SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
1
บทที่ 1
บทนำ
ที่มำและควำมสำคัญ
ร้านค้าสหกรณ์คือร้านค้าที่จัดตั้งอยู่ภายในชุมชนเพื่อให้ผู้คนในชุมชนได้มีสิ่งอานวยความสะดวก
สบาย สิ่งที่จาเป็นสาหรับประชากรในชุมชน สิ่งที่จาเป็นสาหรับชีวิตประจาวัน
เพราะถ้าในชุมชนมีร้านค้าสหกรณ์ก็จะมีผลดีต่อเศรษฐกิจภายในชุมชนและทาให้คนในชุมชนได้มีสิ่งของที่
ใช้ในชีวิตประจาวันจะได้ทาให้ชีวิตประจาวันมีเครื่องอานวยความสะดวก
ง่ายต่อการใช้สิ่งต่างๆและทาให้ชุมชนมีความเจริญ มีความก้าวหน้าและทันสมัย
ด้วยเหตุนี้ ผู้ศึกษาจึงต้องการที่จะศึกษาเรื่องราวของร้านค้าสหกรณ์ให้มีความรู้มากยิ่งขึ้น
เพื่อที่จะได้นาความรู้เรื่องร้านค้าสหกรณ์ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
และยังสามารถนาไปเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้เพื่อพัฒนาต่อยอดให้ร้านค้าสหกรณ์ในชุมชนมีควา
มพัฒนาก้าวหน้าและทันสมัยยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำค้นคว้ำ
1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆของร้านค้าสหกรณ์
2. ศึกษาความสาคัญของร้านค้าสหกรณ์ ที่มีต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรในชุมชน
3. ศึกษาสภาพปัญหาของร้านค้าสหกรณ์เพื่อได้ให้ความช่วยเหลือแก่ร้านค้าสหกรณ์
ขอบเขตกำรศึกษำค้นคว้ำ
1. ด้านเนื้อหา
- ศึกษาเกี่ยวกับที่มาของร้านค้าสหกรณ์
- ศึกษาเกี่ยวกับประโยชน์ของร้านค้าสหกรณ์
- ศึกษาสภาพปัญหาของร้านค้าสหกรณ์
2. ด้านสถานที่
- สถานที่ที่ศึกษาค้นคว้าส่วนมากคือ โรงเรียนชุมแพศึกษา โดยศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ต ที่ห้องสมุด
3. ด้านเวลา
- ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
1. ผู้ศึกษามีความรู้เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์มากขึ้น
2. ประชาชนต่างมีความรู้เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์มากขึ้น
2
3. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน และพัฒนาร้านค้าสหกรณ์ให้รุ่งเรืองได้มากขึ้น
บทที่ 2
เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์
คณะผู้จัดทาได้ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์ ซึ่งจะนาเสนอดังนี้
1. ที่มาของร้านค้าสหกรณ์
2. ความสาคัญของร้านค้าสหกรณ์
3. หลักการของร้านค้าสหกรณ์ 7 ประการ
4. วัตถุประสงค์ของร้านค้าสหกรณ์
5. เหตุผลของการจัดประเภทสหกรณ์
6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. ที่มำของร้ำนค้ำสหกรณ์
สหกรณ์ถือกาเนิดขึ้นในยุโรปในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมที่ต้องใช้ที่ดินจานวนมาก
การกว้านซื้อที่ดินส่งผลให้ประชาชนชั้นรากฐานไร้ที่ดินทากินละทิ้งถิ่นฐานเข้าไปเป็นแรงงานในเมืองหลวง
ความยากจนยิ่งโหมกระหน่า จากสังคมที่เคยเกื้อกูลดังเช่นในชนบทได้จางหายไปทุกคนต้องต่อสู้ดิ้นรนเอา
ตัวรอด ถึงกระนั้นความพยายามแสวงหาวิธี สร้างสังคมใหม่ควบคู่กันไปกับระบบเศรษฐกิจที่
ยั่งยืนได้ใช้เวลาเนิ่นนานจึงคิดค้นวิธีการได้สาเร็จ เรียกว่า ‘การสหกรณ์’ และถือว่า ‘โรเบิร์ด โอเวน’
เป็นบิดาสหกรณ์โลก
สหกรณ์แห่งแรกของโลก
ความลาบากยากแค้นของผู้ใช้แรงงานในโรงงานท่อผ้า ณ เมืองรอชเดล ประเทศอังกฤษ
ที่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากการซื้อสินค้าเงินเชื่อรวมกับดอกเบี้ยสูงและการจ่ายค่าจ้างเป็นสิ่งของ
เป็นแรงผลักดันให้มีการแสวงหาทางรอด ตามวิธีสหกรณ์ คือ ร้านสหกรณ์รอชเดล
โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งมีข้อตกลงร่วมกันในหลักเกณฑ์ที่เรียกว่า ‘กฎ 10 ประการ’
และกฎนี้เป็นแม่บทของหลักการสหกรณ์ สหกรณ์นี้จึงได้รับการขนานนามว่าเป็นสหกรณ์แห่งแรกของโลก
การดาเนินงานของสหกรณ์รอชเดล ไม่เพียงแต่ช่วยเหลือสมาชิกเฉพาะในด้านเครื่องโภคภัณฑ์เท่านั้น
ยังมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านอื่นๆ โดยเฉพาะด้านการศึกษา
เพราะเป็นที่เข้าใจกันว่าผู้ใช้แรงงานมีความรู้น้อย การศึกษาจึงมีความจาเป็นโดยได้เปิดสอนในวิชาการต่างๆ
แก่สมาชิกในยามว่างก็คือเวลากลางคืน จึงเรียกว่า ‘โรงเรียนกลางคืน’
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
3
ความลาบากยากเข็ญที่กระจายอยู่ทั่วไป เยอรมันก็เป็นประเทศหนึ่งที่กาเนิดสหกรณ์เครดิต
(สหกรณ์สินเชื่อหรือธนาคารสหกรณ์) ซึ่งมี 2 ประเภท คือ สหกรณ์ในเมือง มี ‘เฮอร์มัน ชุลซ์ เดลิทซ์’
เป็นผู้ให้กาเนิดสหกรณ์ สาหรับประชาชนผู้ยากจนในเมืองและสหกรณ์เครดิตในชนบท มี ‘ฟรีดริช วิลเฮล์ม
ไรฟ์ไฟเซน’เป็นผู้ให้กาเนิด ในการจัดตั้งสหกรณ์สาหรับชาวนา
โดยได้ขยายไปทั่วเยอรมนีและสหกรณ์เหล่านี้ได้ร่วมตัวกันก่อตั้งสถาบันกองทุนกลางในภูมิภาคต่างๆ
ในที่สุดได้ก่อตั้งสถาบันกลางระดับชาติ
วันสหกรณ์สากล
สหกรณ์ในประเทศต่างๆ มีหลายประเภทหลายระดับ รวมเป็นขบวนการสหกรณ์ของประเทศนั้นๆ
มีความเจริญก้าวหน้าแตกต่างกันไป มองในภาพรวมเรียกได้ว่าเป็น ‘ขบวนการสหกรณ์โลก’
มีการประชุมสมัชชาสหกรณ์ระหว่างชาติเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2438 ณ กรุงลอนดอน
ประเทศอังกฤษ มีมติก่อตั้งองค์การสัมพันธภาพสหกรณ์ ระหว่างประเทศ (องค์การ ICA )
เพื่อประสานความร่วมมือในด้านต่างๆ มีสานักงานใหญ่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศ สวิชเซอร์แลนด์ เมื่อ พ.ศ.
2538 องค์การ ICA ได้ปรับปรุงและประกาศหลักการเป็น 7 ประการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้องค์การ
ICA ได้ประกาศให้สหกรณ์ทั่วโลกร่วมเฉลิมฉลองวันสหกรณ์สากลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2465
ต่อมาที่ประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2535
มีมติให้วันเสาร์แรกของเดือนกรกฎาคมทุกปีเป็น ‘วันสหกรณ์สากล’
ประวัติสหกรณ์ไทย บิดาและสหกรณ์แรกของไทย
สหกรณ์ในประเทศต่างๆ เจริญก้าวหน้าส่งผลดีในการพัฒนาประเทศ สาหรับประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.
2458 นโยบายแห่งรัฐ เห็นสมควรนาวิธีการสหกรณ์
เข้ามาช่วยพัฒนาประเทศให้ประชาชนได้หลุดพ้นจากความยากจน โดยเฉพาะเกษตรกร พระราชวรวงค์เธอ
กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย ได้ทรงส่งเสริมให้ก่อตั้งสหกรณ์แห่งแรกคือ
สหกรณ์วัดจันทร์ ไม่จากัดสินใช้ ณ ตาบลวัดจันทร์ อาเภอเมือง
จังหวัดพิษณุโลกและทรงเป็นนายทะเบียนสหกรณ์ รับจดทะเบียนเป็นสหกรณ์แห่งแรก เมื่อวันที่ 26
กุมภาพันธ์ 2459 ตามรูปแบบสหกรณ์ เครดิตแบบไรฟ์ไฟเซน ที่ได้รับความสาเร็จมาแล้วในอินเดียและพม่า
