SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
1
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน: กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะ
ชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทางการบรรเทาและแก้ไข
โดย
เชิญ ไกรนรา
สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
26 กรกฏาคม 2556
2
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน : กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทางการ
บรรเทาและแก้ไข
1.สภาวะโลกร้อนคืออะไร
1.1 สภาวะโลกร้อน (Global Warming)คือการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจกหรือที่
รู้จักกันว่าGreen house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ได้เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซ
เรือนกระจกอื่นๆ (ประกอบด้วยก๊าซมีเทน ก๊าซไนตรัสออกไซด์ ก๊าซไฮโดรฟลูโรคาร์บอน ก๊าซเปอร์ฟลูโร
คาร์บอน และก๊าซซัลเฟอร์เฮกซ่าฟลูโอไรด์) จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ การขนส่ง และการผลิตในโรงงาน
อุตสาหกรรม รวมทั้งการตัดและทาลายป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกให้แก่มนุษย์ ทา
ให้กลไกในการดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประสิทธิภาพลงจึงทาให้
เกิดภาวะโลกร้อน
1.2 ผลกระทบหลักของภาวะโลกร้อนได้แก่
1) การเพิ่มสูงขึ้นของระดับน้้าทะเล ซึ่งเป็นผลกระทบโดยตรงจากภาวะโลกร้อนเกิดจานวนน้าทะเลที่มี
ปริมาณมากขึ้นเพราะธารน้าแข็งละลายละลายอย่างรวดเร็วและส่งผลให้ระดับน้าทะเลทั่วโลกขยับสูงขึ้น 1 นิ้ว
ภายใน 10 ปี เป็นที่แน่นอนว่าภาวะโลกร้อนได้ส่งผลกระทบต่อทุกคนทั่วโลกโดยเฉพาะคนที่อาศัยอยู่บนพื้นที่
ต่า มีการวิจัยออกมาว่า ภายใน 100 ปีน้าทะเลจะหนุนขึ้นมาบนพื้นดินเป็นพื้นที่กว้าง ยกตัวอย่างเช่นชายฝั่ง
ตะวันออกของประเทศอังกฤษ ที่อยู่ต่ากว่าระดับน้าทะเล
2) การรุกล้้าของน้้าทะเลตามแนวชายฝั่ง ประชาชนบางส่วนจะบริโภคน้าจากหนองน้าธรรมชาติที่มีอยู่ทั่ว
โลกแต่หนองน้าหรือแม่น้าเหล่านี้ได้ถูกทาลายอย่างต่าเนื่องโดยน้าทะเลที่หนุนขึ้นมาสู่พื้นดินโดยเฉพาะบริเวณ
ที่อยู่ต่ากว่าระดับน้าทะเล เช่น แม่น้าอินเดียนของรัฐฟลอริดาประเทศสหรัฐอเมริกาที่ถูกน้าทะเลกลืนหายไป
แล้ว
3) น้้าทะเลกัดเซาะตลิ่งและชายหาดทั่วโลกเป็นบริเวณกว้างทาให้หาดทรายที่สวยงามถูกน้าทะเลกัดเซาะ
จนสร้างความเสียหายแก่แหล่งท่องเที่ยวชุมชนของประเทศต่างๆทั่วโลกและส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศริม
ชายหาดอย่างรุนแรงจากจานวนนักท่องเที่ยวที่ลดลงเรื่อยๆ
4) ภัยธรรมชาติที่รุนแรงและเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่นพายุเฮอริเคนหรือ ทอร์นาโด ที่เพิ่มขึ้น 20-35%
ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมาหลังจากเกิดวิวัฒนาการด้านอุตสาหกรรม ซึ่งส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างมหาศาล
และมีแนวโน้มว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคตอีกด้วย
5) ฝนตกมากขึ้น เมื่ออุณหภูมิของโลกสูงขึ้นส่งผลให้ปริมาณน้าที่ระเหยขึ้นสู่ท้องฟ้ามีมากขึ้น ทาให้ฝนตก
บ่อยครั้งมากขึ้นเป็นเหตุให้เกิดมหาอุทกภัยในหลายพื้นที่และไอน้าที่ลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศจะขัดขวาง
กระบวนการสร้างความเย็นของโลกด้วยการกระทาที่เหมือนกับก๊าซเรือนกระจกส่งผลให้สภาพอากาศของโลก
เปลี่ยนแปลงแบบที่ไม่สามารถคาดเดาได้
