพียรเปน “สถายีภาว” และเปนสามอยางโดยที่ไดเนื่องมาแต
ความเพียรในทางธรรม การรบ หรือการใหทาน “กรุณารส” เกิดแต “สถายีภาว” คือ ความโศก
เมื่อจะใหบังเกิดรสนี้ ควรกลาวถึงการไหว การรองไห หนาซีดลง สลบ พูดถอมตัว รําพึงรําพัน
และหลั่งน้ําตา รสชื่อ “หาสฺย” นั้น ปราชญวามีความรูสึกขบขันเปน “สภายีภาว” ความขบขัน
เกิดจากการเห็นกิริยาทาทาง รางกาย หรือการแตงตัวพิลึก “อทฺภุตรส” มีความรูสึกประหลาดใจ
เปน “สภายีภาวะ” ความรูสึกประหลาดใจเกิดขึ้นดวยไดเห็นหรือไดยินถึงสิ่งที่ไมนาจะเปนไปได
1
วาคภฏ. อลังการศาสตร. แปลโดย ป.ส.ศาสตรี ม.ป.ป. หนา 28 - 30.
14
“ภยานกรส” มีความกลัวอันเกิดแตการเห็นสิ่งที่นาสยดสยองนั้น “สถายีภาว” ความกลัวนั้น
กลาวถึงลักษณะของหญิงคนชั่วเลว และเด็ก “เราทรรส” มีความโกรธเปน “สถายีภาว” ความ
โกรธก็เกิดแตการที่ศัตรูดูหมิ่น ในโอกาสนั้น “ตัวละคร” ประพฤตินาหวาดกลัว ฉุนเฉียวและไม
อดโทษ “พีภตฺสรส” มีความเกลียดชังเปน “สถายีภาว” ความเกลียดชังที่เกิดขึ้นโดยทันที พอได
ยินถึงสิ่งที่ไมชอบ และมีอาการคือถมน้ําลาย และทําหนายูยี่ เปนตน ยกเวนแตมหาบุรุษจะไมทํา
เชนนั้น สุดทาย “ศานฺตรส” มีความรูชอบอันมีอาการไมปรารถนาสิ่งใด ๆ นั้น เปน “สถายีภาว”
ความรูชอบก็เกิดแตการสละความรักความเกลียด
ประสิทธิ์ กาพยกลอน กลาวถึงลักษณะและความสําคัญของรสวรรณคดีวา
อาหารมีรสตาง ๆ กันใหความโอชะแกผูเสพฉันใด วรรณคดีก็มีรสตาง ๆ กันใหความ
โอชะแกผูอานฉันนั้น รสทั้งสองนี้แตกตางกันตรงที่รสอาหารใชลิ้นเปนเครื่องสัมผัส
เพื่อใหรูวาอาหารนั้นมีรสเปรี้ยว หวาน มัน เค็ม หรือเผ็ดอยางไร บางทีก็ใชจมูกดม
กลิ่นพิสูจนวาอาหารนั้นมีกลิ่นหอมหวนชวนกินแคไหน สวนรสวรรณคดีนั้นสัมผัส
ดวยตาและหูจากภาษากวีจึงจะรูรส และรสแหงวรรณคดีนี้เปนรสที่บอกถึงอารมณ
เพียงอยางเดียว คือ บอกอารมณออกเปนสวนปลีกยอยลงไปอีกก็จะมีอยูมากมายหลาย
ประการ เชน ความยินดี ความราเริง ความทุกขโศก ความโกรธ ความองอาจ ความ
กลัว ความเกลียด ความพิศวง และความสงบ เปนตน และถาวรรณคดีเรื่องใดขาดรส
ของวรรณคดีก็เปรียบเสมือนคนกินอาหารที่ไมมีรสแลวไมอรอยฉันใด การอาน วรรณคดี
ที่ขาดรสก็อานไมสนุกฉันนั้น แตวรรณคดีเรื่องใดจะมีรสดีหรือไมยอมขึ้นอยูกับภาษาที่
แสดงออกเปนสําคัญ ภาษากวีกับรสวรรณคดีจึงแยกจากกันไมออก1
กุหลาบ มัลลิกะมาส2
กลาวถึงองคประกอบของวรรณคดีดานการแสดงออกซึ่งมีสวน
เกี่ยวของกับอารมณสะเทือนใจอันกอใหเกิดรสวรรณคดีสรุปไดวา การแสดงออกเปนสื่อนําความ
นึกคิด ความสะเทือนใจ และจินตนาการของผูแตงออกสูผูอานอื่น และการแสดงออกที่ดีจะตองทํา
ใหผูอานมีความรูสึกและความเขาใจดีในสิ่งตอไปนี้
1. ทําใหผูอานรูสึกหรือเห็นภาพตามคําบรรยาย
2. ทําใหเห็นความเคลื่อนไหวหรือนาฏการ
1
ประสิทธิ์ กาพยกลอน. แนวทางการศึกษาวรรณคดี ภาษากวี การวิจักษและวิจารณ.
2518. หนา 116.
2
กุหลาบ มัลลิกะมาส. ความรูทั่วไปทางวรรณคดีไทย. 2531. หนา 13.
15
3. เผยใหเห็นบุคลิกภาพและนิสัยใจคอของตัวละครในเรื่อง
4. ชวยใหเกิดความหยั่งเห็น คือ ความรูสึกเขาใจวาทําไมบุคคลจึงไดแสดงออกเชนนี้
5. เผยใหเห็นบุคลิกภาพของผูแตง
สวนผลกระทบทางจิตใจอันเนื่องมาจากการอานวรรณคดีจะมีมากนอยเพียงใดถือเปน
เรื่องของแตละบุคคล ดังเชน สายทิพย นุกูลกิจ กลาวถึงเรื่องการเกิดอารมณสะเทือนใจวา “อารมณ
สะเทือนใจอาจเกิดขึ้นเมื่อตัวละครไดเห็นนางอันเปนที่รักสิ้นชีวิต” 1
ซึ่งสอดคลองกับคํากลาวของ
พระยาอนุมานราชธน ที่ไดกลาวถึงอัตวิสัยในการเกิดอารมณสะเทือนใจของผูอานวรรณคดีวา “จะ
เปนวรรณกรรมทําใหทานบังเกิดอารมณสะเทือนใจแรงแคไหน จะเปนไปในทางฝายสูงหรือฝายต่ํา
เกิดขึ้นแลวและหมดไปเร็วหรือชาก็ตามที ก็สุดแทแตตัวทาน ตามสวนแหงอํานาจความรูสึกนึก
เห็นและความคุนเคยอบรมมา เปนเรื่องตางคนตางรูสึก ไมมีอะไรตองโตเถียงกันเรื่องนี้”2
จิตรลดา สุวัตถิกุล3
กลาวถึงเรื่อง รสวรรณคดีในเอกสารประกอบการสอนภาษาไทย
ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไวสรุปไดวา รสวรรณคดี ไดแก อารมณหรือภาวะตาง ๆ ที่
ปรากฎในวรรณคดี เชน อารมณรัก อารมณโกรธ อารมณเศรา เปนตน การอานวรรณคดีใหไดรส
ผูอานตองพิจารณาถอยคําของผูเขียนทุกตัวอักษร แลวจึงคิดและวิเคราะหตามเพื่อใหรับรูภาวะแหง
อารมณนั้น ๆ รสวรรณคดีแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ รสวรรณคดีไทย มี 4 รส คือ เสาวรจนี
นารีปราโมทย พิโรธวาทัง สัลลาปงคพิสัย สวนรสวรรณคดีสันสกฤตมี 9 รส คือ ศฤงคารรส
รุทธรส กรุณารส หาสยรส วีรรส ภยานกรส พิภัสรส อัทภูตรสและศานติรส
กระแสร มาลยาภรณ กลาวถึงรสวรรณคดีไววา
คุณคาสวนหนึ่งของวรรณคดี คือ คุณคาทางอารมณนั่นเอง คือ กวีตองมีแรงบันดาลใจอัน
จะทําใหเกิดจินตนาการ สรางภาพสะเทือนอารมณ ขางผูอานก็จะตีความวรรณคดีนั้น ๆ
ออกมา อันอาจจะเปนอารมณที่คลายกับกวี ผูแตง อารมณของกวีนั้นยอมเปนอารมณโศก
อารมณรัก อารมณเคียดแคน ฯลฯ เรายอมไดประโยชนดวย การที่จะเปนคนอยูเฉย ๆ