ซึ่งทั้งสองประเทศได้ส่งคนไปศึกษาจากประเทศเยอรมนี และเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2527
ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติกาหนดให้วันที่ 26 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็น ‘วันสหกรณ์แห่งชาติ’
ขบวนการสหกรณ์ไทย
การสหกรณ์ได้แพร่หลายเริ่มตั้งแต่การตราพระราชบัญญัติสมาคมเพิ่มเติม พ.ศ. 2459 เพื่อทดลอง
และเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2471 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2471
เป็นพระราชบัญญัติสหกรณ์ฉบับแรกที่ส่งเสริมให้สหกรณ์ร่วมกลุ่มกันก่อตั้งชุมนุมสหกรณ์
สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย จากัดสินใช้ก็ได้เกิดขึ้นโดยการรวมกลุ่มกันของสหกรณ์ท้องถิ่น
ได้จดทะเบียนเป็นประเภทชุมชนสหกรณ์ เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2511 มีพระบรมราชโองการ
4
ประกาศพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 มีผลทาให้สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยจากัดสินใช้
เลิกไปและให้มีการก่อตั้งสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยขึ้นแทนโดยผลแห่งกฎหมาย
สหกรณ์ฉบับนั้นพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ซึ่งใช้บังคับในปัจจุบัน
กาหนดให้มีคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ และกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (อยู่ใต้พรบ. ปี 2511
อยู่แล้ว)
2. ควำมสำคัญของร้ำนค้ำสหกรณ์
1. เป็นองค์การธุรกิจแบบหนึ่งที่มีบทบาททางเศรษฐกิจเกือบทุกด้าน เริ่มตั้งแต่การผลิต การจาหน่าย
และการบริโภค ถ้าหากสามารถทาให้กระบวนการทางสหกรณ์มีประสิทธิภาพแล้ว
จะเป็นเครื่องมือสาคัญของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา
เพราะสหกรณ์มีบทบาทในการกระจายรายได้ไปสู่ประชาชนอย่างยุติธรรม
ช่วยตัดพ่อค้าคนกลางและนายทุนออกไป
2. เป็นการรวมแรง รวมปัญญา รวมทุนของบุคคลที่อ่อนแอทางเศรษฐกิจ
การดาเนินการเป็นแบบประชาธิปไตย
3. ยึดหลักการช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รวมตัวกันด้วยความสมัครใจ
มีความเสมอภาคและมีความสามารถในการดาเนินการและสิทธิผลประโยชน์
ยึดหลักการประหยัดโดยส่งเสริมให้สมาชิกประหยัดและออมเงิน โดยให้บริการรับฝากเงิน
การซื้อสินค้าและได้รับเงินออมคืนในรูปเงินปันผล
4. ช่วยสร้างความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม เมื่อบุคคลมารวมกันจัดตั้งสหกรณ์ขึ้น
มีการรวมแรง รวมทุน รวมปัญญา ดาเนินกิจกรรมเอง โดยตัดพ่อค้าคนกลางออก เพื่อไม่ให้เสียเปรียบ
ทาให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น มีการกินดีอยู่ดี ฐานะความเป็นอยู่ของคนกลุ่มนั้นก็เจริญขึ้น
มีการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข สังคมมีระเบียบ อาชญากรรมก็ไม่เกิดขึ้น
จากบทสรุปดังกล่าวแล้วจะเห็นว่าสหกรณ์มีบทบาทสาคัญที่จะพัฒนาประเทศชาติทั้งในด้านเศรษฐกิจ
สังคมและการปกครอง ในแง่ของสมาชิกรายบุคคลและสาหรับประชาชนส่วนรวมดังนี้ คือ
1. ความสาคัญต่อสมาชิกสหกรณ์
ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าสหกรณ์เป็นขุมทรัพย์ทางด้านเศรษฐกิจของสมาชิก
ทาให้สมาชิกที่ขัดสนยากจนหลุดพ้นจากสภาพหนี้ได้คือ เศรษฐกิจของสมาชิกที่ฝืดเคืองมาก่อน
มีโอกาสกลับกลายเป็นสภาพเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตก้าวหน้าได้
2. ความสาคัญต่อเศรษฐกิจส่วนรวม
ระบบสหกรณ์มุ่งส่งเสริมฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละคนให้เจริญเติบโตขึ้น
เพราะระบบสหกรณ์เป็นที่รวมของส่วนดีระบบทุนนิยมและสังคมนิยมไว้
5
โดยมุ่งที่จะผลิตเศรษฐทรัพย์และความมั่นคงให้ประเทศ ทาให้รายได้ประชาชาติสูงขึ้น
และยังนาเอาความเสมอภาคและเสรีภาพเข้ามาใช้เพื่อรักษาธรรมชาติของมนุษย์ให้ปลูกฝังความรู้
ความสามารถทางเศรษฐกิจ สังคม และการปกครองระบอบประชาธิปไตย ให้แก่สมาชิกสหกรณ์
ไม่ชอบความรุนแรง แต่ดาเนินการโดยใช้ ‘สายกลาง’ เป็นหลัก
3. หลักกำรของร้ำนค้ำสหกรณ์ 7 ประกำร
1. การเปิดรับสมาชิกทั่วไปและด้วยความสมัครใจ
2. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง
3. การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก
4. การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ
5. การศึกษา ฝึกอบรม และข่าวสาร
6. การร่วมมือระหว่างสหกรณ์
7. ความเอื้ออาทรต่อชุมชน
4. วัตถุประสงค์ของร้ำนค้ำสหกรณ์
โดยทั่วไปวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ แบ่งได้เป็น 2 ประการ คือ
1. วัตถุประสงค์ทั่วไป หรือถ้าจะกล่าวไปแล้วก็คือจุดมุ่งหมายของสหกรณ์นั้นเอง
ในรายงานของคณะกรรมาธิการหลักการสหกรณ์ องค์การสัมพันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศ ได้กล่าวว่า
สหกรณ์มีวัตถุประสงค์ที่ไกลกว่าการส่งเสริมผลประโยชน์ของสมาชิก คือ
“การส่งเสริมความก้าวหน้าและสวัสดิภาพของมนุษย์ชาติมากกว่า”
จากจุดมุ่งหมายนี้จึงทาให้สหกรณ์แตกต่างจากธุรกิจทั่วๆ ไป
และเป็นเหตุผลที่สามารถทดสอบได้ ธุรกิจสหกรณ์มีจุดยืนที่มีประสิทธิภาพ เพราะผู้ที่จะมาเป็นนักสหกรณ์
ได้จาเป็นจะต้องยึดมั่นในอุดมการณ์และหลักการของสหกรณ์
2. วัตถุประสงค์เฉพาะ คือ วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ใดสหกรณ์หนึ่ง ซึ่งได้จัดตั้งขึ้น
เช่น วัตถุประสงค์ของร้านสหกรณ์ขอนแก่นจากัด
เป็นต้น เป็นวัตถุประสงค์ที่สหกรณ์ร้านค้ากาหนดเป็นนโยบายในการดาเนินกิจการร้านสหกรณ์ขอนแก่น
จากัด เท่านั้น ซึ่งวัตถุประสงค์เฉพาะนี้ จะกาหนดไว้สาหรับสหกรณ์แต่ละประเภทเฉพาะเจาะจงไป
5. เหตุผลของกำรจัดประเภทสหกรณ์
1.
เพื่อประโยชน์ในการกาหนดนโยบายด้านสหกรณ์ของรัฐบาลว่าจะเน้นการส่งเสริมสหกรณ์ประเภทใด ภาย
ใต้ข้อจากัดของทรัพยากรด้านต่างๆ
6
2. เพื่อประโยชน์แก่การรวมตัวของสหกรณ์ในทางยืน คือ การตั้งชุมนุมสหกรณ์หรือสหพันธ์
หรือสหภาพสหกรณ์ในระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศ ในกรณีชุมนุมสหกรณ์หรือสหพันธ์สหกรณ์ซึ่งเป็น
การรวมกันทางธุรกิจหรือวิสาหกิจ
สมาชิกจะต้องเป็นสหกรณ์ประเภทเดียวกันเท่านั้น แต่ในกรณีสันนิบาตสหกรณ์หรือสหภาพสหกรณ์สมาชิ
กไม่จากัดว่าต้องเป็นสหกรณ์ประเภทเดียวกัน เพราะว่าเป็นการรวมกันในด้านอุดมการณ์เพื่อส่งเสริมและเผ
ยแพร่ความรู้ความเข้าใจ และความเจริญก้าวหน้าทั้งด้านวิชาการและด้านความสัมพันธ์ภายในขบวนการสห
กรณ์ของชาติและกับรัฐบาล ขบวนการสหกรณ์ต่างประเทศ
รวมทั้งองค์การระหว่างประเทศและบุคคลหรือสถาบันต่างๆ