6) สภาพภูมิอากาศที่ไม่สม่้าเสมอ ด้วยอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นทาให้ธารน้าแข็งที่ขั้วโลกเหนือมีขนาดเล็ก
ลงถึง 50% ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา เมื่อธารน้าแข็งละลายทาให้เกิดภัยพิบัติต่างๆ เช่นน้าท่วมฉับพลัน และน้า
ในทะเลสาบล้นท่วมพื้นที่เป็นบริเวณกว้างก่อนที่จะเกิดภัยแล้งอย่างรุนแรงตามมา ส่งผลให้ภูมิอากาศของโลก
แปรปรวน
7) น้้าแปรสภาพเป็นกรด มหาสมุทรคือแหล่งดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากชั้นบรรยากาศที่ใหญ่
ที่สุดโดยที่น้าจะทาการดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แล้วแปรสภาพเป็นกรดก่อนที่จะแปรสภาพกลับมาเป็นน้า
3
ธรรมดาอีกครั้งด้วยก๊าซออกซิเจนจากแนวปะการังและหากแนวปะการังถูกทาลายส่งผลให้มีออกซิเจนที่คอย
กาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในน้าน้อยลงจนทาให้น้าทะเลกลายเป็นกรดในที่สุด
8) ผลกระทบด้านสุขภาพ โลกร้อนขึ้นจะสร้างสภาวะที่พอเหมาะพอควรให้เชื้อโรคเจริญเติบโตอย่าง
รวดเร็วโลกร้อนขึ้นจะก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูพืชที่เป็นอาหาร
ของมนุษย์บางชนิด โรคที่ฟักตัวได้ดีในสภาพร้อนชื้นของโลกจะสามารถเพิ่มขึ้นมากในอีก 20 ปีข้างหน้าซึ่งจะมี
การติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น เช่น โรคมาลาเรีย ไข้ส่า อหิวาตกโรคและอาหารเป็นพิษ
2.ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน: กรณีปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลพื้นที่ภาคกลาง
การกัดเซาะชายฝั่งทะเลในประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดชายฝั่งทะเลพื้นที่ภาคกลางที่มีความรุนแรงที่สุดถือได้
ว่าเป็นหนึ่งในผลกระทบที่สาคัญที่เกิดจากสภาวะโลกร้อน
2.1 สาเหตุของการกัดเซาะชายฝั่งทะเลและประเด็นปัญหา การกัดเซาะชายฝั่งเป็นกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเลที่เกิดขึ้นตลอดเวลาจากการกัดเซาะของคลื่นหรือลมตะกอนจากที่หนึ่งไปตกทับ
ถมในอีกบริเวณหนึ่ง ทาให้แนวของชายฝั่งเดิมเปลี่ยนแปลงไปบริเวณที่มีตะกอนเคลื่อนเข้ามาน้อยกว่าปริมาณ
ที่ตะกอนเคลื่อนออกไปถือว่าเป็นบริเวณที่มีการกัดเซาะชายฝั่งซึ่งเกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ
1) การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งโดยกระบวนการตามธรรมชาติ เกิดจากการกัดเซาะของคลื่นและลมวาต
ภัย อุทกภัยหรือจากกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในบริเวณนั้น โดยคลื่นเป็นตัวการสาคัญในการเปลี่ยนแปลงลักษณะ
ของตะกอนและทรายชายฝั่ง
1.1) ลมพายุและมรสุม ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้มีอิทธิพลต่อการ
เปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งตามธรรมชาติในรอบปี เช่น แนวชายฝั่งฝั่งตะวันออกมีปริมาตรทรายตามแนวชายฝั่ง
ลดลงในช่วงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือแต่จะมีปริมาตรมากขึ้นในช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และกรณีลม
พายุขนาดใหญ่พัดเข้าสู่ชายฝั่งอ่าวไทยก็ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของแนวชายฝั่งเช่นกัน
1.2) กระแสน้้าและภาวะน้้าขึ้น-น้้าลง ทาให้เกิดการเคลื่อนตัวของตะกอนและมวลทรายบริเวณชายฝั่ง
ซึ่งเป็นตัวการสาคัญของการกัดเซาะและการงอกของแผ่นดินในบางบริเวณ
1.3) ลักษณะทางกายภาพของชายฝั่งทะเล ลักษณะของชายฝั่งที่ต่างกันทาให้การกัดเซาะแต่ละ
บริเวณไม่เท่ากัน ในบริเวณอ่าวจะได้รับการกัดเซาะน้อยกว่าบริเวณทะเลเปิด เช่นบริเวณอ่าวไทยตอนล่างจะ