ไมมีความออนไหวหรือโลดโผนทางอารมณนั้นจะไม “สนุก” ไมไดรับ “รสแหงภาษา”
1
สายทิพย นุกูลกิจ. เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาไทย 321 : วรรณคดีวิจารณ.
2523. หนา 167.
2
พระยาอนุมานราชธน. การศึกษาวรรณคดีแงวรรณศิลป. 2546. หนา 51.
3
จิตรลดา สุวัตถิกุล. “องคประกอบทางสุนทรียศาสตร สุนทรียภาพในความ,”
ภาษาไทย 7 (หนวยที่ 1 – 8). 2538. หนา 227 – 228.
16
เลย “รส” ของวรรณคดีนั้นทานเรียกวา “พนธรส” มีอยู 9 รส คือ ศฤงคารรส (ความ
รัก) หาสยรส (ความหรรษา) กรุณารส (ความกรุณา) รุทธรส (ความดุราย) วีรรส
(ความกลาหาญ) ภยานกรส (ความสยดสยอง) พิภัตสรส (ความขยะแขยง) อัทภูตรส
(ความอัศจรรยใจ) และศานติรส (ความสงบ) วรรณคดีที่ดียอมใหรสตาง ๆ เหลานี้แก
ผูอานได 1
เบญจมาศ พลอินทร 2
กลาวถึงเรื่องรสของวรรณคดีสรุปไดวา อรรถรส หมายถึง
รสของวรรณคดีที่กอใหเกิดความรูสึกทางดานอารมณ เปนอาการที่เกิดขึ้นเมื่อไดฟงเรื่องราวจาก
วรรณคดีและวรรณกรรม หรือถอยคําของกวีเปนเหตุจูงใจใหเปนไป ทั้งนี้ กวีจะตองเขาถึงภาวะ
แหงจิตใจของผูอาน ผูฟงและอารมณของคนในลักษณะตาง ๆ แลวปรับถอยคําปรุงแตงใหเกิด
อรรถรส หรือรสแหงวรรณคดี ซึ่งบรรดาปรมาจารยไดแยกแยะและกําหนดไวตามภาวะแหง
อารมณ มีอาการเปนไปตามถอยคําของกวีอันมีอยู 9 ประการ คือ
1. สิงคารรส คือ รติ หมายถึง รสแหงความรัก
2. หัสสรส คือ หาสะ หมายถึง รสแหงความขบขันหรรษา
3. กรุณารส คือ โสกะ หมายถึง รสแหงความโศกเศราสงสาร
4. รุทธรส คือ โกธะ หมายถึง รสแหงความโกรธแคน
5. วีรรส คือ อุตสาหะ หมายถึง รสแหงความกลาหาญ
6. ภยานกรส คือ ภย หมายถึง รสแหงความกลัวภัยและสยดสยอง
7. วิภัจฉรส คือ ชิคุจฉา หมายถึง รสแหงความเกลียดและขยะแขยง
8. อัทภูตรส คือ วิมหยา หมายถึง รสแหงความประหลาดใจ
9. สันตรส คือ สมะ หมายถึง รสแหงความสงบแหงจิตใจ
ความรูเรื่องรสวรรณคดีตามแนวทฤษฎีรสของวรรณคดีสันสกฤตดังที่กลาวมาแลว
ผูวิจัยจะใชเปนแนวทางในการวิเคราะห โดยยึดแนวทางการศึกษาวิเคราะหวรรณคดีไทยตามแนว
ทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตของ กุสุมา รักษมณี เปนหลัก
1
กระแสร มาลยาภรณ. วรรณคดีเปรียบเทียบเบื้องตน. 2516. หนา 23.
2
เบญจมาศ พลอินทร. พื้นฐานวรรณดคีและวรรณกรรมไทย. 2526. หนา 76 -77.
17
งานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี
ภาวณี โชติมณี 1
วิเคราะหวีรรสในรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2 โดย
มุงวิเคราะหองคประกอบและพฤติกรรมของตัวละครที่แสดงถึงวีรรส องคประกอบของวีรรส
ประกอบดวยองคประกอบดานวิภาวะ 3 ประการ คือ การเปนผูมีคุณธรรมของตัวละคร การตอง
ถือปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอรอง และความรูสึกที่เกิดขึ้นในชั่วขณะองคประกอบดานอนุภาวะ
ปรากฎอยู 3 ลักษณะ คือ อนุภาวะดานคําพูด อนุภาวะดานอากัปกิริยาและอนุภาวะดานคําพูด
และอากัปกิริยา องคประกอบดานสาตตวิกภาวะปรากฎอยู 5 ลักษณะ คือ ภาวะตะลึงงัน ภาวะ
เหงื่อออก ภาวะตัวสั่น ภาวะน้ําตาไหล และภาวะการเปนลม พฤติกรรมของตัวละครที่แสดงถึง
วีรรส ผูวิจัยไดแบงพฤติกรรมของตัวละครออกเปน 2 ฝาย คือ วีรรสของตัวละครฝายพลับพลา
และวีรรสของตัวละครฝายลงกา โดยปรากฎผลการวิเคราะหวีรรสในแตละดาน ผลการวิเคราะห
วีรรสในแตละดานของตัวละครฝายพลับพลา พบวาในดานธรรมวีระมีบทบาทการทําหนาที่ที่โดด
เดนของตัวละคร 9 ตัว คือ บทบาทผูปราบอธรรมและการเปนนายที่ดีของพระราม บทบาทการ
เปนอนุชาที่ดีของพระลักษมณ พระพรต พระสัตรุด และพระลบ บทบาทการเปนชายาที่ดีของนาง
สีดา บทบาทการเปนทหารที่ดีของหนุมานและองคต บทบาทการเปนอนุชาและที่ปรึกษาที่ดีของ
พิเภก ดานรณวีระ มีบทบาทการรบที่โดดเดนของตัวละคร 5 ตัว คือ พระราม พระลักษณ
หนุมาน และพระลบ พระมงกุฎ โดยตัวละครทั้งหมดไดแสดงบทบาทการตอสูโดยมีจุดประสงค
เพื่อตองการเอาชนะและทําลายลางฝายปฏิปกษ ผลการวิเคราะหวีรรสของตัวละครฝายลงกา พบวา
ในดานธรรมวีระ มีบทบาทการทําหนาที่ที่โดดเดนของตัวละคร 6 ตัว คือ บทบาทชายาและ
มารดาที่ดีของนางมณโฑ บทบาทผูตัดสินคดีความที่มีความยุติธรรมของทาวมาลีวราช บทบาท
อนุชาที่ดีของกุมภกรรณ บทบาทโอรสที่ดีของอินทรชิต บทบาทญาติที่ดีของนางเบญกาย และ
บทบาทมารดาที่ดีของนางพิรากวนในดานรณวีระ มีบทบาทการรบที่โดดเดนของตัวละครจํานวน
13 ตัว คือ ทศกัณฐ กุมภกรรณ อินทรชิต ไมยราพ มัจฉานุ สหัสเดชะ มูลพลํา มังกรกัณฐ
สัทธาสูร วิรุณจําบัง ทศคีรีวัน ทศคีรีธร และบรรลัยกัลป โดยตัวละครทุกตัวไดแสดงพฤติกรรม
การสูรบเพื่อตองการเอาชนะฝายปฏิปกษ ทั้งนี้ ไมปรากฎพฤติกรรมที่แสดงถึงวีรรสดานทานวีระ
จากตัวละครทั้งฝายพลับพลาและฝายลงกา
1
ภาวิณี โชติมณี. การวิเคราะหวีรรสในรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2.
2543. หนา 160.
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล
วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล

Contenu connexe

Tendances

การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีkingkarn somchit
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2iberryh
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 

Tendances (20)

การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 

Plus de Chinnakorn Pawannay

สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทยสรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทยChinnakorn Pawannay
 
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1Chinnakorn Pawannay
 
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)Chinnakorn Pawannay
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองChinnakorn Pawannay
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 

Plus de Chinnakorn Pawannay (8)

สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทยสรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
สรุปบทความ เรื่อง ลักษณนามบางคำในภาษากฎหมายไทย
 
Social media with Thailand
Social media with ThailandSocial media with Thailand
Social media with Thailand
 
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
 
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
บบทละคร เรื่อง คาวี (Kaveebook)
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทองสุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
สุนทรียรสในเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนฆ่านางวันทอง
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 

วิเคาะห์รสวรรณคดีในนิทานเวตาล

  • 1. วิเคราะหรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต วิทยานิพนธ ของ ภัสรธีรา ฉลองเดช เสนอตอมหาวิทยาลัยทักษิณ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย ธันวาคม 2548 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยทักษิณ ISBN 974 – 451 – 802 – 2
  • 2. คณะกรรมการควบคุมและคณะกรรมการสอบ ไดพิจารณาวิทยานิพนธฉบับนี้แลว เห็นสมควรรับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอก ภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยทักษิณได คณะกรรมการควบคุม ...........................................................................ประธานกรรมการ ( ผูชวยศาสตราจารยจําเริญ แสงดวงแข ) ...........................................................................กรรมการ ( ผูชวยศาสตราจารยนิดา มีสุข ) คณะกรรมการสอบ ...........................................................................ประธานกรรมการ ( ผูชวยศาสตราจารยจําเริญ แสงดวงแข ) ...........................................................................กรรมการ ( ผูชวยศาสตราจารยนิดา มีสุข ) ...........................................................................กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติม ( รองศาสตราจารยยุรฉัตร บุญสนิท ) ...........................................................................กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติม ( อาจารยบัวงาม หอแกว ) มหาวิทยาลัยทักษิณอนุมัติใหรับวิทยานิพนธฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยทักษิณ ...............................................รักษาการในตําแหนงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ( อ.ดร.สมศักดิ์ โชคนุกูล ) วันที่ ........... เดือน ...ธันวาคม.. พ.ศ. ..2548...
  • 3. ประกาศคุณูปการ วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี เพราะความกรุณาและการอนุเคราะหจาก ผูชวยศาสตราจารยจําเริญ แสงดวงแข ประธานกรรมการควบคุมวิทยานิพนธและ ผูชวยศาสตราจารยนิดา มีสุข กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ ที่ไดใหคําแนะนําและขอคิดเห็น สําคัญยิ่งหลายประการ แกไขขอบกพรองตางๆ ตลอดจนตรวจแกสํานวนภาษา เพื่อใหสามารถ สื่อสารไดดียิ่งขึ้น ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งและขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณรองศาสตราจารยยุรฉัตร บุญสนิท และอาจารยบัวงาม หอแกว กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติมที่ไดใหคําแนะนําเพื่อปรับปรุงแกไขวิทยานิพนธใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น ตลอดจนขอกราบขอบพระคุณคณาจารย ภาควิชาภาษาไทยฯ ทุกทานของมหาวิทยาลัยทักษิณที่ได ประสิทธิ์ประสาทความรูแกผูวิจัย ขอขอบพระคุณ คุณสุเทพ อินทรัตน คุณซมา โยะหมาด คุณดวงฤทัย ชํานาญเพาะ วาที่รอยตรีสมศักดิ์ หลังชาย และเพื่อนครูโรงเรียนบานวังสายทอง ที่ไดใหโอกาส สนับสนุน และใหความชวยเหลือแกผูวิจัยดวยดีเสมอมา ขอขอบคุณปยมิตรทั้งสาม คือ คุณสายพิมพ แกลวทนงค คุณสมพิส พรหมทอง และ คุณศุภวรรณ มีแกว นิสิตปริญญาโทวิชาเอกภาษาไทย ภาคพิเศษ ป 2545 ที่คอยชวยเหลือและ เปนกําลังใจแกผูวิจัยมาโดยตลอด ขอขอบพระคุณ คุณธีระยุทธ ชาตรี คุณอมรรัตน ชมเชย คุณสายสวาท บินรินทร คุณสําเริง ทองสง คุณนิยอ บาฮา ที่เปนเพื่อนคอยรับฟงเรื่องราวตางๆ และใหกําลังใจ สนับสนุน จนกระทั่งผูวิจัยประสบความสําเร็จ ขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยนายแพทยพีระพัฒน หวันดะหวา ที่เปนกําลังใจ คอย ใหคําปรึกษา พรอมทั้งใหคําแนะนํา ขอคิดตางๆ ที่เปนประโยชนแกผูวิจัยตลอดมา คุณคาและประโยชนใดๆ อันพึงมีจากวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยขอมอบเปนกตัญูกตเวทิตาแด คุณแมอารีย พันราย คุณพอนพดล ฉลองเดช ผูวางรากฐานสงเสริมสนับสนุนทางดานการศึกษา และมอบแตสิ่งที่ดีงามใหแกผูวิจัย โดยเฉพาะคุณแมผูเปนผูรวมทุกขรวมสุขเคียงขางผูวิจัยมาตลอด ทําใหผูวิจัยสามารถประสบความสําเร็จทางดานการศึกษาและหนาที่การงานไดอยางเต็มภาคภูมิใน ทุกวันนี้ ภัสรธีรา ฉลองเดช
  • 4. สารบัญ บทที่ หนา 1 บทนํา .............................................................................................................................. 1 ภูมิหลัง ........................................................................................................................ 1 ความมุงหมายของการศึกษาคนควา ............................................................................ 5 ความสําคัญของการศึกษาคนควา ................................................................................ 5 ขอตกลงเบื้องตน ......................................................................................................... 5 ขอบเขตการศึกษาคนควา ............................................................................................ 6 ขอบเขตดานขอมูล ................................................................................................. 6 ขอบเขตดานเนื้อหา ................................................................................................ 6 นิยามศัพทเฉพาะ ......................................................................................................... 7 วิธีดําเนินการศึกษาคนควา ............................................................................................ 7 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควา ...................................................... 9 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี ................................................................ 9 เอกสารที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี ............................................................................... 