3. เพื่อประโยชน์แก่การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลสถิติของสหกรณ์แต่ละประเภทอย่างเป็นระบบ
เพื่อศึกษา วิจัย และทารายงานความก้าวหน้าของสหกรณ์แต่ละประเภทประจาปี
อันจะเป็นประโยชน์แก่การวางแผนปรับปรุงและพัฒนาขบวนการสหกรณ์ในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสมและ
เป็นประโยชน์แก่ประชาชน ชุมชน สังคมและประเทศชาติอย่างแท้จริง
4.
เพื่อประโยชน์แก่การส่งเสริมและพัฒนาขบวนการสหกรณ์ให้ตรงกับความต้องการของประชาชน และเหม
าะสมกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก
5. สาหรับประเทศที่ยังใช้ระบบสหกรณ์ที่รัฐอุปถัมภ์
เพื่อประโยชน์แก่การวางแผนถ่ายโอนอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของรัฐในการส่งเสริม
การกากับแนะนาและการตรวจสอบสหกรณ์ให้แก่ขบวนการสหกรณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไปตามความพร้อมแ
ละความเจริญก้าวหน้าในการพึ่งตนเองและการปกครองตนเองได้ของสหกรณ์แต่ละประเภท จนในที่สุดรัฐ
จะมีอานาจหน้าที่เพียงรับจดทะเบียนสหกรณ์และควบคุมดูแลให้สหกรณ์ดาเนินงานให้ถูกต้องตามกฎหมาย
และหลักการสหกรณ์เท่านั้น เช่นเดียวกับการควบคุมดูแลห้างหุ้นส่วนบริษัทหรือองค์การธุรกิจที่เน้นการแ
สวงหากาไรจากการลงทุนนั่นเอง สหกรณ์และองค์การธุรกิจรูปอื่นในภาคเอกชนก็จะมีความเป็นอิสระเช่นเ
ดียวกัน
6. เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ จรรยาสุภาพ และ อาจารย์รัตนา โพธิสุวรรณ :
สหกรณ์ร้านค้าซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
ร้านสหกรณ์เปิดหรือร้านสหกรณ์ที่จาหน่ายสินค้าแก่บุคคลทั่วไป
และร้านสหกรณ์ปิดหรือร้านสหกรณ์ที่จาหน่ายสินค้าแก่บุคลากรภายในหน่วยงาน
พบว่าร้านสหกรณ์เปิดมีผลการดาเนินงานถดถอยมากกว่าร้านสหกรณ์ปิด
ด้วยผลกระทบจากธุรกิจเอกชนรายใหญ่ เช่น แมคโคร โลตัส เป็นต้น ค่อนข้างรุนแรง
ประกอบกับการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการมีน้อย
7
ร้านประเภทนี้จึงปิดตัวเองหรือมีกิจการเสื่อมถอยลงอย่างมาก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นร้านค้าที่จาหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ที่มีการแข่งขันรุนแรง
สาหรับสหกรณ์ปิดแม้สถานภาพส่วนใหญ่จะดีกว่า แต่ก็หลีกเลี่ยงไม่พ้นต่อการแข่งขันจากธุรกิจเอกชน
เช่นเดียวกับร้านที่มีฐานะและการดาเนินงานค่อนข้างดีส่วนใหญ่หันไปจับสินค้าตัวอื่นๆ
ที่มีส่วนเหลื่อมราคาค่อนข้างสูง
คุณ ภรณ์ชนก บูรณะเรข :
ได้วิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของร้านสหกรณ์วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา จากัด ในปี
2554 โดยใช้แนวคิดทฤษฏี CAMELS Analysis เปรียบเทียบกับอัตราส่วนของสหกรณ์ร้านค้าเฉลี่ย
ระดับขนาดใหญ่และวิเคราะห์แนวโน้มฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของร้านสหกรณ์วิทยาลัยอาชีวศึ
กษาฉะเชิงเทรา จากัด ในช่วงปี 2552 – 2554 ผลการศึกษาพบว่า ร้านสหกรณ์วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา
จากัด มีฐานะการเงินและ ผลการดาเนินงาน ในปี 2554 ในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี เมื่อพิจารณาในมุมมอง 6
มิติ พบว่ามิติที 1 ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง อยู่ในเกณฑ์ดี มิติที่ 2 คุณภาพของสินทรัพย์
อยู่ในเกณฑ์ดี มิติ ที่ 3 ความสามารถในการบริหาร อยู่ในเกณฑ์ดี มิติที่ 4 ความสามารถในการทากาไร
อยู่ในเกณฑ์ดี มิติ ที่ 5 สภาพคล่องทางการเงิน อยู่ในเกณฑ์ดี และมิติที่ 6 ผลกระทบต่อธุรกิจ
มีปัจจัยเสี่ยงจากราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้น
จะเห็นได้ว่าจากงานวิจัยที่คณะผู้จัดทาได้ศึกษามานั้นเป็นเรื่องการวิจัยที่เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์ทั้งสิ้น
โดยอาจารย์ท่านต่างๆ ได้วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของร้านค้าสหกรณ์และผลการดาเนินงาน
ซึ่งสิ่งที่แต่ล่ะท่านได้ศึกษาวิจัยออกมานั้นต่างเป็นประโยชน์ต่อประเทศเราอย่างยิ่ง
บทที่ 3
ขั้นตอนกำรดำเนินกำรศึกษำ
ในการศึกษาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์ คณะผู้จัดทาได้มีวิธีการดาเนินการศึกษาการ เรื่อง ร้านค้าสหกรณ์
ตามขั้นตอนดังนี้
1. วัสดุ อุปกรณ์และโปรแกรมที่ใช้งำน
1. คอมพิวเตอร์
2. โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
3. สมุด
4. กระดาษ
5. ปากกา
8
6. อินเทอร์เน็ต
7. หนังสือที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์
2. วิธีดำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ
1. คิดหัวข้อที่สนใจเพื่อนำเสนอครูที่ปรึกษำค้นคว้ำ
2. ศึกษำและค้นคว้ำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือ เรื่อง ร้ำนค้ำสหกรณ์
ว่ำมีเนื้อหำมำกน้อยเพียงใด และต้องศึกษำค้นคว้ำเพิ่มเติมเพียงใดจำกเว็บไซต์ต่ำงๆ
และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทำเนื้อหำต่อไป
3. ทบทวนเรื่องที่ศึกษำจำกกำรเรียน IS1 (กำรศึกษำค้นคว้ำและสร้ำงองค์ควำมรู้) เรื่อง ร้ำนค้ำสหกรณ์
4. จัดทำโครงร่ำงกำรเขียนรำยงำนทำงวิชำกำร
5. จัดทำโครงร่ำงต่อครูที่ปรึกษำค้นคว้ำเพื่อพิจำรณำอนุมัติ
6. ศึกษำวิธีกำรจัดทำรำยงำนทำงวิชำกำรเป็นรูปเล่ม
7. นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆ
ตามระยะเวลาที่ครูที่ปรึกษาค้นคว้ากาหนดเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า
8. ศึกษำวิธีกำรเขียนอ้ำงอิงและบรรณำนุกรม
9. จัดทำร่ำงรำยงำนทำงวิชำกำรและเป็นรูปเล่ม
10. ตรวจสอบควำมถูกต้องของร่ำงรำยงำนทำงวิชำกำร
11. นำเสนอร่ำงรำยงำนทำงวิชำกำรเป็นรูปเล่มต่อครูที่ปรึกษำค้นคว้ำเพื่อตรวจสอบควำมถูกต้อง
12. จัดทำรำยงำนเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
13. จัดทำ Power Point นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
14. เผยแพร่ผลงำนสู่สำธำรณชนผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น social media online (facebook)
บทที่ 4
ผลกำรดำเนินกำรศึกษำ
กำรศึกษำ เรื่อง ร้ำนค้ำสหกรณ์ คณะผู้จัดทำได้ศึกษำค้นคว้ำข้อมูล
มีวัตถุประสงค์เพื่อได้ศึกษำควำมเป็นมำและพัฒนำกำรในด้ำนต่ำงๆ ของร้ำนค้ำสหกรณ์
ควำมสำคัญของร้ำนค้ำสหกรณ์และสภำพปัญหำของร้ำนค้ำสหกรณ์ เพื่อให้สำมำรถนำมำประยุกต์ใช้
ตลอดจนเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับเยำวชนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลกำรดำเนินกำรศึกษำ ดังนี้
ผลกำรศึกษำ
9