ได้รับผลกระทบรุนแรงเมื่อเกิดพายุที่ก่อตัวในทะเลจีนใต้คลื่นจะเคลื่อนมากระทบแนวชายฝั่งโดยตรงเนื่องจาก
เป็นทะเลเปิดและในพื้นที่ชายฝั่งที่ลาดชันน้อยจะเกิดการกัดเซาะน้อยกว่าบริเวณที่ชายฝั่งมีความลาดชันมาก
2) การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งโดยกิจกรรมของมนุษย์ กิจกรรมของมนุษย์ถือเป็นปัจจัยสาคัญในการ
เปลี่ยนแปลงของแนวชายฝั่งจากการมุ่งเน้นพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมโดยใช้ทรัพยากรเป็นฐานการผลิต
แต่กลับให้ความสาคัญในการรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรน้อยเกินไปทาให้ทรัพยากรที่มีความสาคัญถูกทาลาย
และเสื่อมโทรมลงทุกขณะ กิจกรรมที่เร่งกระบวนการกัดเซาะชายฝั่งให้รุนแรงมากขึ้น ได้แก่
2.1) การพัฒนาขนาดใหญ่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเล เช่น การสร้างท่าเรือน้าลึกถนนเลียบชายฝั่ง และถม
ทะเลเพื่อสร้างสิ่งก่อสร้างต่างๆ ในเขตนิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการพัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ
ประเทศ
2.2) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง ซึ่งเน้นการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อรองรับ
กิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น สร้างโรงแรมที่พัก เส้นทางคมนาคม เกิดการรุกล้าเข้าไปแนวสันทรายชายฝั่งซึ่ง
เป็นปราการที่ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งตามธรรมชาติ
4
2.3) การสร้างเขื่อนฝายหรืออ่างเก็บน้้าต้นน้้า โครงสร้างเหล่านี้มีผลให้ตะกอนที่ไหลตามแม่น้ามา
สะสมบริเวณปากแม่น้ามีปริมาณลดลงขาดตะกอนที่จะเติมทดแทนส่วนตะกอนเก่าที่ถูกพัดพาไปบริเวณอื่นโดย
กระแสน้าทาให้เกิดการกัดเซาะแนวชายฝั่งอย่างต่อเนื่อง เช่น ชายฝั่งทะเลบางขุนเทียนเป็นต้น
2.4) การบุกรุกท้าลายพื้นที่ป่าชายเลน เพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า ป่าชายมีความสาคัญ
หลายประการ ประการหนึ่งคือช่วยดักและตกตะกอนโคลนทาให้เกิดดินงอกตามแนวชายฝั่งและเป็นกาแพง
ป้องกันกระแสคลื่นและลมป้องกันการพังทลายของแนวชายฝั่งด้วย
2.5) การสูบน้้าบาดาล ทาให้เกิดการทรุดตัวของแผ่นดินและจะมีส่วนให้การกัดเซาะชายฝั่งเกิดความ
รุนแรงมากขึ้นเช่นการกัดเซาะในพื้นที่อ่าวไทยตอนบนจากปัญหาการทรุดตัวเนื่องจากการสูบน้าบาดาลเกิน
ศักยภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ
2.6) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ส่งผลกระทบระบบนิเวศชายฝั่งและปะการังสภาพอากาศ
แปรปรวน โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของระดับน้าทะเลจะส่งผลกระทบต่อชายฝั่งทะเลทั่วประเทศและอาจ
ก่อให้เกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งอีกด้วย
2.2 สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งทะเลของประเทศไทย
ประเทศไทยมีแนวชายฝั่งทะเลทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร ตลอดแนว 23 จังหวัด มีประชากรอาศัยอยู่ในพื้นที่
ชายฝั่งทะเลประมาณ 12 ล้านคน และพ บปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ตลอดแนวชายฝั่งทั้ง 23 จังหวัด โดยมี
ระยะทางชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะ ทั้งสิ้นยาว 830.07กิโลเมตรแบ่งออกเป็น 17 จังหวัดชายฝั่งทะเลอ่าวไทยความ
ยาวชายฝั่ง 2,055.18 กิโลเมตรมีพื้นที่ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยที่ถูกกัดเซาะยาว 730.03 กิโลเมตรแบ่งออกเป็น