9 งานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี .............................................................................. 17 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล ......................................... 22 เอกสารที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล ....................................................... 22 งานวิจัยที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล ....................................................... 24 3 การวิเคราะหรสและองคประกอบของรสวรรณคดีในนิทานเวตาล ................................ 26 ศฤงคารรสและองคประกอบของรส .......................................................................... 27 หาสยรสและองคประกอบของรส ............................................................................. 42 กรุณารสและองคประกอบของรส ............................................................................. 46 เราทรรสและองคประกอบของรส ............................................................................ 55 วีรรสและองคประกอบของรส .................................................................................. 65 ภยานกรสและองคประกอบของรส ........................................................................... 73 พีภัตสรสและองคประกอบของรส ............................................................................ 78
  • 5. บทที่ หนา อัทภูตรสและองคประกอบของรส ............................................................................ 79 ศานตรสและองคประกอบของรส ............................................................................. 87 4 บทยอ สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ................................................................ 106 บทยอ .................... ................................................................................................... 106 สรุปผล ..................................................................................................................... 108 อภิปรายผล ............................................................................................................... 111 ขอเสนอแนะ .............................................................................................................. 112 บรรณานุกรม ...................................................................................................................... 113 บทคัดยอ ............................................................................................................................. 116 ประวัติยอผูวิจัย ................................................................................................................... 121
  • 6. 1 บทที่ 1 บทนํา ภูมิหลัง วรรณคดีถือเปนบทประพันธที่แสดงถึงความรูสึกนึกคิดและจินตนาการของผูประพันธ ทําใหผูอานเกิดความรูสึกประทับใจ เกิดจินตนาการ กอใหเกิดสุนทรียะทางอารมณ สรางความ เพลิดเพลินสนุกสนาน ทั้งยังชวยสอนใจเราทางออม ทําใหเราไดเห็นชีวิตและแงของชีวิตที่แปลก แตกตางไป นอกจากนั้น การที่ผูประพันธเลือกเฟนถอยคําตางๆ มาใชในวรรณคดีแตละเรื่อง ยังทําใหผูอานไดรับรสวรรณคดีอยางสมบูรณ วรรณคดีไทยไดรับอิทธิพลตางๆ จากหลายชาติ หลายประเทศไมวาจะเปนจีน ชวา อาหรับ ตะวันตก อินเดียก็เปนอีกชาติหนึ่งที่ไทยไดรับอิทธิพล กุสุมา รักษมณี ไดกลาวถึง อิทธิพลของวรรณคดีอินเดียไววา วรรณคดีไทยไดแสดงใหเห็นอิทธิพลจากวัฒนธรรมและความเชื่อตางๆ ของอินเดีย ดังจะ เห็นไดจากรูปแบบและเนื้อหาของวรรณคดีหลายเรื่อง ทรรศนะของกวีและผูอานที่ถือวา วรรณคดีเปนงานที่สูงสง ความเชื่อตางๆ ที่เปนกรอบของเนื้อหาในวรรณคดีและความนิยม ประดับประดาวรรณคดีดวยความงามของภาษา ลวนเปนลักษณะที่เหมือนกันในวรรณคดี ไทยและวรรณคดีอินเดีย1 การศึกษาคุณคาวรรณคดีของไทยนั้น สามารถศึกษาไดหลายแนวทาง แนวทางหนึ่ง คือ การศึกษาอลังการศาสตรตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤตซึ่งถือวา “สิ่งที่ทําใหวรรณคดีมีคุณคา คือ สิ่งที่ประดับตกแตงวรรณคดี เชน ถอยคําที่งดงามและไพเราะเชนเดียวกับอลังการที่ประดับ รางกายมนุษย”2 สวนแนวคิดในการศึกษาวรรณคดีของอินเดีย กุสุมา รักษมณี ไดใหขอสรุปไวดังนี้ วรรณคดีสันสกฤตมีทฤษฎีที่สําคัญอยู 8 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีรส วาดวยอารมณของผูอาน ทฤษฎีอลังการ วาดวยความงามในการประพันธ ทฤษฎีคุณ วาดวยลักษณะเดนในการ 1 กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534. หนา 1. 2 แหลงเดิม. หนา 21.
  • 7. 2 ประพันธ ทฤษฎีรีติ วาดวยลีลาในการประพันธ ทฤษฎีธวนิ วาดวยความหมายแฝงใน การประพันธ ทฤษฎีวโกรกติ วาดวยภาษาในการประพันธ ทฤษฎีอนุมิติ วาดวยการ อนุมานความหมายในการประพันธและทฤษฎีเอาจิตยะ วาดวยความเหมาะสมในการ ประพันธ 1 ทฤษฎีรสในวรรณคดีสันสกฤตเปนการศึกษาปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดขึ้นในใจของผูอาน เมื่อไดรับรูอารมณที่กวีถายทอดไวในวรรณคดี กุสุมา รักษมณี กลาวถึงทฤษฎีรสตามความเห็น ของนักวรรณคดีสันสกฤตไววา วรรณคดีเกิดขึ้นเมื่อกวีมีอารมณสะเทือนใจ แลวถายทอดความรูสึกนั้นออกมาในบท ประพันธ อารมณนั้นจะกระทบใจผูอาน ทําใหเกิดการรับรูและเกิดปฏิกิริยาทางอารมณ เปนการตอบสนองสิ่งที่กวีเสนอมา รสจึงมีความรูสึกที่เกิดขึ้นในใจของผูอาน มิใชสิ่งที่ อยูในวรรณคดีซึ่งเปนเพียงอารมณที่กวีถายทอดลงไวและเปนตัวทําใหเกิดรสเทานั้น2 ในดานการรับรูภาวะตางๆ ของผูอานนั้น กุสุมา รักษมณี ไดอธิบายไววา เมื่อผูอานไดรับรูภาวะ ซึ่งก็คือ อารมณตางๆ ที่กวีแสดงไวในผลงาน มีดวยกัน 9 ภาวะ ดังนี้ ความรัก (รติ) ความขบขัน (หาสะ) ความทุกขโศก (โศกะ) ความโกรธ (โกรธะ) ความมุงมั่น (อุตสาหะ) ความนากลัว (ภยะ) ความนารังเกียจ (ชุคุปสา) ความนาพิศวง (วิสมยะ) และความสงบ ( ศมะ) ผูอานก็จะเกิดอารมณตอบสนองตอภาวะนั้น เรียกวา “รส” ซึ่งมี 9 รสเทากับจํานวนภาวะและสัมพันธกับแตละภาวะดังนี้ ความซาบซึ้งในความ รัก (ศฤงคารรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะรัก ความสนุกสนาน (หาสยรส) เปน อารมณตอบสนองภาวะขบขัน ความสงสาร (กรุณารส) เปนอารมณตอบสนองภาวะทุกข โศก ความแคนเคือง (เราทรรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะโกรธ ความชื่นชมในความ กลาหาญ (วีรรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะมุงมั่นในการตอสู ความเกรงกลัว (ภยานก รส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนากลัว ความเบื่อระอา ชิงชัง (พีภัตสรส) เปนอารมณ 1 กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534. หนา 21. 2 แหลงเดิม. หนา 22.