จากการได้ศึกษาข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์
คณะผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินการศึกษาตามขั้นตอนการศึกษาที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว และได้รับความรู้เรื่อง
ร้านค้าสหกรณ์ จากเว็บไซต์ต่างๆ ดังนี้ สหกรณ์ถือกาเนิดขึ้นในยุโรปในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม
และเกษตรกรรมที่ต้องใช้ที่ดินจานวนมาก
การกว้านซื้อที่ดินส่งผลให้ประชาชนชั้นรากฐานไร้ที่ดินทากินละทิ้งถิ่นฐานเข้าไปเป็นแรงงานในเมืองหลวง
ความยากจนยิ่งโหมกระหน่า จากสังคมที่เคยเกื้อกูลดังเช่นในชนบทได้จางหายไปทุกคนต้องต่อสู้ดิ้นรนเอา
ตัวรอด ถึงกระนั้นความพยายามแสวงหาวิธี สร้างสังคมใหม่ควบคู่กันไปกับระบบเศรษฐกิจที่
ยั่งยืนได้ใช้เวลาเนิ่นนานจึงคิดค้นวิธีการได้สาเร็จ เรียกว่า ‘การสหกรณ์’ และถือว่า ‘โรเบิร์ด โอเวน’
เป็นบิดาสหกรณ์โลก ความสาคัญของร้านค้าสหกรณ์
เป็นองค์การธุรกิจแบบหนึ่งที่มีบทบาททางเศรษฐกิจเกือบทุกด้าน เริ่มตั้งแต่การผลิต การจาหน่าย
และการบริโภค ถ้าหากสามารถทาให้กระบวนการทางสหกรณ์มีประสิทธิภาพแล้ว
จะเป็นเครื่องมือสาคัญของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา
สภาพปัญหาของร้านค้าสหกรณ์ สมาชิก มีความรู้ ความเข้าใจ การมีส่วนร่วม
ความมีวินัยของสมาชิกและความรู้สึกในเรื่องของการเป็นเจ้าของสหกรณ์ ดูเหมือนว่ามีอยู่น้อย
เพราะมุ่งถึงประโยชน์ที่ตนจะได้รับมากกว่า ปัญหาเงินทุน เนื่องจาก ธกส. มักเข้มงวดกับสหกรณ์ขนาดเล็ก
ทาให้บางครั้งไม่อนุมัติเงินทุนในระยะแรกแก่สหกรณ์ ปัญหาด้านการตลาด
กล่าวคือยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เช่น ตอบสนองไม่ทันเวลา
ซึ่งเพื่อนๆ ในชั้น ม.2 /1 ก็ได้ให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประโยชน์ของร้านค้าชุมชน
ดังนี้ 1. เด็กหญิง ฟาติมา ณรงค์นอก ได้ให้ความเห็นว่า ร้านค้าสหกรณ์ต้องเสียภาษี 2. เด็กหญิง วริสรา
สีหานาถ ได้ให้ความเห็นว่า สินค้าที่นิยมนามาขายส่วนมาก เช่น ขนม 3. เด็กหญิง ศศิญาฎา พรมสุบรรณ์
ได้ให้ความเห็นว่า ร้านค้าสหกรณ์เป็นศูนย์กลางการประชาสัมพันธ์
จากงานวิจัยที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมามีเนื้อหา ดังนี้คือ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับร้านค้าสหกรณ์
ส่วนใหญ่มีสหกรณ์เปิดและสหกรณ์ปิด ฐานะทางการเงินและผลการดาเนินงานของร้านค้าสหกรณ์
และนี่ก็คือ ร้านค้าสหกรณ์ ที่คณะผู้จัดทาได้รับจากการศึกษาค้นคว้า ซึ่งเป็นข้อมูลที่สอดคล้องตรงกัน
10
บทที่ 5
สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำและข้อเสนอแนะ
การศึกษาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์ นี้ สามารถสรุปผลการดาเนินการศึกษาและข้อเสนอแนะ ได้ดังนี้
1. กำรดำเนินกำรศึกษำ
11
1.1วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำค้นคว้ำ
1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆของร้านค้าสหกรณ์
2. ศึกษาความสาคัญของร้านค้าสหกรณ์ ที่มีต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรในชุมชน
3. ศึกษาสภาพปัญหาของร้านค้าสหกรณ์เพื่อได้ให้ความช่วยเหลือแก่ร้านค้าสหกรณ์
1.2 วัสดุ อุปกรณ์และโปรแกรมที่ใช้งำน
1. คอมพิวเตอร์
2. โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
3. สมุด
4. กระดาษ
5. ปากกา
6. อินเทอร์เน็ต
7. หนังสือที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์
2. สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำ
กำรศึกษำ เรื่อง ร้ำนค้ำชุมชน ในรำยวิชำ กำรศึกษำและสร้ำงองค์ควำมรู้ (IS1)
และได้รวบรวมข้อมูลและพร้อมนำเสนอในรำยวิชำ กำรสื่อสำรและกำรนำเสนอ (IS2)
คณะผู้จัดทำได้ศึกษำค้นคว้ำข้อมูล
มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นคว้ำเรื่องเกี่ยวกับควำมเป็นมำและพัฒนำกำรในด้ำนต่ำงๆ ของร้ำนค้ำสหกรณ์
ควำมสำคัญของร้ำนค้ำสหกรณ์และสภำพปัญหำของร้ำนค้ำสหกรณ์
เพื่อเป็นแหล่งควำมรู้และเผยแพร่ให้ประชำชนได้รับรู้
ตลอดจนเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับเยำวชนและผู้สนใจทั่วไป
คณะผู้จัดทำได้เริ่มดำเนินกำรศึกษำตำมขั้นตอนกำรศึกที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว และได้รับควำมรู้ต่ำงๆ
เกี่ยวกับร้ำนค้ำสหกรณ์มำกยิ่งขึ้น เช่น ได้รู้จักควำมเป็นมำของสหกรณ์ พัฒนำกำรต่ำงๆของสหกรณ์
ปัญหำของสหกรณ์และงำนวิจัยต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับร้ำนค้ำสหกรณ์ ทั้งนี้ทำงคณะผู้จัดทำได้จัดทำ Power
Point เรื่อง ร้ำนค้ำสหกรณ์ ที่มีควำมน่ำสนใจด้ำนเนื้อหำและรูปลักษณ์ขึ้นมำ
เพื่อเผยแพร่ควำมรู้ที่มีประโยชน์ให้ประชำชนทั่วไปได้ศึกษำนำควำมรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันและ
ต่อยอดให้ร้านค้าสหกรณ์มีความเจริญมากขึ้น
3. ข้อเสนอแนะ
12
ในกำรศึกษำเรื่อง ร้ำนค้ำชุมชน นั้น คณะผู้จัดทำได้ศึกษำเพื่อสร้ำงองค์ควำมรู้ให้แก่ตนเองและผู้อื่น
ซึ่งสำมำรถนำควำมรู้ที่ได้รับนี้ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
อีกทั้งยังสำมำรถนำควำมรู้ที่ได้รับไปสนับสนุนกำรเรียนกำรสอนของกำรศึกษำได้เป็นอย่ำงดีและสำมำรถ
นำไปพัฒนำได้ในอนำคต ในกำรศึกษำครั้งนี้มีข้อเสนอแนะดังนี้
3.1 ข้อเสนอแนะทั่วไป
1. ควรจัดทำเป็นสื่อชนิดต่ำงๆ ที่สำมำรถให้ประชำชนทั่วไปเรียนรู้ได้หลำยช่องทำง
เพื่อเผยแพร่ควำมรู้ต่ำงๆ ให้แก่บุคคลทั่วไปได้ศึกษำเพื่อเป็นประโยชน์
2.จัดทำรูปแบบให้น่ำสนใจ มีเนื้อหำที่เข้ำใจง่ำย และรูปภำพประกอบ
3. ควรมีกำรจัดทำเนื้อหำให้หลำกหลำย
3.2 ปัญหำ อุปสรรคและแนวทำงในกำรศึกษำ
1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน
2. ระบบอินเทอร์เน็ตมีปัญหาบ่อยครั้ง เกิดการสะดุด
ทาให้สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนไม่ต่อเนื่อง
บรรณำนุกรม
13
สหกรณ์. (2556, 16 ธันวาคม). ใน วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2557,
จาก http://th.wikipedia.org/wiki/สหกรณ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ จรรยาสุภาพ และ อาจารย์รัตนา โพธิสุวรรณ. (2544, 2 กรกฎาคม).
แนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารงานสหกรณ์ร้านค้า. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2557,
จาก www.journal.eco.ku.ac.th/download.
ความสาคัญของสหกรณ์. (2546). ใน หลักการสหกรณ์ 3506-2004. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2557,
จาก http://ab.cmcat.ac.th/main/sahakorn/u004.html
14
ภาคผนวก