ระดับปานกลาง (1-5 เมตรต่อปี) 501.81 กิโลเมตรและระดับรุนแรง (> 5 เมตรต่อปี)228.22 กิโลเมตรและ 6
จังหวัดชายฝั่งอันดามันมีความยาวชายฝั่ง 1,093.04กิโลเมตรมีพื้นที่ชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะยาว 100.04
กิโลเมตร แบ่งออกเป็นระดับปานกลาง 74.98 กิโลเมตรและระดับรุนแรง 25.06 กิโลเมตร โดยชายฝั่งทะเล
ของไทยมีจุดวิกฤติที่ประสบปัญหากัดเซาะรุนแรงที่สุดของประเทศจานวน 30 แห่ง(รายละเอียดปรากฏตาม
แผนที่)
5
แผนที่แสดงการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในประเทศไทยและระดับความรุนแรง
กัดเซาะปานกลาง 1 - 5 เมตรต่อปี กัดเซาะรุนแรง>5 เมตรต่อปี
ที่มา : ฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
2.3 สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งทะเลในพื้นที่ภาคกลาง ครอบคลุม 11 จังหวัดชายฝั่งทะเลเป็นระยะทาง
ยาว 1,041.57 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 51 ของความยาวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย มีระดับการกัดเซาะปานกลาง
292.09 กิโลเมตร และการกัดเซาะรุนแรง 81.11 กิโลเมตร รวมพื้นที่ประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็น
ระยะทางยาว 373.21 กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 51.12 ของพื้นที่กัดเซาะชายฝั่งทั้งประเทศโดยเฉพาะ
บริเวณอ่าวไทยตอนบนตั้งแต่ปากแม่น้าบางปะกงจนถึงปากแม่น้ากลองครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด คือ
ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาครและสมุทรสงครามเป็นพื้นที่อ่อนไหวและพบปัญหา
รุนแรงที่สุดของประเทศ
6
ตารางที่ 1: ระดับความรุนแรงของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในพื้นที่ภาคกลางรายจังหวัด
จังหวัด ความยาว
ชายฝั่ง
(กม.)
ระดับความรุนแรงของการกัดเซาะ
(กม.)
รวมพื้นที่ประสบ
ปัญหาการกัด
เซาะชายฝั่ง
(กม.)
ปานกลาง
1-5 เมตร/ปี
รุนแรง
มากกว่า 5 เมตร/ปี
ตราด
จันทบุรี
ระยอง
ชลบุรี
ฉะเชิงเทรา
สมุทรปราการ
กรุงเทพมหานคร
สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม
เพชรบุรี
ประจวบคีรีขันธ์
184.3
102.25
104.48
171.78
16.28
50.21
5.81
42.78
25.2
91.73
246.75
46.63
23.21
53.66
25.14
2.04
3.22
0
19.69
2.96
39.35
76.19
0
12
0
0
5.85
31.47
5.71
13.76
0
10.39
1.93
46.63
35.21
53.66
25.14
7.89
34.69
5.71
33.45
2.96
49.75
78.12
รวม 1,041.57 292.09 81.11 373.21
ที่มา: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2554
สาหรับชายฝั่งทะเลพื้นที่ภาคกลางที่ประสบปัญหากัดเซาะรุนแรงที่สุดของประเทศมี 8 จุดดังนี้
 ชายฝั่งทะเลเกาะแมว-แหลมหญ้า อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี
 มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง
 บ้านคลองเจริญไว-บ้านคลองสีล้ง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
 ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของคลองสีล้ง-บ้านบางสาราญ จ.สมุทรปราการ
 บ้านแหลมสิงห์-ปากคลองขุนราชพินิตใจ จ.สมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 12.5 กม.ปัจจุบัน
พื้นที่ชายฝั่งถอยร่นเข้ามาประมาณ 700-800 เมตร บางแห่ง เช่นบ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 พื้นที่ถูกกัด
เซาะหายไปประมาณ 1 กิโลเมตร ในช่วง 28 ปีด้วยอัตราการกัดเซาะมากกว่า 25 เมตรต่อปี
 ปากคลองราชพินิจใจ-บ้านท่าตะโก เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานครระยะทางประมาณ 5.5