  • 8. 3 ตอบสนองภาวะนารังเกียจ ความอัศจรรยใจ (อัทภูตรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนา พิศวง และความสงบใจ (ศานตรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะสงบ1 การวิเคราะหรสวรรณคดีไทยตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตจึงเปนแนวทางหนึ่งที่ นาสนใจศึกษา แตเทาที่ผานมา การวิเคราะหวรรณคดีไทยในแนวดังกลาวยังมีผลการวิเคราะหที่ไม นาพอใจนัก ดังที่กุสุมา รักษมณี กลาวไววา การวิเคราะหรสในวรรณคดีไทยก็เปนอีกแนวทางหนึ่งที่นิยมกันมาแตมักจะเปนการ กลาวถึงอยางผิวเผินมากกวาเปนการวิเคราะหองคประกอบของรสอยางละเอียด คงจะเปน เพราะตําราอลังการศาสตรเทาที่มีในภาษาไทยไดกลาวถึงเรื่องรสไวอยางพอสังเขปเทานั้น การศึกษาลักษณะนี้ไมไดชวยใหเขาใจวรรณคดีมากขึ้นสักเทาใด เพราะเปนการชี้วา เนื้อหาตอนใดแสดงอารมณของกวีเปนอยางไร และตรงกับรสใดเทานั้น และนอกจากนั้น ก็เปนการแสดงความรูสึกของผูอานอยางกวางๆ เชน เนื้อหาตอนใดทําใหเกิดความรูสึก อยางไรหรืออานจบแลวมีความประทับใจอยางไร วิธีนี้ชวนใหเขาใจไดวาเปนการ วิเคราะหตามแนวคิดของคนโบราณซึ่งใชความรูสึกเปนเครื่องตัดสิน ยังไมมีหลักเกณฑที่ แนนอน อันที่จริง การศึกษาอารมณในวรรณคดีไมวาจะเปนอารมณของกวีหรือผูอานยัง มีแงมุมที่นาพิจารณาอีกมากมาย แตเทาที่ผานมานั้นยังไมปรากฏผลเปนที่นายินดีนัก นาจะเปนเพราะยังไมไดใชประโยชนจากทฤษฎีรสอยางเต็มที่นั่นเอง2 รื่นฤทัย สัจจพันธุ 3 กลาวถึงวรรณคดีอินเดียที่มีอิทธิพลตอวรรณคดีไทย สรุปไดวา มี 6 ประเภท คือ วรรณคดีศาสนา วรรณคดีมหากาพย วรรณคดีบทละคร หนังสือปุราณะ นิทาน นิยาย และเบ็ดเตล็ด ทั้งนี้ รื่นฤทัย สัจจพันธุ4 ไดกลาวถึงนิทานเวตาลสรุปไดวา เปนวรรณคดีที่ จัดอยูในประเภทนิทานนิยาย โดยอินเดียนั้นไดชื่อวาเปนเทพเจาแหงการเลานิทานแบบซอนนิทาน ( Tales within tales) ซึ่งวิธีการนี้ไดเผยแพรออกไปยังประเทศเพื่อนบานอยางเชน อาหรับและ เปอรเซีย ก็นิยมการเลานิทานไมแพอินเดีย 1 กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534. หนา 23. 2 แหลงเดิม. หนา 3-4. 3 รื่นฤทัย สัจจพันธุ. “อิทธิพลวรรณคดีอินเดีย,” ภาษาไทย 4 (หนวยที่ 8 – 15). 2526. หนา 308. 4 แหลงเดิม. หนา 325.
  • 9. 4 ปญญา บริสุทธิ์ กลาวถึงนิทานเวตาลไววา นิทานเวตาลเปนวรรณคดีประเภทรอยแกวในรูปของนิทาน เปนผลงานของ น.ม.ส. หรือ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ซึ่งทรงแปลมาจากฉบับภาษาอังกฤษชื่อ “Vikram and the Vampire” ซึ่ง Sir Richard Burton แปลจากฉบับภาษาสันสกฤตเปนจํานวน 11 เรื่องจาก ของเดิม 25 เรื่อง ( เวตาลปญจวิมศติ ) สวนนิทานเวตาลพากยไทยของ น.ม.ส.นั้นมีเพียง 10 เรื่อง แตงเปนรอยแกวผสมคําประพันธบางตอนเปนฉันท นับวาเปนนิทานที่นอกจาก จะสนุกสนานแลว ยังเปนการลับสติปญญาของผูอานอีกดวย เพราะมีปญหาชวนใหคิด ไดหลายอยางวาคําตอบที่ถูกตองคืออะไร1 วรรณคดีเรื่องนิทานเวตาลนั้น นอกจากจะใหความสนุกสนานเพลิดเพลิน และลับ สติปญญาของผูอานแลว ยังดีในแงของการใชคําและโวหารตางๆ อีกทั้งยังมีรสวรรณคดีซึ่งเปน ภาษาวรรณศิลปตามแบบฉบับวรรณคดีสันสกฤตอีกดวย ปญญา บริสุทธิ์ ไดกลาวถึงเรื่องนี้ ไววา นิทานเวตาลนี้ดีในแงของการใชคําในภาษารอยแกว โดยเฉพาะในพากยไทยนี้ ทานผูแปล ไดใชโวหารอันคมคายและไพเราะในทางพรรณนาโวหารอยางเดนชัดที่สุดทําใหเกิดจินต ภาพและภาพพจนมากมายหลายแหงยากที่หนังสือนิทานอื่นๆ ในประเภทเดียวกันจะมี คุณคาเสมอเหมือน ทั้งนี้ก็เพราะหนังสือนิทานโดยทั่วไปมักจะมุงเลาเรื่องเปนเกณฑ แต การใชภาษาวรรณศิลปเกือบจะไมถือเปนเรื่องสําคัญเลย สวนนิทานเวตาลเปนหนังสือ สําหรับผูใหญหรือคนประเภทมีความรูอานจึงตางกับนิทานธรรมดา ดวยเหตุนี้นิทาน เวตาลจึงตองอาศัยภาษาวรรณศิลปเปนเครื่องประกอบอยางสําคัญ เพื่อใหเกิดความจับใจ แกผูอานที่มีความรู อีกประการหนึ่งขอที่ควรสังเกตก็คือ เรื่องเดิมในภาษาสันสกฤตมี วิธีการเขียนที่ละเมียดละไมและแพรวพราวดวยภาษาวรรณศิลปตามแบบฉบับวรรณคดี สันสกฤตโดยทั่วไป เมื่อเปนดังนี้ฉบับภาษาไทยก็ตองมีวิธีเขียนเลียนแบบสันสกฤตดวย ดวยเหตุนี้นิทานเวตาลจึงมีคุณคาถึง 2 อยางคือ เนื้อเรื่องดีอยางหนึ่ง และการใชภาษามี อลังการที่เดนชัดอีกอยางหนึ่ง2 1 ปญญา บริสุทธิ์. วิเคราะหวรรณคดีไทยโดยประเภท. 2542. หนา 38. 2 แหลงเดิม. หนา 38-39.
  • 10. 5 จากความนาสนใจทั้งเนื้อหาและภาษาที่ใชในวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาลกับทฤษฎีรส วรรณคดีสันสกฤต ประกอบกับการวิเคราะหรสวรรณคดียังมีงานอยูนอยมาก ผูวิจัยจึงไดสนใจ วิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดย จะวิเคราะหทั้ง 9 รสวรรณคดีพรอมองคประกอบดานตางๆของแตละรสอยางละเอียดลึกซึ้ง ความมุงหมายของการศึกษาคนควา เพื่อวิเคราะหรสและองคประกอบของรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยใชทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต ความสําคัญของการศึกษาคนควา ผลของการศึกษาคนความีความสําคัญดังตอไปนี้ 1. ทําใหเขาใจถึงรสวรรณคดีสันสกฤตและองคประกอบของแตละรสวรรณคดีที่ปรากฏ ในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณไดอยางลึกซึ้ง อันนําไปเปนแนวทาง การศึกษารสวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตที่ปรากฏในวรรณคดีไทยเรื่องอื่นๆ ตอไป 2. สามารถนําหลักการวิเคราะหไปปรับปรุงประยุกตใชในการเรียนการสอน การศึกษา เรื่องทฤษฎีรสวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสฤตที่ปรากฏในวรรณคดีสําหรับนักเรียนและผูที่ สนใจศึกษาคนควา 3. ผลของการศึกษาคนควาทําใหเขาใจอารมณความรูสึกที่กวีถายทอดออกมาพรอมทั้ง เขาใจปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดขึ้นในใจของผูอานอยางละเอียดและมีหลักเกณฑแนนอนอันเปน การใชประโยชนจากทฤษฎีรสอยางเต็มที่ในการศึกษาอารมณความรูสึกของกวีและผูอานวรรณคดี ไทยเรื่องอื่นๆ 4. ชวยใหผูสนใจไดประจักษในคุณคาของวรรณคดีไทยในแงของรสวรรณคดีมากขึ้น ขอตกลงเบื้องตน การอางอิงขอความจากหนังสือวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยา ลงกรณ ซึ่งจัดพิมพโดยสํานักพิมพศิลปาบรรณาคาร ป พ.ศ.2511 ผูวิจัยใชวิธีการอางอิงโดยการ บอกเลขหนาไวในวงเล็บใตขอความที่ยกมา เชน
  • 11. 6 สักครูหนึ่งถึงกลางปาชา พระราชาทอดพระเนตรเห็นสิ่งซึ่งนาเปนที่รังเกียจตางๆ อยูลอม กองไฟซึ่งไดเผาศพใหมๆ ภูตผีปศาจปรากฏแกตา รอบขางเสือคํารามอยูก็มี ชางฟาดงวง อยูก็มี หมาไนซึ่งขนเรืองๆ อยูในที่มืดก็กินซากศพ ซึ่งกระจัดกระจายเปนชิ้นเปนทอน หมาจิ้งจอกก็ตอสูกันแยงอาหาร คือเนื้อแลกระดูกมนุษย หมีก็ยืนเคี้ยวกินตับแหงทารก ( หนา 33) พระราชบุตร ไดฟงพุทธิศริระสําแดงความรอนใจ ดังนั้นก็สิ้นความอ้ําอึ้ง พระหัตถจับมือ พุทธิศริระ น้ําพระเนตรตกตรัสวา “ชายใดเขาเดินในทางแหงความรักชายนั้นจะรอดชีวิตไปมิได หรือถายังไมสิ้นชีวิต ชีวิตก็มิใชอื่น คือความทุกขที่ยืดยาวออกไปนั่นเอง” ( หนา 51) ขอบเขตของการศึกษาคนควา ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่น พิทยาลงกรณ ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการวิเคราะหดังตอไปนี้ ขอบเขตดานขอมูล ในการวิเคราะหครั้งนี้ ผูวิจัยจะวิเคราะหขอมูลดานรสวรรณคดีและองคประกอบของรส วรรณคดีจากวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยจะวิเคราะห นิทานทั้ง 10 เรื่องรวมทั้งตนเรื่องและปลายเรื่องดวย ขอบเขตดานเนื้อหา การวิเคราะหรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ จะวิเคราะหตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต โดยวิเคราะหองคประกอบดานวิภาวะ ดานอนุภาวะ และดานสาตตวิกภาวะ ตามลําดับรสวรรณคดีดังนี้ 1. ศฤงคารรส (รสแหงความรัก) 2 หาสยรส (รสแหงความสนุกสนาน) 3 กรุณารส (รสแหงความสงสาร) 4 เราทรรส (รสแหงความแคนเคือง) 5 วีรรส (รสแหงความชื่นชมในความกลาหาญ) 6 ภยานกรส (รสแหงความเกรงกลัว)