Contenu connexe

Tendances

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 

Tendances (20)

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 

En vedette

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่นโคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่นPhakanan Boonpithakkhet
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceFarlamai Mana
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
ดนตรีกับเยาวชนไทย
ดนตรีกับเยาวชนไทยดนตรีกับเยาวชนไทย
ดนตรีกับเยาวชนไทยleemeanshun minzstar
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2พัน พัน
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2kessara61977
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
React Components Lifecycle | React Tutorial for Beginners | ReactJS Training ...
React Components Lifecycle | React Tutorial for Beginners | ReactJS Training ...React Components Lifecycle | React Tutorial for Beginners | ReactJS Training ...
React Components Lifecycle | React Tutorial for Beginners | ReactJS Training ...Edureka!
 
Big Data Tutorial For Beginners | What Is Big Data | Big Data Tutorial | Hado...
Big Data Tutorial For Beginners | What Is Big Data | Big Data Tutorial | Hado...Big Data Tutorial For Beginners | What Is Big Data | Big Data Tutorial | Hado...
Big Data Tutorial For Beginners | What Is Big Data | Big Data Tutorial | Hado...Edureka!
 
What is Artificial Intelligence | Artificial Intelligence Tutorial For Beginn...
What is Artificial Intelligence | Artificial Intelligence Tutorial For Beginn...What is Artificial Intelligence | Artificial Intelligence Tutorial For Beginn...
What is Artificial Intelligence | Artificial Intelligence Tutorial For Beginn...Edureka!
 

En vedette (14)

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่นโคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
โคงงานไอเอส เรื่องเกลียวขวดน้ำกันลื่น
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
ดนตรีกับเยาวชนไทย
ดนตรีกับเยาวชนไทยดนตรีกับเยาวชนไทย
ดนตรีกับเยาวชนไทย
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
Is2
Is2Is2
Is2
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
React Components Lifecycle | React Tutorial for Beginners | ReactJS Training ...
React Components Lifecycle | React Tutorial for Beginners | ReactJS Training ...React Components Lifecycle | React Tutorial for Beginners | ReactJS Training ...
React Components Lifecycle | React Tutorial for Beginners | ReactJS Training ...
 
Big Data Tutorial For Beginners | What Is Big Data | Big Data Tutorial | Hado...
Big Data Tutorial For Beginners | What Is Big Data | Big Data Tutorial | Hado...Big Data Tutorial For Beginners | What Is Big Data | Big Data Tutorial | Hado...
Big Data Tutorial For Beginners | What Is Big Data | Big Data Tutorial | Hado...
 
What is Artificial Intelligence | Artificial Intelligence Tutorial For Beginn...
What is Artificial Intelligence | Artificial Intelligence Tutorial For Beginn...What is Artificial Intelligence | Artificial Intelligence Tutorial For Beginn...
What is Artificial Intelligence | Artificial Intelligence Tutorial For Beginn...
 