กิโลเมตร มีอัตราการกัดเซาะ 20-25 เมตรต่อปี ช่วง 28 ปีที่ผ่านมาพื้นที่หายไป 400-800 เมตร
 บ้านดอนมะขาม-บ้านทาเนียบ อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี
 บ้านบางเกตุ จ.เพชรบุรี บ้านหนองเก่า-บ้านหนองเสือจ.ประจวบคีรีขันธ์
2.4 ผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่ง
การกัดเซาะชายฝั่งเป็นปัญหาที่สร้างผลกระทบในหลายด้านซึ่งสามารถจาแนกผลกระทบที่สาคัญได้ 4 ด้าน คือ
1) ด้านเศรษฐกิจ ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบโดยตรงคือ ภาคการท่องเที่ยวจากชายฝั่งถูกกัดเซาะจนเกิด
7
สภาพเสื่อมโทรม สูญเสียแนวชายหาดที่สวยงามโดยเฉพาะชายหาดที่มีชื่อเสียงและเป็นจุดหมายท่องเที่ยวของ
นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกกระทบถึงรายได้จานวนมหาศาล สูญเสียโอกาสการพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวชายฝั่ง
รวมทั้งต้องสูญเสียงบประมาณและทรัพยากรจานวนมากเพื่อการป้องกันการกัดเซาะแนวชายฝั่ง
2) ด้านสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศชายฝั่ง ได้แก่ ระบบนิเวศชายหาด ป่าชายเลน หญ้าทะเล และปะการัง
จะได้รับผลกระทบโดยตรง เนื่องจากการกัดเซาะและเปลี่ยนแปลงทับถมของตะกอนสูญเสียแนวชายหาดเดิมที่
เคยมี เกิดตะกอนทับถมบนหญ้าทะเลและแนวปะการังอีกทั้งแนวป่าชายเลนที่ถูกกัดเซาะมีการเปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่เสื่อมโทรมลง ทาให้เกิดผลกระทบต่อ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งสมดุลของระบบนิเวศใน
บริเวณนั้น
3) ด้านสังคม ชุมชนริมฝั่งทะเลต้องอพยพย้ายถิ่นฐานไปยังพื้นที่อื่นจากพื้นที่ที่ถูกกัดเซาะทาให้สูญเสีย
วิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมของชุมชน ไม่มีที่อยู่อาศัยและที่ทากินทาให้ไม่สามารถประกอบอาชีพได้
ตามปกติส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังภาคเศรษฐกิจด้วย
4) ด้านคุณภาพชีวิต ชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากการกัดเซาะ สูญเสียที่ดินและทรัพย์สินของตนต้อง
ปรับเปลี่ยนวิถีดารงชีวิตไปจากเดิม เกิดความวิตกกังวลในการประกอบอาชีพใหม่อาจส่งผลถึงสภาพจิตใจและ
ความสัมพันธ์ในครอบครัวทาให้คุณภาพชีวิตตกต่าลงหรือไม่ดีเหมือนเดิม ซึ่งผลกระทบจากการกัดเซาะเกิดขึ้น
เป็นลูกโซ่และเกิดต่อเนื่องสัมพันธ์กันในทุกๆส่วนของสังคมทั้งภาคเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรและคุณภาพชีวิต
2.5 การด้าเนินงานที่ผ่านมา ในระยะที่ผ่านมาหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติงานในพื้นที่ตามหน้าที่
และความรับผิดชอบของตนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลมาแล้วอย่างต่อเนื่องเช่น กรม
โยธาธิการและผังเมือง กรมการขนส่งทางน้าและพาณิชยนาวี สานักโยธาธิการกรุงเทพมหานคร องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งรวมถึงเทศบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดและองค์การบริหารส่วนตาบล การ
ดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆดังกล่าวมักมีลักษณะต่างคนต่างทา เน้นการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง
ทะเลและการตกตะกอนในบริเวณชายฝั่งทะเลเฉพาะจุดและส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้รูปแบบ
โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลทางวิศวกรรม เช่น กาแพงกันคลื่นชายฝั่งทะเล (Sea wall) รอดัก
ตะกอน (Groin) และเขื่อนป้องกันคลื่นนอกชายฝั่งทะเล (Offshore breakwater) โดยมีรูปแบบและวัสดุที่