  • 12. 7 7 พีภัตสรส (รสแหงความเบื่อระอา ชิงชัง) 8 อัทภูตรส (รสแหงความอัศจรรยใจ) 9 ศานตรส (รสแหงความสงบใจ) นิยามศัพทเฉพาะ ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่น พิทยาลงกรณ มีคําศัพทเฉพาะที่เกี่ยวกับรสวรรณคดีซึ่งผูวิจัยจะตองนํามาใชในการวิเคราะห ดังตอไปนี้ ศฤงคารรส คือ ความซาบซึ้งในความรัก เปนรสที่เกิดจากการมีความรักของตัวละคร หาสยรส คือ ความสนุกสนาน เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความขบขันของตัวละคร กรุณารส คือ ความสงสาร เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความทุกขโศกของตัวละคร เราทรรส คือ ความแคนเคือง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความโกรธของตัวละคร วีรรส คือ ความชื่นชม เปนรสที่เกิดจากการรับรูความมุงมั่นในการแสดงความกลาหาญ ของตัวละคร ภยานกรส คือ ความเกรงกลัว เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนากลัวของตัวละคร พีภัตสรส คือ ความเบื่อ รําคาญ ขยะแขยง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนาเบื่อ นา รังเกียจของตัวละคร อัทภูตรส คือ ความอัศจรรยใจ เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนาพิศวงของตัวละคร ศานตรส คือ ความสงบใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความสงบของตัวละคร วิภาวะ คือ เหตุของภาวะที่เปนเหตุการณ บุคคลหรือสิ่งตางๆ ที่กวีกําหนดไวในเนื้อเรื่อง ใหเปนสาเหตุทําใหเกิดภาวะตางๆ อนุภาวะ คือ ผลของภาวะซึ่งเปนการแสดงออกของตัวละครดวยคําพูดหรืออากัปกิริยาให รูวาเกิดภาวะอยางใดอยางหนึ่งขึ้นแกตัวละคร สาตตวิกภาวะ คือ การแสดงออกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเปนปฏิกิริยาที่ไมสามารถบังคับ ได วิธีดําเนินการศึกษาคนควา ในการวิเคราะหครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้
  • 13. 8 1. ขั้นรวบรวมขอมูล 1.1 ศึกษารวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับรสและองคประกอบของรสวรรณคดี 1.2 ศึกษารวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล 2. ขั้นศึกษาวิเคราะห ผูวิจัยไดวิเคราะหรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่น พิทยาลงกรณ โดยดําเนินการดังนี้ 2.1 พิจารณาคัดเลือกเนื้อหาในนิทานแตละเรื่อง เพื่อวิเคราะหแยกเปนรสตางๆ ตาม ทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต 2.2 พิจารณาเนื้อหาในแตละรส แลววิเคราะหองคประกอบในดานวิภาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะของแตละรส 3. ขั้นสรุปผล อภิปรายผลและเสนอแนะ 3.1 สรุปผลการวิเคราะหและอภิปรายผล 3.2 เสนอผลการวิเคราะหโดยวิธีพรรณนาวิเคราะห
  • 14. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควา ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ผูวิจัย ไดจัดแบงเอกสารที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควาออกเปน 2 ประเภท คือ 1. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี 2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนิทานเวตาล เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี เอกสารที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี ผูวิจัยไดรวบรวมรสวรรณคดี เพื่อนํามาศึกษาและใชเปนแนวทางในการวิเคราะห ทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาล ฉบับ พระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ดังตอไปนี้ กุสุมา รักษมณี 1 ไดกลาวถึงทฤษฎีรสวรรณคดีสันสฤต สรุปไดดังนี้ รส คือ ปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดขึ้นในใจของผูอาน เมื่อผูอานไดรับรูอารมณที่กวีได ถายทอดเอาไวในวรรณคดี โดยนักวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตมีความเห็นวารส วรรณคดีเกิดขึ้นเมื่อกวีมีอารมณสะเทือนใจ แลวถายทอดความรูสึกนั้นออกมาในบทประพันธ อารมณนั้นจะกระทบใจผูอานทําใหเกิดการรับรูและเกิดปฏิกิริยาทางอารมณเปนการตอบสนองสิ่งที่ กวีเสนอออกมา รสจึงเปนความรูสึกที่เกิดขึ้นในใจของผูอาน มิใชสิ่งที่อยูในวรรณคดีซึ่งเปนเพียง อารมณที่กวีถายทอดลงไวและเปนตัวทําใหเกิดรสเทานั้น สวนรายละเอียดตาง ๆ ที่เกี่ยวกับลักษณะของรสและลําดับขั้นตอนในการเกิดรสนั้น กุสุมา รักษมณี ไดกลาวไวสรุปไดวา อารมณตาง ๆ ที่กวีแสดงไวในผลงานเรียกวา “ภาวะ” ใน ระยะแรกภาวะหลักมี 9 อยาง คือ ความรัก (รติ) ความขบขัน (หาสะ) ความทุกขโศก (โสกะ) ความโกรธ (โกรธะ) ความมุงมั่น (อุตสาหะ) ความนากลัว (ภยะ) ความนารังเกียจ (ชุคุปสา) 1 กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534. หนา 22 – 23.
  • 15. 10 ความนาพิศวง (วิสมยะ) และความสงบ (ศมะ) เพื่อใหผูอานสามารถรับรูวาเกิดภาวะหนึ่งขึ้นแกตัว ละคร กวีตองแสดงเหตุของภาวะ (วิภาวะ) ไวเปนเบื้องตน ตอจากนั้นตัวละครตองแสดงผลของ ภาวะ (อนุภาวะ) ใหรูวาเกิดภาวะหนึ่งขึ้นในใจของตัวละครแลว นอกจากนั้นยังมีการแสดงออกอีก อยางหนึ่งเปนภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ (สาตตวิกภาวะ) สาตตวิกภาวะจึงทําหนาที่ชวยอนุภาวะ ใหผูอานไดรับรูภาวะในใจตัวละครไดงายขึ้น เมื่อผูอานไดรับรูภาวะที่กวีแสดงไวแลวก็จะเกิด อารมณตอบสนองตอภาวะนั้น เรียกวา “รส” ซึ่งมี 9 รส เทากับจํานวนภาวะและจะสัมพันธกับ แตละภาวะ คือ ความซาบซึ้งในความรัก (ศฤงคารรส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะรัก ความ สนุกสนาน (หายสยรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะขบขัน ความสงสาร (กรุณารส) เปนอารมณ ตอบสนองตอภาวะทุกขโศก ความแคนเคือง (เราทรรส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะโกรธ ความชื่นชมในความกลาหาญ (วีรรส) เปนอารมณตอบสนองความมุงมั่นในการตอสู ความเกรง กลัว (ภยานกรส) เปนภาวะตอบสนองตอภาวะนากลัว ความเบื่อระอา ชิงชัง (พีภัตสรส) เปน อารมณตอบสนองภาวะนารังเกียจ ความอัศจรรยใจ (อัทภูตรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนา พิศวง และความสงบแหงจิตใจ สวน (ศานตรส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะสงบ ในสวนของรสวรรณคดีสันสกฤต กุสุมา รักษมณี1 ไดกลาวไว สรุปไดวา การเกิดรส ทั้ง 8 มีภาวะตาง ๆ เปนองคประกอบ ดังนี้ ศฤงคารรส คือ ความซาบซึ้งในความรัก เกิดจากความรัก 2 ประเภท คือ ความรักของผู ที่ไดอยูดวยกัน (สัมโภคะ) และความรักของผูที่อยูหางจากกัน (วิประลัมภะ) ความรักแบบ สัมโภคะนั้นมีเหตุของภาวะ (วิภาวะ) คือ การอยูกับผูที่ถูกตาตองใจ การอยูในบานเรือนหรือ สถานที่ที่สวยงาม การอยูในฤดูกาลที่เอื้อตอการแสดงความรัก การแตงตัวงดงาม การลูบทาดวย ของหอมและประดับดวยมาลัย การเที่ยวชมสวนหรือเลนสนุกสนาน การดูหรือฟงสิ่งที่เจริญหู เจริญตา เปนตน การแสดงผลของภาวะ (อนุภาวะ) ไดแก พูดจาออนหวาน จริตกิริยาแชมชอย ชมายชายตา ยิ้มแยมแจมใส เปนตน สวนความรักแบบวิประลัมภะนั้นมีเหตุของภาวะ คือ การ พลัดพรากจากกัน การแสดงผลของภาวะ ไดแก ทาทางหมดอาลัยตายอยาก สงสัย วิตกกังวล กระสับกระสาย พร่ํารําพัน เปนตน 1 กุสุมา รักษมณี. การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534. หนา 109.
  • 16. 11 หาสยรส คือ ความสนุกสนาน เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความขบขัน นาฏยศาสตร แบงความขบขันออกเปน 2 ลักษณะ คือ ความขบขันที่เกิดแกผูอื่น หมายถึง การพูดหรือทําให ผูอื่นขบขันซึ่งสวนมากมักจะเปนไปโดยตนเองไมรูตัว และความขบขันที่เกิดแกตนเอง รูสึกขัน ตนเองหรือขันผูอื่น วิภาวะของความขบขัน ไดแก การแตงตัวแปลก ๆ เชน ชายแตงตัวอยางหญิง สวมเสื้อผารุมรามรุงรัง แตงตัวผิดกาลเทศะ หรือแตงตัวมากเกินไป ฯลฯ การทําทาแปลก ๆ เชน เดินงก ๆ เงิ่น ๆ ลมลุกคลุกคลาน หรือทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งซ้ํา ๆ ซาก ๆ ฯลฯ การพูดแปลก ๆ เชน พูด ผิด ๆ ถูก ๆ พูดรัวจนฟงไมไดศัพท พูดดวยสําเนียงตางไปจากคนสวนใหญหรือพูดซ้ําซาก ฯลฯ อนุภาวะไดแกการยิ้มหรือหัวเราะ ซึ่งนาฏยศาสตรกลาวไว 6 ลักษณะ คือ ยิ้มนอย ๆ ไมเห็นไรฟน และแยมปากพอเห็นไรฟน เปนลักษณะของคนชั้นสูง หัวเราะเบา ๆ และหัวเราะเฮฮาเปนลักษณะ ของคนชั้นกลาง หัวเราะงอหายและหัวเราะทองคัดทองแข็งเปนลักษณะของสามัญชนทั่วไป วยภิจาริภาวะ ซึ่งเปนภาวะเสริมของความขบขัน ไดแก ความเสแสรง ความเกียจคราน หรือความ งวงงุน ความริษยา เปนตน บางภาวะเชนความรุนแรง อาจเปนตัวแปรได รสที่ควรจะเกิดจาก ภาวะขบขันจึงไมใช หาสยรส แตกลายเปนกรุณารสเพราะความสงสารผูถูกกระทํา กรุณารส คือ ความสงสาร เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความทุกขโศก ซึ่งมี 3 อยาง คือ ความทุกขโศกที่เกิดจากความอยุติธรรม เกิดจากความเสื่อมทรัพย และเกิดจากเหตุวิบัติ โดย อาจมีภาวะเสริมคือความไมแยแส ความเหนื่อยออน ความวิตก ความโหยหา ความตื่นตระหนก ความหลง ความออนเพลีย