โครงงานไอเอส1

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ ร้านค้าสหกรณ์คือร้านค้าที่จัดตั้งอยู่ภายในชุมชนเพื่อให้ผู้คนในชุมชนได้มีสิ่งอานวยความสะดวก สบาย สิ่งที่จาเป็นสาหรับประชากรในชุมชน สิ่งที่จาเป็นสาหรับชีวิตประจาวัน เพราะถ้าในชุมชนมีร้านค้าสหกรณ์ก็จะมีผลดีต่อเศรษฐกิจภายในชุมชนและทาให้คนในชุมชนได้มีสิ่งของที่ ใช้ในชีวิตประจาวันจะได้ทาให้ชีวิตประจาวันมีเครื่องอานวยความสะดวก ง่ายต่อการใช้สิ่งต่างๆและทาให้ชุมชนมีความเจริญ มีความก้าวหน้าและทันสมัย ด้วยเหตุนี้ ผู้ศึกษาจึงต้องการที่จะศึกษาเรื่องราวของร้านค้าสหกรณ์ให้มีความรู้มากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะได้นาความรู้เรื่องร้านค้าสหกรณ์ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน และยังสามารถนาไปเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้เพื่อพัฒนาต่อยอดให้ร้านค้าสหกรณ์ในชุมชนมีควา มพัฒนาก้าวหน้าและทันสมัยยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำค้นคว้ำ 1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆของร้านค้าสหกรณ์ 2. ศึกษาความสาคัญของร้านค้าสหกรณ์ ที่มีต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรในชุมชน 3. ศึกษาสภาพปัญหาของร้านค้าสหกรณ์เพื่อได้ให้ความช่วยเหลือแก่ร้านค้าสหกรณ์ ขอบเขตกำรศึกษำค้นคว้ำ 1. ด้านเนื้อหา - ศึกษาเกี่ยวกับที่มาของร้านค้าสหกรณ์ - ศึกษาเกี่ยวกับประโยชน์ของร้านค้าสหกรณ์ - ศึกษาสภาพปัญหาของร้านค้าสหกรณ์ 2. ด้านสถานที่ - สถานที่ที่ศึกษาค้นคว้าส่วนมากคือ โรงเรียนชุมแพศึกษา โดยศึกษาผ่านอินเทอร์เน็ต ที่ห้องสมุด 3. ด้านเวลา - ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1. ผู้ศึกษามีความรู้เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์มากขึ้น 2. ประชาชนต่างมีความรู้เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์มากขึ้น
  • 2. 2 3. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน และพัฒนาร้านค้าสหกรณ์ให้รุ่งเรืองได้มากขึ้น บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลจากเอกสารต่างๆที่เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์ ซึ่งจะนาเสนอดังนี้ 1. ที่มาของร้านค้าสหกรณ์ 2. ความสาคัญของร้านค้าสหกรณ์ 3. หลักการของร้านค้าสหกรณ์ 7 ประการ 4. วัตถุประสงค์ของร้านค้าสหกรณ์ 5. เหตุผลของการจัดประเภทสหกรณ์ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. ที่มำของร้ำนค้ำสหกรณ์ สหกรณ์ถือกาเนิดขึ้นในยุโรปในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมที่ต้องใช้ที่ดินจานวนมาก การกว้านซื้อที่ดินส่งผลให้ประชาชนชั้นรากฐานไร้ที่ดินทากินละทิ้งถิ่นฐานเข้าไปเป็นแรงงานในเมืองหลวง ความยากจนยิ่งโหมกระหน่า จากสังคมที่เคยเกื้อกูลดังเช่นในชนบทได้จางหายไปทุกคนต้องต่อสู้ดิ้นรนเอา ตัวรอด ถึงกระนั้นความพยายามแสวงหาวิธี สร้างสังคมใหม่ควบคู่กันไปกับระบบเศรษฐกิจที่ ยั่งยืนได้ใช้เวลาเนิ่นนานจึงคิดค้นวิธีการได้สาเร็จ เรียกว่า ‘การสหกรณ์’ และถือว่า ‘โรเบิร์ด โอเวน’ เป็นบิดาสหกรณ์โลก สหกรณ์แห่งแรกของโลก ความลาบากยากแค้นของผู้ใช้แรงงานในโรงงานท่อผ้า ณ เมืองรอชเดล ประเทศอังกฤษ ที่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากการซื้อสินค้าเงินเชื่อรวมกับดอกเบี้ยสูงและการจ่ายค่าจ้างเป็นสิ่งของ เป็นแรงผลักดันให้มีการแสวงหาทางรอด ตามวิธีสหกรณ์ คือ ร้านสหกรณ์รอชเดล โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งมีข้อตกลงร่วมกันในหลักเกณฑ์ที่เรียกว่า ‘กฎ 10 ประการ’ และกฎนี้เป็นแม่บทของหลักการสหกรณ์ สหกรณ์นี้จึงได้รับการขนานนามว่าเป็นสหกรณ์แห่งแรกของโลก การดาเนินงานของสหกรณ์รอชเดล ไม่เพียงแต่ช่วยเหลือสมาชิกเฉพาะในด้านเครื่องโภคภัณฑ์เท่านั้น ยังมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านอื่นๆ โดยเฉพาะด้านการศึกษา เพราะเป็นที่เข้าใจกันว่าผู้ใช้แรงงานมีความรู้น้อย การศึกษาจึงมีความจาเป็นโดยได้เปิดสอนในวิชาการต่างๆ แก่สมาชิกในยามว่างก็คือเวลากลางคืน จึงเรียกว่า ‘โรงเรียนกลางคืน’ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
  • 3. 3 ความลาบากยากเข็ญที่กระจายอยู่ทั่วไป เยอรมันก็เป็นประเทศหนึ่งที่กาเนิดสหกรณ์เครดิต (สหกรณ์สินเชื่อหรือธนาคารสหกรณ์) ซึ่งมี 2 ประเภท คือ สหกรณ์ในเมือง มี ‘เฮอร์มัน ชุลซ์ เดลิทซ์’ เป็นผู้ให้กาเนิดสหกรณ์ สาหรับประชาชนผู้ยากจนในเมืองและสหกรณ์เครดิตในชนบท มี ‘ฟรีดริช วิลเฮล์ม ไรฟ์ไฟเซน’เป็นผู้ให้กาเนิด ในการจัดตั้งสหกรณ์สาหรับชาวนา โดยได้ขยายไปทั่วเยอรมนีและสหกรณ์เหล่านี้ได้ร่วมตัวกันก่อตั้งสถาบันกองทุนกลางในภูมิภาคต่างๆ ในที่สุดได้ก่อตั้งสถาบันกลางระดับชาติ วันสหกรณ์สากล สหกรณ์ในประเทศต่างๆ มีหลายประเภทหลายระดับ รวมเป็นขบวนการสหกรณ์ของประเทศนั้นๆ มีความเจริญก้าวหน้าแตกต่างกันไป มองในภาพรวมเรียกได้ว่าเป็น ‘ขบวนการสหกรณ์โลก’ มีการประชุมสมัชชาสหกรณ์ระหว่างชาติเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2438 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ มีมติก่อตั้งองค์การสัมพันธภาพสหกรณ์ ระหว่างประเทศ (องค์การ ICA ) เพื่อประสานความร่วมมือในด้านต่างๆ มีสานักงานใหญ่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศ สวิชเซอร์แลนด์ เมื่อ พ.ศ. 2538 องค์การ ICA ได้ปรับปรุงและประกาศหลักการเป็น 7 ประการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้องค์การ ICA ได้ประกาศให้สหกรณ์ทั่วโลกร่วมเฉลิมฉลองวันสหกรณ์สากลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2465 ต่อมาที่ประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2535 มีมติให้วันเสาร์แรกของเดือนกรกฎาคมทุกปีเป็น ‘วันสหกรณ์สากล’ ประวัติสหกรณ์ไทย บิดาและสหกรณ์แรกของไทย สหกรณ์ในประเทศต่างๆ เจริญก้าวหน้าส่งผลดีในการพัฒนาประเทศ สาหรับประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2458 นโยบายแห่งรัฐ เห็นสมควรนาวิธีการสหกรณ์ เข้ามาช่วยพัฒนาประเทศให้ประชาชนได้หลุดพ้นจากความยากจน โดยเฉพาะเกษตรกร พระราชวรวงค์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย ได้ทรงส่งเสริมให้ก่อตั้งสหกรณ์แห่งแรกคือ สหกรณ์วัดจันทร์ ไม่จากัดสินใช้ ณ ตาบลวัดจันทร์ อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลกและทรงเป็นนายทะเบียนสหกรณ์ รับจดทะเบียนเป็นสหกรณ์แห่งแรก เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2459 ตามรูปแบบสหกรณ์ เครดิตแบบไรฟ์ไฟเซน ที่ได้รับความสาเร็จมาแล้วในอินเดียและพม่า ซึ่งทั้งสองประเทศได้ส่งคนไปศึกษาจากประเทศเยอรมนี และเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2527 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติกาหนดให้วันที่ 26 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็น ‘วันสหกรณ์แห่งชาติ’ ขบวนการสหกรณ์ไทย การสหกรณ์ได้แพร่หลายเริ่มตั้งแต่การตราพระราชบัญญัติสมาคมเพิ่มเติม พ.ศ. 2459 เพื่อทดลอง และเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2471 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2471 เป็นพระราชบัญญัติสหกรณ์ฉบับแรกที่ส่งเสริมให้สหกรณ์ร่วมกลุ่มกันก่อตั้งชุมนุมสหกรณ์ สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย จากัดสินใช้ก็ได้เกิดขึ้นโดยการรวมกลุ่มกันของสหกรณ์ท้องถิ่น ได้จดทะเบียนเป็นประเภทชุมชนสหกรณ์ เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2511 มีพระบรมราชโองการ