แตกต่างกันและมีค่าใช้จ่ายสูงแต่ไม่สามารถป้องกันการกัดเซาะได้ ด้วยเหตุนี้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทา “ยุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล ” เมื่อปี
พ.ศ. 2550 โดยกาหนดวิสัยทัศน์ให้แนวชายฝั่งทะเลทั่วประเทศมีการจัดการพื้นที่เชิงบูรณาการ โดยคานึงถึง
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ การรักษาคุณค่าของระบบนิเวศชายฝั่งและการใช้ประโยชน์อย่าง
ยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
 จัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้วยวิธีบูรณาการโดยเน้นการศึกษาให้เข้าใจถึงผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
สังคมและสิ่งแวดล้อม ของทางเลือกต่างๆ ที่จะพิจารณานามาใช้ในการจัดการพื้นที่ชายฝั่ง
 ลดระดับความเสี่ยงจากผลกระทบของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งอาจเกิดขึ้นกับชุมชนที่อาศัยอยู่
บริเวณชายฝั่งทะเล โดยการเลือกใช้เทคนิคการจัดการแก้ไขและฟื้นฟูพื้นที่อย่างเหมาะสมและ
รอบคอบ
 เสริมสร้างความตระหนักและความเข้าใจแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินบริเวณชายฝั่งและชุมชนที่
อาศัยอยู่ใกล้พื้นที่ชายฝั่งเกี่ยวกับระบบการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของนิเวศชายฝั่งและผลกระทบ
8
ที่อาจเกิดขึ้นโดยให้การศึกษาและเผยแพร่ความรู้เรื่องความเสี่ยงและผลกระทบจากปัญหาการกัด
เซาะชายฝั่ง
 กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือระหว่างเจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดิน ชุมชนท้องถิ่นเจ้าหน้าที่ของรัฐ และ
ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ในการจัดการปัญหาและความเสี่ยงจากการกัดเซาะชายฝั่ง
โดยได้กาหนดเป้าหมายหลักคือ ให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยทั้งหมดมีระบบป้องกันและแก้ไขเพื่อ
ไม่ให้ถูกกัดเซาะ ภายในปีพุทธศักราช 2570 มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเล การจัดสรร
บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง แบบบูรณาการ การ
กาหนดนโยบาย แนวทาง และมาตรการดาเนินงานระดับพื้นที่ ที่ชัดเจนตลอดทั้งมี องค์ความรู้ที่เผยแพร่แก่
ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชน ตลอดทั้งกาหนดแนวทางในการป้องกันแก้ไขปัญหารวม 5 แนวทางประกอบด้วย
1) การพัฒนาและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลพื้นที่ชายฝั่งเพื่อใช้ในกระบวนการตัดสินใจวางแผนและดาเนินงาน
2) การมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล 3 ) การจัดทาแผนแม่บทและ/
หรือแผนยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเชิงบูรณาการในระดับพื้นที่ 4) การป้องกัน แก้ไขและ
ฟื้นฟูสภาพพื้นที่ชายฝั่ง และ 5 ) การพัฒนาระบบกากับ ตรวจสอบและควบคุมการดาเนินงานด้านการจัดการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งและกาหนดกลไกในการติดตามและประเมินผล
2.6 ปัญหาของการ แปลงยุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล สู่การ
ปฏิบัติ แม้ว่าได้มีการจัดทาวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ฯ แต่ยังคงประสบปัญหาบางประการในกระบวนการ
แปลงแผนสู่การปฏิบัติได้แก่
1) ขาดระบบข้อมูลพื้นฐาน ในปัจจุบันข้อมูลที่จาเป็นต่อการติดตามตรวจสอบและประเมินสถานการณ์การ
เปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่บริเวณชายฝั่งของไทยยังขาดระบบการจัดเก็บและรวบรวมที่มีความต่อเนื่องและ