ความสิ้นหวัง ความอับจน ความปวยไข ความเฉยชา ความบาคลั่ง ความสิ้นสติ ความพรั่นพรึง ความเกียจคราน ความตาย ฯลฯ วิภาวะของความทุกขโศก คือ การ พลัดพรากพรากจากคนรักโดยไมมีโอกาสกลับมาพบกัน ทรัพยสมบัติเสียหาย ถูกแชงดา ถูกฆา ถูกลงโทษ กักขังจองจํา ถูกจองเวร ประสบเคราะหกรรม ตกทุกขไดยาก เปนตน อนุภาวะของ ความทุกขโศกพึงแสดงออกดวย การรองไหคร่ําครวญ แตการรองไหนั้นเปนลักษณะของคนชั้นต่ํา และสตรีเทานั้น สําหรับคนชั้นสูงและชั้นกลางเมื่อประสบทุกขโศกจะตองกลั้นไวในใจไมรองไห คร่ําครวญ นอกจากนั้นอาจมีอนุภาวะอื่น เชน การทอดถอนใจ ทุมทอดตัว ตีอกชกหัว ฯลฯ หรือมีปฏิกิริยา (สาตตวิกภาวะ) เชน นิ่งตะลึงงัน ตัวสั่น สีหนาเปลี่ยน น้ําตาไหล เสียงเปลี่ยน เปนตน เราทรรส คือ ความแคนเคือง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความโกรธ ตัวละครผูมีความ โกรธเปนเจาเรือน มักไดแก รากษส ทานพ คนฉุนเฉียว เปนตน อาจมีภาวะเสริม คือ ความตื่น ตระหนก ความแคน ความหวั่นไหว ฯลฯ วิภาวะของความโกรธ ไดแก การพูดใสความ พูดให เจ็บใจ ดูหมิ่น กลาวเท็จ อาฆาตจองเวร กลาวคําหยาบ ขมขู อิจฉาริษยา ทะเลาะทุมเถียง ตอสู ฯลฯ อนุภาวะของความโกรธ ไดแก การเฆี่ยน ตัด ตี ฉีก บีบ ขวางทําใหเลือดตก ฯลฯ และ
  • 17. 12 อาจมีปฏิกิริยา คือ เหงื่อออก ขนลุก ตัวสั่น เสียงเปลี่ยน เปนตน เนื่องจากความโกรธนั้นมีหลาย อยาง ไดแก ความโกรธที่เกิดจากศัตรู เกิดจากผูใหญ เกิดจากเพื่อนรัก เกิดจากคนรับใช และ เกิดขึ้นเอง การแสดงความโกรธจึงมีตางกันไปดวย เชน เมื่อผูใหญทําใหโกรธ ผูแสดงพึงกมหนา เล็กนอย มีน้ําตาคลอเบา อัดอั้นตันใจ ฯลฯ แตเมื่อคนรับใชทําใหโกรธ อาจชี้นิ้ว ตวาด ถลึงตา ฯลฯ วีรรส คือ ความชื่นชม เปนรสที่เกิดจากการรับรูความมุงมั่นในการแสดงความกลา หาญอันเปนคุณลักษณของคนชั้นสูง ความกลาหาญมี 3 อยาง คือ กลาให (ทานวีระ) กลา ประพฤติธรรมหรือหนาที่ (ธรรมวีระ) และกลารบ (รณวีระ) อาจมีภาวะเสริม คือ ความมั่นคง ความพินิจพิเคราะห ความจองหอง ความตื่นตระหนก ความรุนแรง ความแคน ความระลึกได ฯลฯ วิภาวะของความมุงมั่น ไดแก การเอาชนะศัตรู การบังคับอินทรียของตนได การแสดง พละกําลัง ฯลฯ อนุภาวะของความมุงมั่น ไดแก ทาทีมั่นคง เฉลียวฉลาดในการงาน เขมแข็ง ขะมักเขมน พูดจาแข็งขัน เปนตน ภยานกรส คือ ความเกรงกลัว เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนากลัว ซึ่งแบงเปน 3 ประเภท คือ เกิดจากการหลอกลวง เกิดจากการลงโทษ และเกิดจากการขมขู อาจมีภาวะเสริม คือ ความสงสัย ความหลง ความอับจน ความตื่นตระหนก ความเฉยชา ความพรั่นพรึง ความสิ้นสติ ความตาย ฯลฯ วิภาวะของความนากลัว ไดแก การไดยินเสียงผิดปกติ การเห็นภูตผีปศาจหรือ สัตวราย การอยูคนเดียว การไปในปาเปลี่ยวรกราง การทําผิด ฯลฯ อนุภาวะของความนากลัว ไดแก การวิ่งหนี การสงเสียงรอง เปนตน และอาจมีปฏิกิริยา เชน อาการตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก ตัวสั่น สีหนาเปลี่ยน เสียงเปลี่ยน น้ําตาไหล หรือ เปนลม พีภัตสรส คือ ความเบื่อ รําคาญ ขยะแขยง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนาเบื่อ นา รังเกียจ ซึ่งมี 2 ประเภท คือ เกิดจากสิ่งนารังเกียจที่ไมสกปรก เชน เลือด และสิ่งนารังเกียจที่ สกปรก เชน อุจจาระ หนอน อาจมีภาวะเสริม คือ ความสิ้นสติ ความตื่นตระหนก ความหลง ความปวยไข ความตาย เปนตน วิภาวะของความนาเบื่อ นารังเกียจ ไดแก สิ่งที่ไมสบอารมณ หรือไมตองประสงค สิ่งชวนสลดใจ สิ่งสกปรก เปนตน อนุภาวะของความนาเบื่อ นารังเกียจ คือ การทําทาทางขยะแขยง นิ่วหนา อาเจียน ถมน้ําลาย ตัวสั่น ฯลฯ อัทภูตรส คือ ความอัศจรรยใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความนาพิศวง อันมี 2 ประเภท คือ เกิดจากสิ่งที่เปนทิพย หรืออภินิหาร และเกิดจากสิ่งที่นารื่นรมย อาจมีภาวะเสริม คือ ความตื่นตระหนก ความหวั่นไหว ความยินดี ความบาคลั่ง ความมั่นคง เปนตน วิภาวะของ ความนาพิศวง ไดแก การพบเห็นสิ่งที่เปนทิพย การไดรับสิ่งที่ปรารถนา การไปเที่ยวในสถานที่ที่ งดงาม นารื่มรมย เชน อุทยาน วิหาร การเห็นสิ่งที่เปนมายา หรือมีเวทมนตร ฯลฯ อนุภาวะของ
  • 18. 13 ความนาพิศวง คือ การทําทาประหลาดใจ หรืออุทานดวยความแปลงใจ เปนตน อาจมีปฏิกิริยา เชน การนิ่งตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก น้ําตาไหล ฯลฯ ศานตรส คือ ความสงบใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความสงบของตัวละคร ศานตรสในนาฏยศาสตรก็มีแตในตนฉบับบางฉบับเทานั้น ทั้งยังมีลักษณะของการแตงเติมมากกวา ศานตรส คงเปนอิทธิพลของคติทางพุทธที่ถือวาความสงบเปนสิ่งประเสริฐ เปนทางสูนิพพาน กวี พุทธสวนมากจึงถือวาศานตรสเปนรสที่เดนกวารสอื่นทั้ง 8 และภาวะสงบ (ศานตะ) ก็เปนภาวะ เดน ดังปรากฏในโศลกบทที่ 103 ซึ่งเปนสวนที่เพิ่มเขามาในนาฏยศาสตรบางฉบับวา “ภาวะอาศัยเหตุการณของตน ๆ แลวเกิดขึ้นจากศานตะ และเมื่อยังไมประสบเหตุการณอยางใดแลว ก็แฝงตัวอยูในศานตะนั้นเองอีก” ดวยเหตุนี้จึงมีนักวรรณคดีบางกลุมยอมรับศานตรส แตก็ยังนับวารสมีเพียง 8 รส เพราะถือวารสตาง ๆ ทั้ง 8 เกิดจากศานตรสอีกทีหนึ่ง จึงไมนับศานตรสรวมกับรสอื่น ๆ หากยก ใหเปนแมแบบของรสทั้งปวง วาคภฏ1 ผูเขียนตําราอลังการศาสตร กลาวถึงรสวรรณคดีไวในปริจเฉทที่ 5 สรุปได ดังนี้ อาหารถาขาดเกลือก็ไมอรอยฉันใด รสก็ยอมไมไรอารมณฉันนั้น รสเปนองคประกอบที่ทําให กาพยกลอนเดนขึ้นมี สฺถายีภาว อันวิภาว อนุภาว สาตฺวิก และ วฺยภิจารี ซึ่งนักปราชญกลาววารส มี 9 อยาง คือ ศฺฤงคาร วีร กรุณา หาสฺย อทฺภุต ภยานก เราทฺร พีภตฺ และ ศานฺต ทั้งนี้ “ศฤงฺคาร” คือ รสของการที่สามีภรรยาปฏิบัติตอกันและกันดวยความรักใคร มี 2 ประเภท คือ “สํโยคศฺฤงฺคาร” และ “วิปฺรลมฺภศฺฤงฺคาร” ศฺฤงฺคารทั้งสองอยางนี้เปนไปในระหวางสามีภรรยา คูที่อยูดวยกันและคูที่พรากจากกันโดยเปนไปอยางลับหรืออยางจะแจง ในเรื่องศฺฤงฺคารนี้ “ ตัว ละคร” ที่ทานยกยอง คือ สาวผูประกอบไปดวยรูปและเสาวภาคย มีสกุล ชํานิชํานาญ หนุม สุภาพ พูดคําที่ทั้งไพเราะ และจริง มีเกียรติ และมีคุณความดีตาง ๆ ขณะสามีภรรยาที่รักกัน ฝายใด ฝายหนึ่งถึงแกกรรมลง “ศฺฤงฺคาร” ชื่อ “กรุณา” ก็เกิดขึ้น (วิธีแสดง “กรุณา”) นี้ก็แตพรรณนาถึง เรื่องที่แลวมาแลว “วีรรส” มีความเพียรเปน “สถายีภาว” และเปนสามอยางโดยที่ไดเนื่องมาแต ความเพียรในทางธรรม การรบ หรือการใหทาน “กรุณารส” เกิดแต “สถายีภาว” คือ ความโศก เมื่อจะใหบังเกิดรสนี้ ควรกลาวถึงการไหว การรองไห หนาซีดลง สลบ พูดถอมตัว รําพึงรําพัน และหลั่งน้ําตา รสชื่อ “หาสฺย” นั้น ปราชญวามีความรูสึกขบขันเปน “สภายีภาว” ความขบขัน เกิดจากการเห็นกิริยาทาทาง รางกาย หรือการแตงตัวพิลึก “อทฺภุตรส” มีความรูสึกประหลาดใจ เปน “สภายีภาวะ” ความรูสึกประหลาดใจเกิดขึ้นดวยไดเห็นหรือไดยินถึงสิ่งที่ไมนาจะเปนไปได 1 วาคภฏ. อลังการศาสตร. แปลโดย ป.ส.ศาสตรี ม.ป.ป. หนา 28 - 30.