  • 4. 4 ประกาศพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 มีผลทาให้สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยจากัดสินใช้ เลิกไปและให้มีการก่อตั้งสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยขึ้นแทนโดยผลแห่งกฎหมาย สหกรณ์ฉบับนั้นพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ซึ่งใช้บังคับในปัจจุบัน กาหนดให้มีคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ และกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (อยู่ใต้พรบ. ปี 2511 อยู่แล้ว) 2. ควำมสำคัญของร้ำนค้ำสหกรณ์ 1. เป็นองค์การธุรกิจแบบหนึ่งที่มีบทบาททางเศรษฐกิจเกือบทุกด้าน เริ่มตั้งแต่การผลิต การจาหน่าย และการบริโภค ถ้าหากสามารถทาให้กระบวนการทางสหกรณ์มีประสิทธิภาพแล้ว จะเป็นเครื่องมือสาคัญของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา เพราะสหกรณ์มีบทบาทในการกระจายรายได้ไปสู่ประชาชนอย่างยุติธรรม ช่วยตัดพ่อค้าคนกลางและนายทุนออกไป 2. เป็นการรวมแรง รวมปัญญา รวมทุนของบุคคลที่อ่อนแอทางเศรษฐกิจ การดาเนินการเป็นแบบประชาธิปไตย 3. ยึดหลักการช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รวมตัวกันด้วยความสมัครใจ มีความเสมอภาคและมีความสามารถในการดาเนินการและสิทธิผลประโยชน์ ยึดหลักการประหยัดโดยส่งเสริมให้สมาชิกประหยัดและออมเงิน โดยให้บริการรับฝากเงิน การซื้อสินค้าและได้รับเงินออมคืนในรูปเงินปันผล 4. ช่วยสร้างความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม เมื่อบุคคลมารวมกันจัดตั้งสหกรณ์ขึ้น มีการรวมแรง รวมทุน รวมปัญญา ดาเนินกิจกรรมเอง โดยตัดพ่อค้าคนกลางออก เพื่อไม่ให้เสียเปรียบ ทาให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น มีการกินดีอยู่ดี ฐานะความเป็นอยู่ของคนกลุ่มนั้นก็เจริญขึ้น มีการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข สังคมมีระเบียบ อาชญากรรมก็ไม่เกิดขึ้น จากบทสรุปดังกล่าวแล้วจะเห็นว่าสหกรณ์มีบทบาทสาคัญที่จะพัฒนาประเทศชาติทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการปกครอง ในแง่ของสมาชิกรายบุคคลและสาหรับประชาชนส่วนรวมดังนี้ คือ 1. ความสาคัญต่อสมาชิกสหกรณ์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าสหกรณ์เป็นขุมทรัพย์ทางด้านเศรษฐกิจของสมาชิก ทาให้สมาชิกที่ขัดสนยากจนหลุดพ้นจากสภาพหนี้ได้คือ เศรษฐกิจของสมาชิกที่ฝืดเคืองมาก่อน มีโอกาสกลับกลายเป็นสภาพเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตก้าวหน้าได้ 2. ความสาคัญต่อเศรษฐกิจส่วนรวม ระบบสหกรณ์มุ่งส่งเสริมฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละคนให้เจริญเติบโตขึ้น เพราะระบบสหกรณ์เป็นที่รวมของส่วนดีระบบทุนนิยมและสังคมนิยมไว้
  • 5. 5 โดยมุ่งที่จะผลิตเศรษฐทรัพย์และความมั่นคงให้ประเทศ ทาให้รายได้ประชาชาติสูงขึ้น และยังนาเอาความเสมอภาคและเสรีภาพเข้ามาใช้เพื่อรักษาธรรมชาติของมนุษย์ให้ปลูกฝังความรู้ ความสามารถทางเศรษฐกิจ สังคม และการปกครองระบอบประชาธิปไตย ให้แก่สมาชิกสหกรณ์ ไม่ชอบความรุนแรง แต่ดาเนินการโดยใช้ ‘สายกลาง’ เป็นหลัก 3. หลักกำรของร้ำนค้ำสหกรณ์ 7 ประกำร 1. การเปิดรับสมาชิกทั่วไปและด้วยความสมัครใจ 2. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง 3. การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก 4. การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ 5. การศึกษา ฝึกอบรม และข่าวสาร 6. การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ 7. ความเอื้ออาทรต่อชุมชน 4. วัตถุประสงค์ของร้ำนค้ำสหกรณ์ โดยทั่วไปวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ แบ่งได้เป็น 2 ประการ คือ 1. วัตถุประสงค์ทั่วไป หรือถ้าจะกล่าวไปแล้วก็คือจุดมุ่งหมายของสหกรณ์นั้นเอง ในรายงานของคณะกรรมาธิการหลักการสหกรณ์ องค์การสัมพันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศ ได้กล่าวว่า สหกรณ์มีวัตถุประสงค์ที่ไกลกว่าการส่งเสริมผลประโยชน์ของสมาชิก คือ “การส่งเสริมความก้าวหน้าและสวัสดิภาพของมนุษย์ชาติมากกว่า” จากจุดมุ่งหมายนี้จึงทาให้สหกรณ์แตกต่างจากธุรกิจทั่วๆ ไป และเป็นเหตุผลที่สามารถทดสอบได้ ธุรกิจสหกรณ์มีจุดยืนที่มีประสิทธิภาพ เพราะผู้ที่จะมาเป็นนักสหกรณ์ ได้จาเป็นจะต้องยึดมั่นในอุดมการณ์และหลักการของสหกรณ์ 2. วัตถุประสงค์เฉพาะ คือ วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ใดสหกรณ์หนึ่ง ซึ่งได้จัดตั้งขึ้น เช่น วัตถุประสงค์ของร้านสหกรณ์ขอนแก่นจากัด เป็นต้น เป็นวัตถุประสงค์ที่สหกรณ์ร้านค้ากาหนดเป็นนโยบายในการดาเนินกิจการร้านสหกรณ์ขอนแก่น จากัด เท่านั้น ซึ่งวัตถุประสงค์เฉพาะนี้ จะกาหนดไว้สาหรับสหกรณ์แต่ละประเภทเฉพาะเจาะจงไป 5. เหตุผลของกำรจัดประเภทสหกรณ์ 1. เพื่อประโยชน์ในการกาหนดนโยบายด้านสหกรณ์ของรัฐบาลว่าจะเน้นการส่งเสริมสหกรณ์ประเภทใด ภาย ใต้ข้อจากัดของทรัพยากรด้านต่างๆ
  • 6. 6 2. เพื่อประโยชน์แก่การรวมตัวของสหกรณ์ในทางยืน คือ การตั้งชุมนุมสหกรณ์หรือสหพันธ์ หรือสหภาพสหกรณ์ในระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศ ในกรณีชุมนุมสหกรณ์หรือสหพันธ์สหกรณ์ซึ่งเป็น การรวมกันทางธุรกิจหรือวิสาหกิจ สมาชิกจะต้องเป็นสหกรณ์ประเภทเดียวกันเท่านั้น แต่ในกรณีสันนิบาตสหกรณ์หรือสหภาพสหกรณ์สมาชิ กไม่จากัดว่าต้องเป็นสหกรณ์ประเภทเดียวกัน เพราะว่าเป็นการรวมกันในด้านอุดมการณ์เพื่อส่งเสริมและเผ ยแพร่ความรู้ความเข้าใจ และความเจริญก้าวหน้าทั้งด้านวิชาการและด้านความสัมพันธ์ภายในขบวนการสห กรณ์ของชาติและกับรัฐบาล ขบวนการสหกรณ์ต่างประเทศ รวมทั้งองค์การระหว่างประเทศและบุคคลหรือสถาบันต่างๆ 3. เพื่อประโยชน์แก่การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลสถิติของสหกรณ์แต่ละประเภทอย่างเป็นระบบ เพื่อศึกษา วิจัย และทารายงานความก้าวหน้าของสหกรณ์แต่ละประเภทประจาปี อันจะเป็นประโยชน์แก่การวางแผนปรับปรุงและพัฒนาขบวนการสหกรณ์ในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสมและ เป็นประโยชน์แก่ประชาชน ชุมชน สังคมและประเทศชาติอย่างแท้จริง 4. เพื่อประโยชน์แก่การส่งเสริมและพัฒนาขบวนการสหกรณ์ให้ตรงกับความต้องการของประชาชน และเหม าะสมกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก 5. สาหรับประเทศที่ยังใช้ระบบสหกรณ์ที่รัฐอุปถัมภ์ เพื่อประโยชน์แก่การวางแผนถ่ายโอนอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของรัฐในการส่งเสริม การกากับแนะนาและการตรวจสอบสหกรณ์ให้แก่ขบวนการสหกรณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไปตามความพร้อมแ ละความเจริญก้าวหน้าในการพึ่งตนเองและการปกครองตนเองได้ของสหกรณ์แต่ละประเภท จนในที่สุดรัฐ จะมีอานาจหน้าที่เพียงรับจดทะเบียนสหกรณ์และควบคุมดูแลให้สหกรณ์ดาเนินงานให้ถูกต้องตามกฎหมาย และหลักการสหกรณ์เท่านั้น เช่นเดียวกับการควบคุมดูแลห้างหุ้นส่วนบริษัทหรือองค์การธุรกิจที่เน้นการแ สวงหากาไรจากการลงทุนนั่นเอง สหกรณ์และองค์การธุรกิจรูปอื่นในภาคเอกชนก็จะมีความเป็นอิสระเช่นเ ดียวกัน 6. เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ จรรยาสุภาพ และ อาจารย์รัตนา โพธิสุวรรณ : สหกรณ์ร้านค้าซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ร้านสหกรณ์เปิดหรือร้านสหกรณ์ที่จาหน่ายสินค้าแก่บุคคลทั่วไป และร้านสหกรณ์ปิดหรือร้านสหกรณ์ที่จาหน่ายสินค้าแก่บุคลากรภายในหน่วยงาน พบว่าร้านสหกรณ์เปิดมีผลการดาเนินงานถดถอยมากกว่าร้านสหกรณ์ปิด ด้วยผลกระทบจากธุรกิจเอกชนรายใหญ่ เช่น แมคโคร โลตัส เป็นต้น ค่อนข้างรุนแรง ประกอบกับการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการมีน้อย
  • 7. 7 ร้านประเภทนี้จึงปิดตัวเองหรือมีกิจการเสื่อมถอยลงอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นร้านค้าที่จาหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ที่มีการแข่งขันรุนแรง สาหรับสหกรณ์ปิดแม้สถานภาพส่วนใหญ่จะดีกว่า แต่ก็หลีกเลี่ยงไม่พ้นต่อการแข่งขันจากธุรกิจเอกชน เช่นเดียวกับร้านที่มีฐานะและการดาเนินงานค่อนข้างดีส่วนใหญ่หันไปจับสินค้าตัวอื่นๆ ที่มีส่วนเหลื่อมราคาค่อนข้างสูง คุณ ภรณ์ชนก บูรณะเรข : ได้วิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของร้านสหกรณ์วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา จากัด ในปี 2554 โดยใช้แนวคิดทฤษฏี CAMELS Analysis เปรียบเทียบกับอัตราส่วนของสหกรณ์ร้านค้าเฉลี่ย ระดับขนาดใหญ่และวิเคราะห์แนวโน้มฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของร้านสหกรณ์วิทยาลัยอาชีวศึ กษาฉะเชิงเทรา จากัด ในช่วงปี 2552 – 2554 ผลการศึกษาพบว่า ร้านสหกรณ์วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา จากัด มีฐานะการเงินและ ผลการดาเนินงาน ในปี 2554 ในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี เมื่อพิจารณาในมุมมอง 6 มิติ พบว่ามิติที 1 ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง อยู่ในเกณฑ์ดี มิติที่ 2 คุณภาพของสินทรัพย์ อยู่ในเกณฑ์ดี มิติ ที่ 3 ความสามารถในการบริหาร อยู่ในเกณฑ์ดี มิติที่ 4 ความสามารถในการทากาไร อยู่ในเกณฑ์ดี มิติ ที่ 5 สภาพคล่องทางการเงิน อยู่ในเกณฑ์ดี และมิติที่ 6 ผลกระทบต่อธุรกิจ มีปัจจัยเสี่ยงจากราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้น จะเห็นได้ว่าจากงานวิจัยที่คณะผู้จัดทาได้ศึกษามานั้นเป็นเรื่องการวิจัยที่เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์ทั้งสิ้น โดยอาจารย์ท่านต่างๆ ได้วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของร้านค้าสหกรณ์และผลการดาเนินงาน ซึ่งสิ่งที่แต่ล่ะท่านได้ศึกษาวิจัยออกมานั้นต่างเป็นประโยชน์ต่อประเทศเราอย่างยิ่ง บทที่ 3 ขั้นตอนกำรดำเนินกำรศึกษำ ในการศึกษาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์ คณะผู้จัดทาได้มีวิธีการดาเนินการศึกษาการ เรื่อง ร้านค้าสหกรณ์ ตามขั้นตอนดังนี้ 1. วัสดุ อุปกรณ์และโปรแกรมที่ใช้งำน 1. คอมพิวเตอร์ 2. โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด 3. สมุด 4. กระดาษ 5. ปากกา
  • 8. 8 6. อินเทอร์เน็ต 7. หนังสือที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์ 2. วิธีดำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ 1. คิดหัวข้อที่สนใจเพื่อนำเสนอครูที่ปรึกษำค้นคว้ำ 2. ศึกษำและค้นคว้ำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือ เรื่อง ร้ำนค้ำสหกรณ์ ว่ำมีเนื้อหำมำกน้อยเพียงใด และต้องศึกษำค้นคว้ำเพิ่มเติมเพียงใดจำกเว็บไซต์ต่ำงๆ และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทำเนื้อหำต่อไป 3. ทบทวนเรื่องที่ศึกษำจำกกำรเรียน IS1 (กำรศึกษำค้นคว้ำและสร้ำงองค์ควำมรู้) เรื่อง ร้ำนค้ำสหกรณ์ 4. จัดทำโครงร่ำงกำรเขียนรำยงำนทำงวิชำกำร 5. จัดทำโครงร่ำงต่อครูที่ปรึกษำค้นคว้ำเพื่อพิจำรณำอนุมัติ 6. ศึกษำวิธีกำรจัดทำรำยงำนทำงวิชำกำรเป็นรูปเล่ม 7. นาเสนอความก้าวหน้าเป็นระยะๆ ตามระยะเวลาที่ครูที่ปรึกษาค้นคว้ากาหนดเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า 8. ศึกษำวิธีกำรเขียนอ้ำงอิงและบรรณำนุกรม 9. จัดทำร่ำงรำยงำนทำงวิชำกำรและเป็นรูปเล่ม 10. ตรวจสอบควำมถูกต้องของร่ำงรำยงำนทำงวิชำกำร 11. นำเสนอร่ำงรำยงำนทำงวิชำกำรเป็นรูปเล่มต่อครูที่ปรึกษำค้นคว้ำเพื่อตรวจสอบควำมถูกต้อง 12. จัดทำรำยงำนเป็นรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ 13. จัดทำ Power Point นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน 14. เผยแพร่ผลงำนสู่สำธำรณชนผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น social media online (facebook) บทที่ 4 ผลกำรดำเนินกำรศึกษำ กำรศึกษำ เรื่อง ร้ำนค้ำสหกรณ์ คณะผู้จัดทำได้ศึกษำค้นคว้ำข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อได้ศึกษำควำมเป็นมำและพัฒนำกำรในด้ำนต่ำงๆ ของร้ำนค้ำสหกรณ์ ควำมสำคัญของร้ำนค้ำสหกรณ์และสภำพปัญหำของร้ำนค้ำสหกรณ์ เพื่อให้สำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ ตลอดจนเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับเยำวชนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลกำรดำเนินกำรศึกษำ ดังนี้ ผลกำรศึกษำ
  • 9. 9 จากการได้ศึกษาข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับร้านค้าสหกรณ์ คณะผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินการศึกษาตามขั้นตอนการศึกษาที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว และได้รับความรู้เรื่อง ร้านค้าสหกรณ์ จากเว็บไซต์ต่างๆ ดังนี้ สหกรณ์ถือกาเนิดขึ้นในยุโรปในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมที่ต้องใช้ที่ดินจานวนมาก การกว้านซื้อที่ดินส่งผลให้ประชาชนชั้นรากฐานไร้ที่ดินทากินละทิ้งถิ่นฐานเข้าไปเป็นแรงงานในเมืองหลวง ความยากจนยิ่งโหมกระหน่า จากสังคมที่เคยเกื้อกูลดังเช่นในชนบทได้จางหายไปทุกคนต้องต่อสู้ดิ้นรนเอา ตัวรอด ถึงกระนั้นความพยายามแสวงหาวิธี สร้างสังคมใหม่ควบคู่กันไปกับระบบเศรษฐกิจที่ ยั่งยืนได้ใช้เวลาเนิ่นนานจึงคิดค้นวิธีการได้สาเร็จ เรียกว่า ‘การสหกรณ์’ และถือว่า ‘โรเบิร์ด โอเวน’ เป็นบิดาสหกรณ์โลก ความสาคัญของร้านค้าสหกรณ์ เป็นองค์การธุรกิจแบบหนึ่งที่มีบทบาททางเศรษฐกิจเกือบทุกด้าน เริ่มตั้งแต่การผลิต การจาหน่าย และการบริโภค ถ้าหากสามารถทาให้กระบวนการทางสหกรณ์มีประสิทธิภาพแล้ว จะเป็นเครื่องมือสาคัญของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา สภาพปัญหาของร้านค้าสหกรณ์ สมาชิก มีความรู้ ความเข้าใจ การมีส่วนร่วม ความมีวินัยของสมาชิกและความรู้สึกในเรื่องของการเป็นเจ้าของสหกรณ์ ดูเหมือนว่ามีอยู่น้อย เพราะมุ่งถึงประโยชน์ที่ตนจะได้รับมากกว่า ปัญหาเงินทุน เนื่องจาก ธกส. มักเข้มงวดกับสหกรณ์ขนาดเล็ก ทาให้บางครั้งไม่อนุมัติเงินทุนในระยะแรกแก่สหกรณ์ ปัญหาด้านการตลาด กล่าวคือยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เช่น ตอบสนองไม่ทันเวลา ซึ่งเพื่อนๆ ในชั้น ม.2 /1 ก็ได้ให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประโยชน์ของร้านค้าชุมชน ดังนี้ 1. เด็กหญิง ฟาติมา ณรงค์นอก ได้ให้ความเห็นว่า ร้านค้าสหกรณ์ต้องเสียภาษี 2. เด็กหญิง วริสรา สีหานาถ ได้ให้ความเห็นว่า สินค้าที่นิยมนามาขายส่วนมาก เช่น ขนม 3. เด็กหญิง ศศิญาฎา พรมสุบรรณ์ ได้ให้ความเห็นว่า ร้านค้าสหกรณ์เป็นศูนย์กลางการประชาสัมพันธ์ จากงานวิจัยที่คณะผู้จัดทาได้สืบค้นมามีเนื้อหา ดังนี้คือ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับร้านค้าสหกรณ์ ส่วนใหญ่มีสหกรณ์เปิดและสหกรณ์ปิด ฐานะทางการเงินและผลการดาเนินงานของร้านค้าสหกรณ์ และนี่ก็คือ ร้านค้าสหกรณ์ ที่คณะผู้จัดทาได้รับจากการศึกษาค้นคว้า ซึ่งเป็นข้อมูลที่สอดคล้องตรงกัน
  • 10. 10 บทที่ 5 สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำและข้อเสนอแนะ การศึกษาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์ นี้ สามารถสรุปผลการดาเนินการศึกษาและข้อเสนอแนะ ได้ดังนี้ 1. กำรดำเนินกำรศึกษำ
  • 11. 11 1.1วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำค้นคว้ำ 1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความเป็นมาและพัฒนาการในด้านต่างๆของร้านค้าสหกรณ์ 2. ศึกษาความสาคัญของร้านค้าสหกรณ์ ที่มีต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรในชุมชน 3. ศึกษาสภาพปัญหาของร้านค้าสหกรณ์เพื่อได้ให้ความช่วยเหลือแก่ร้านค้าสหกรณ์ 1.2 วัสดุ อุปกรณ์และโปรแกรมที่ใช้งำน 1. คอมพิวเตอร์ 2. โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด 3. สมุด 4. กระดาษ 5. ปากกา 6. อินเทอร์เน็ต 7. หนังสือที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเรื่อง ร้านค้าสหกรณ์ 2. สรุปผลกำรดำเนินกำรศึกษำ กำรศึกษำ เรื่อง ร้ำนค้ำชุมชน ในรำยวิชำ กำรศึกษำและสร้ำงองค์ควำมรู้ (IS1) และได้รวบรวมข้อมูลและพร้อมนำเสนอในรำยวิชำ กำรสื่อสำรและกำรนำเสนอ (IS2) คณะผู้จัดทำได้ศึกษำค้นคว้ำข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นคว้ำเรื่องเกี่ยวกับควำมเป็นมำและพัฒนำกำรในด้ำนต่ำงๆ ของร้ำนค้ำสหกรณ์ ควำมสำคัญของร้ำนค้ำสหกรณ์และสภำพปัญหำของร้ำนค้ำสหกรณ์ เพื่อเป็นแหล่งควำมรู้และเผยแพร่ให้ประชำชนได้รับรู้ ตลอดจนเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับเยำวชนและผู้สนใจทั่วไป คณะผู้จัดทำได้เริ่มดำเนินกำรศึกษำตำมขั้นตอนกำรศึกที่เสนอในบทที่ 3 แล้ว และได้รับควำมรู้ต่ำงๆ เกี่ยวกับร้ำนค้ำสหกรณ์มำกยิ่งขึ้น เช่น ได้รู้จักควำมเป็นมำของสหกรณ์ พัฒนำกำรต่ำงๆของสหกรณ์ ปัญหำของสหกรณ์และงำนวิจัยต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับร้ำนค้ำสหกรณ์ ทั้งนี้ทำงคณะผู้จัดทำได้จัดทำ Power Point เรื่อง ร้ำนค้ำสหกรณ์ ที่มีควำมน่ำสนใจด้ำนเนื้อหำและรูปลักษณ์ขึ้นมำ เพื่อเผยแพร่ควำมรู้ที่มีประโยชน์ให้ประชำชนทั่วไปได้ศึกษำนำควำมรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันและ ต่อยอดให้ร้านค้าสหกรณ์มีความเจริญมากขึ้น 3. ข้อเสนอแนะ
  • 12. 12 ในกำรศึกษำเรื่อง ร้ำนค้ำชุมชน นั้น คณะผู้จัดทำได้ศึกษำเพื่อสร้ำงองค์ควำมรู้ให้แก่ตนเองและผู้อื่น ซึ่งสำมำรถนำควำมรู้ที่ได้รับนี้ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน อีกทั้งยังสำมำรถนำควำมรู้ที่ได้รับไปสนับสนุนกำรเรียนกำรสอนของกำรศึกษำได้เป็นอย่ำงดีและสำมำรถ นำไปพัฒนำได้ในอนำคต ในกำรศึกษำครั้งนี้มีข้อเสนอแนะดังนี้ 3.1 ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. ควรจัดทำเป็นสื่อชนิดต่ำงๆ ที่สำมำรถให้ประชำชนทั่วไปเรียนรู้ได้หลำยช่องทำง เพื่อเผยแพร่ควำมรู้ต่ำงๆ ให้แก่บุคคลทั่วไปได้ศึกษำเพื่อเป็นประโยชน์ 2.จัดทำรูปแบบให้น่ำสนใจ มีเนื้อหำที่เข้ำใจง่ำย และรูปภำพประกอบ 3. ควรมีกำรจัดทำเนื้อหำให้หลำกหลำย 3.2 ปัญหำ อุปสรรคและแนวทำงในกำรศึกษำ 1. นักเรียนไม่มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน 2. ระบบอินเทอร์เน็ตมีปัญหาบ่อยครั้ง เกิดการสะดุด ทาให้สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนไม่ต่อเนื่อง บรรณำนุกรม
  • 13. 13 สหกรณ์. (2556, 16 ธันวาคม). ใน วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2557, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/สหกรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ จรรยาสุภาพ และ อาจารย์รัตนา โพธิสุวรรณ. (2544, 2 กรกฎาคม). แนวทางการพัฒนารูปแบบการบริหารงานสหกรณ์ร้านค้า. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2557, จาก www.journal.eco.ku.ac.th/download. ความสาคัญของสหกรณ์. (2546). ใน หลักการสหกรณ์ 3506-2004. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2557, จาก http://ab.cmcat.ac.th/main/sahakorn/u004.html