  • 19. 14 “ภยานกรส” มีความกลัวอันเกิดแตการเห็นสิ่งที่นาสยดสยองนั้น “สถายีภาว” ความกลัวนั้น กลาวถึงลักษณะของหญิงคนชั่วเลว และเด็ก “เราทรรส” มีความโกรธเปน “สถายีภาว” ความ โกรธก็เกิดแตการที่ศัตรูดูหมิ่น ในโอกาสนั้น “ตัวละคร” ประพฤตินาหวาดกลัว ฉุนเฉียวและไม อดโทษ “พีภตฺสรส” มีความเกลียดชังเปน “สถายีภาว” ความเกลียดชังที่เกิดขึ้นโดยทันที พอได ยินถึงสิ่งที่ไมชอบ และมีอาการคือถมน้ําลาย และทําหนายูยี่ เปนตน ยกเวนแตมหาบุรุษจะไมทํา เชนนั้น สุดทาย “ศานฺตรส” มีความรูชอบอันมีอาการไมปรารถนาสิ่งใด ๆ นั้น เปน “สถายีภาว” ความรูชอบก็เกิดแตการสละความรักความเกลียด ประสิทธิ์ กาพยกลอน กลาวถึงลักษณะและความสําคัญของรสวรรณคดีวา อาหารมีรสตาง ๆ กันใหความโอชะแกผูเสพฉันใด วรรณคดีก็มีรสตาง ๆ กันใหความ โอชะแกผูอานฉันนั้น รสทั้งสองนี้แตกตางกันตรงที่รสอาหารใชลิ้นเปนเครื่องสัมผัส เพื่อใหรูวาอาหารนั้นมีรสเปรี้ยว หวาน มัน เค็ม หรือเผ็ดอยางไร บางทีก็ใชจมูกดม กลิ่นพิสูจนวาอาหารนั้นมีกลิ่นหอมหวนชวนกินแคไหน สวนรสวรรณคดีนั้นสัมผัส ดวยตาและหูจากภาษากวีจึงจะรูรส และรสแหงวรรณคดีนี้เปนรสที่บอกถึงอารมณ เพียงอยางเดียว คือ บอกอารมณออกเปนสวนปลีกยอยลงไปอีกก็จะมีอยูมากมายหลาย ประการ เชน ความยินดี ความราเริง ความทุกขโศก ความโกรธ ความองอาจ ความ กลัว ความเกลียด ความพิศวง และความสงบ เปนตน และถาวรรณคดีเรื่องใดขาดรส ของวรรณคดีก็เปรียบเสมือนคนกินอาหารที่ไมมีรสแลวไมอรอยฉันใด การอาน วรรณคดี ที่ขาดรสก็อานไมสนุกฉันนั้น แตวรรณคดีเรื่องใดจะมีรสดีหรือไมยอมขึ้นอยูกับภาษาที่ แสดงออกเปนสําคัญ ภาษากวีกับรสวรรณคดีจึงแยกจากกันไมออก1 กุหลาบ มัลลิกะมาส2 กลาวถึงองคประกอบของวรรณคดีดานการแสดงออกซึ่งมีสวน เกี่ยวของกับอารมณสะเทือนใจอันกอใหเกิดรสวรรณคดีสรุปไดวา การแสดงออกเปนสื่อนําความ นึกคิด ความสะเทือนใจ และจินตนาการของผูแตงออกสูผูอานอื่น และการแสดงออกที่ดีจะตองทํา ใหผูอานมีความรูสึกและความเขาใจดีในสิ่งตอไปนี้ 1. ทําใหผูอานรูสึกหรือเห็นภาพตามคําบรรยาย 2. ทําใหเห็นความเคลื่อนไหวหรือนาฏการ 1 ประสิทธิ์ กาพยกลอน. แนวทางการศึกษาวรรณคดี ภาษากวี การวิจักษและวิจารณ. 2518. หนา 116. 2 กุหลาบ มัลลิกะมาส. ความรูทั่วไปทางวรรณคดีไทย. 2531. หนา 13.
  • 20. 15 3. เผยใหเห็นบุคลิกภาพและนิสัยใจคอของตัวละครในเรื่อง 4. ชวยใหเกิดความหยั่งเห็น คือ ความรูสึกเขาใจวาทําไมบุคคลจึงไดแสดงออกเชนนี้ 5. เผยใหเห็นบุคลิกภาพของผูแตง สวนผลกระทบทางจิตใจอันเนื่องมาจากการอานวรรณคดีจะมีมากนอยเพียงใดถือเปน เรื่องของแตละบุคคล ดังเชน สายทิพย นุกูลกิจ กลาวถึงเรื่องการเกิดอารมณสะเทือนใจวา “อารมณ สะเทือนใจอาจเกิดขึ้นเมื่อตัวละครไดเห็นนางอันเปนที่รักสิ้นชีวิต” 1 ซึ่งสอดคลองกับคํากลาวของ พระยาอนุมานราชธน ที่ไดกลาวถึงอัตวิสัยในการเกิดอารมณสะเทือนใจของผูอานวรรณคดีวา “จะ เปนวรรณกรรมทําใหทานบังเกิดอารมณสะเทือนใจแรงแคไหน จะเปนไปในทางฝายสูงหรือฝายต่ํา เกิดขึ้นแลวและหมดไปเร็วหรือชาก็ตามที ก็สุดแทแตตัวทาน ตามสวนแหงอํานาจความรูสึกนึก เห็นและความคุนเคยอบรมมา เปนเรื่องตางคนตางรูสึก ไมมีอะไรตองโตเถียงกันเรื่องนี้”2 จิตรลดา สุวัตถิกุล3 กลาวถึงเรื่อง รสวรรณคดีในเอกสารประกอบการสอนภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไวสรุปไดวา รสวรรณคดี ไดแก อารมณหรือภาวะตาง ๆ ที่ ปรากฎในวรรณคดี เชน อารมณรัก อารมณโกรธ อารมณเศรา เปนตน การอานวรรณคดีใหไดรส ผูอานตองพิจารณาถอยคําของผูเขียนทุกตัวอักษร แลวจึงคิดและวิเคราะหตามเพื่อใหรับรูภาวะแหง อารมณนั้น ๆ รสวรรณคดีแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ รสวรรณคดีไทย มี 4 รส คือ เสาวรจนี นารีปราโมทย พิโรธวาทัง สัลลาปงคพิสัย สวนรสวรรณคดีสันสกฤตมี 9 รส คือ ศฤงคารรส รุทธรส กรุณารส หาสยรส วีรรส ภยานกรส พิภัสรส อัทภูตรสและศานติรส กระแสร มาลยาภรณ กลาวถึงรสวรรณคดีไววา คุณคาสวนหนึ่งของวรรณคดี คือ คุณคาทางอารมณนั่นเอง คือ กวีตองมีแรงบันดาลใจอัน จะทําใหเกิดจินตนาการ สรางภาพสะเทือนอารมณ ขางผูอานก็จะตีความวรรณคดีนั้น ๆ ออกมา อันอาจจะเปนอารมณที่คลายกับกวี ผูแตง อารมณของกวีนั้นยอมเปนอารมณโศก อารมณรัก อารมณเคียดแคน ฯลฯ เรายอมไดประโยชนดวย การที่จะเปนคนอยูเฉย ๆ ไมมีความออนไหวหรือโลดโผนทางอารมณนั้นจะไม “สนุก” ไมไดรับ “รสแหงภาษา” 1 สายทิพย นุกูลกิจ. เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาไทย 321 : วรรณคดีวิจารณ. 2523. หนา 167. 2 พระยาอนุมานราชธน. การศึกษาวรรณคดีแงวรรณศิลป. 2546. หนา 51. 3 จิตรลดา สุวัตถิกุล. “องคประกอบทางสุนทรียศาสตร สุนทรียภาพในความ,” ภาษาไทย 7 (หนวยที่ 1 – 8). 2538. หนา 227 – 228.
  • 21. 16 เลย “รส” ของวรรณคดีนั้นทานเรียกวา “พนธรส” มีอยู 9 รส คือ ศฤงคารรส (ความ รัก) หาสยรส (ความหรรษา) กรุณารส (ความกรุณา) รุทธรส (ความดุราย) วีรรส (ความกลาหาญ) ภยานกรส (ความสยดสยอง) พิภัตสรส (ความขยะแขยง) อัทภูตรส (ความอัศจรรยใจ) และศานติรส (ความสงบ) วรรณคดีที่ดียอมใหรสตาง ๆ เหลานี้แก ผูอานได 1 เบญจมาศ พลอินทร 2 กลาวถึงเรื่องรสของวรรณคดีสรุปไดวา อรรถรส หมายถึง รสของวรรณคดีที่กอใหเกิดความรูสึกทางดานอารมณ เปนอาการที่เกิดขึ้นเมื่อไดฟงเรื่องราวจาก วรรณคดีและวรรณกรรม หรือถอยคําของกวีเปนเหตุจูงใจใหเปนไป ทั้งนี้ กวีจะตองเขาถึงภาวะ แหงจิตใจของผูอาน ผูฟงและอารมณของคนในลักษณะตาง ๆ แลวปรับถอยคําปรุงแตงใหเกิด อรรถรส หรือรสแหงวรรณคดี ซึ่งบรรดาปรมาจารยไดแยกแยะและกําหนดไวตามภาวะแหง อารมณ มีอาการเปนไปตามถอยคําของกวีอันมีอยู 9 ประการ คือ 1. สิงคารรส คือ รติ หมายถึง รสแหงความรัก 2. หัสสรส คือ หาสะ หมายถึง รสแหงความขบขันหรรษา 3. กรุณารส คือ โสกะ หมายถึง รสแหงความโศกเศราสงสาร 4. รุทธรส คือ โกธะ หมายถึง รสแหงความโกรธแคน 5. วีรรส คือ อุตสาหะ หมายถึง รสแหงความกลาหาญ 6. ภยานกรส คือ ภย หมายถึง รสแหงความกลัวภัยและสยดสยอง 7. วิภัจฉรส คือ ชิคุจฉา หมายถึง รสแหงความเกลียดและขยะแขยง 8. อัทภูตรส คือ วิมหยา หมายถึง รสแหงความประหลาดใจ 9. สันตรส คือ สมะ หมายถึง รสแหงความสงบแหงจิตใจ ความรูเรื่องรสวรรณคดีตามแนวทฤษฎีรสของวรรณคดีสันสกฤตดังที่กลาวมาแลว ผูวิจัยจะใชเปนแนวทางในการวิเคราะห โดยยึดแนวทางการศึกษาวิเคราะหวรรณคดีไทยตามแนว ทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตของ กุสุมา รักษมณี เปนหลัก 1 กระแสร มาลยาภรณ. วรรณคดีเปรียบเทียบเบื้องตน. 2516. หนา 23. 2 เบญจมาศ พลอินทร. พื้นฐานวรรณดคีและวรรณกรรมไทย. 2526. หนา 76 -77.
  • 22. 17 งานวิจัยที่เกี่ยวกับรสวรรณคดี ภาวณี โชติมณี 1 วิเคราะหวีรรสในรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2 โดย มุงวิเคราะหองคประกอบและพฤติกรรมของตัวละครที่แสดงถึงวีรรส องคประกอบของวีรรส ประกอบดวยองคประกอบดานวิภาวะ 3 ประการ คือ การเปนผูมีคุณธรรมของตัวละคร การตอง ถือปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอรอง และความรูสึกที่เกิดขึ้นในชั่วขณะองคประกอบดานอนุภาวะ ปรากฎอยู 3 ลักษณะ คือ อนุภาวะดานคําพูด อนุภาวะดานอากัปกิริยาและอนุภาวะดานคําพูด และอากัปกิริยา องคประกอบดานสาตตวิกภาวะปรากฎอยู 5 ลักษณะ คือ ภาวะตะลึงงัน ภาวะ เหงื่อออก ภาวะตัวสั่น ภาวะน้ําตาไหล และภาวะการเปนลม พฤติกรรมของตัวละครที่แสดงถึง วีรรส ผูวิจัยไดแบงพฤติกรรมของตัวละครออกเปน 2 ฝาย คือ วีรรสของตัวละครฝายพลับพลา และวีรรสของตัวละครฝายลงกา โดยปรากฎผลการวิเคราะหวีรรสในแตละดาน ผลการวิเคราะห วีรรสในแตละดานของตัวละครฝายพลับพลา พบวาในดานธรรมวีระมีบทบาทการทําหนาที่ที่โดด เดนของตัวละคร 9 ตัว คือ บทบาทผูปราบอธรรมและการเปนนายที่ดีของพระราม บทบาทการ เปนอนุชาที่ดีของพระลักษมณ พระพรต พระสัตรุด และพระลบ บทบาทการเปนชายาที่ดีของนาง สีดา บทบาทการเปนทหารที่ดีของหนุมานและองคต บทบาทการเปนอนุชาและที่ปรึกษาที่ดีของ พิเภก ดานรณวีระ มีบทบาทการรบที่โดดเดนของตัวละคร 5 ตัว คือ พระราม พระลักษณ หนุมาน และพระลบ พระมงกุฎ โดยตัวละครทั้งหมดไดแสดงบทบาทการตอสูโดยมีจุดประสงค เพื่อตองการเอาชนะและทําลายลางฝายปฏิปกษ ผลการวิเคราะหวีรรสของตัวละครฝายลงกา พบวา ในดานธรรมวีระ มีบทบาทการทําหนาที่ที่โดดเดนของตัวละคร 6 ตัว คือ บทบาทชายาและ มารดาที่ดีของนางมณโฑ บทบาทผูตัดสินคดีความที่มีความยุติธรรมของทาวมาลีวราช บทบาท อนุชาที่ดีของกุมภกรรณ บทบาทโอรสที่ดีของอินทรชิต บทบาทญาติที่ดีของนางเบญกาย และ บทบาทมารดาที่ดีของนางพิรากวนในดานรณวีระ มีบทบาทการรบที่โดดเดนของตัวละครจํานวน 13 ตัว คือ ทศกัณฐ กุมภกรรณ อินทรชิต ไมยราพ มัจฉานุ สหัสเดชะ มูลพลํา มังกรกัณฐ สัทธาสูร วิรุณจําบัง ทศคีรีวัน ทศคีรีธร และบรรลัยกัลป โดยตัวละครทุกตัวไดแสดงพฤติกรรม การสูรบเพื่อตองการเอาชนะฝายปฏิปกษ ทั้งนี้ ไมปรากฎพฤติกรรมที่แสดงถึงวีรรสดานทานวีระ จากตัวละครทั้งฝายพลับพลาและฝายลงกา 1 ภาวิณี โชติมณี. การวิเคราะหวีรรสในรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2. 2543. หนา 160.