ทันสมัย เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเลโดยเฉพาะข้อมูลของลมและ
คลื่นในทะเล เพื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลลมบนฝั่ง เพื่อประกอบการจัดทา แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ในการ
ประเมินและติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเลทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
2)ขาดการมีส่วนร่วมและขาดความเชื่อมโยงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการควบคุมการพัฒนาและกิจกรรมใน
พื้นที่ต้นน้าและปลายน้าทาให้การจัดการน้าไม่ตั้งอยู่บนฐานของทรัพยากร
3)การก่อสร้างโครงสร้างป้องกันชายฝั่งต่างๆ ที่ไม่มีการศึกษาที่รอบคอบเพียงพอพบว่ามีการกัดเซาะพื้นที่
ใกล้เคียงต่อไปเรื่อยๆ
4)บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนและผู้ประกอบการชายฝั่งขาดความรู้
เกี่ยวกับการจัดการพื้นที่ชายฝั่งโดยเฉพาะด้านวิศวกรรมชายฝั่ง
5) แม้จะมีหน่วยงานที่รับผิดชอบออกมาดาเนินการแต่ไม่ได้เป็นไปในภาพรวมเพราะการทาเครื่องกีดขวางเพื่อ
ลดกระแสความรุนแรงของคลื่นในที่หนึ่งอาจส่งผลกระทบในอีกที่หนึ่ง การไม่ประสานงานร่วมกันจึงย่อมเกิด
ผลเสียมากกว่าผลดี
6) การนาแผนไปสู่การปฏิบัติควรใช้การเรียนรู้ร่วมกับชุมชนและทาควบคู่กับกระบวนการมีส่วนร่วม เพราะ
ส่วนใหญ่หน่วยงานส่วนกลางเป็นผู้กาหนดรูปแบบทาให้เกิดปัญหาความขัดแย้งหรือการต่อต้านจากภาค
ประชาชนในท้องถิ่น
9
3. กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ : ขุนสมุทรจีน 49A2 ' 'โมเดล'สู้
โลกร้อนกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่โดยให้ชุมชนเป็นฐานของการบูรณาการการจัดการและ
บรรเทาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลมีรายละเอียดดังนี้
3.1 ความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งและผลกระทบต่อชุมชน ในช่วง 30 ปี บ้านขุนสมุทรจีน ต.แหลม
ฟ้าผ่า อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ ประสบปัญหาพื้นที่ถูกกัดเซาะวิกฤตที่สุดลึกหายไปประมาณ 1 ก.ม.
อัตรากัดเซาะมากกว่า 25 เมตรต่อปี ส่วนหนึ่งของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเกิดจากปัญหาสภาวะโลกร้อนและ
ระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นรวมทั้งเกิดจากการเปลี่ยนทิศทางของคลื่นลมทะเลตามแนวชายฝั่ง ซึ่งเป็นตัวพัดพา
ตะกอนโคลนหรือทรายออกจากแนวชายฝั่ง ในขณะที่มีปัจจัยเสริมอื่นๆ เนื่องจากปริมาณตะกอนปากแม่น้า
ลดลงเพราะการสร้างเขื่อนบริเวณต้นน้า ทั้งเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ตลอดจนผลกระทบจากแผ่นดินทรุด
สถานการณ์ที่รุนแรงทาให้ชาวบ้านตื่นตัวกับปรากฏการณ์ภัยใกล้ตัวและนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง
กระทบต่อสภาพจิตใจและหวาดกลัวเพราะย้ายบ้านหนีน้ามาแล้วหลายครั้ง ไม่มีที่ทากิน วิถีชีวิตหลายด้าน
สูญหายไปกับทะเล ซึ่งคนในพื้นที่มีความเคลื่อนไหวที่จะบรรเทาปัญหานี้อย่างต่อเนื่อง
3.2 การจัดท้าโครงการก่อสร้างอาคารสลายก้าลังคลื่น "ขุนสมุทรจีน 49A2" ซึ่งเป็นโครงการความ
ร่วมมือระหว่างจังหวัดสมุทรปราการ และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสนับสนุนให้หน่วยศึกษาพิบัติภัย
และข้อสนเทศเชิงพื้นที่ ภาควิชาธรณีวิทยาคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทา "โครงการศึกษา
บูรณาการเชิงพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลของจังหวัดสมุทรปราการ"โดยใช้กรณี จ.
สมุทรปราการเป็นต้นแบบ จากการประเมินการกัดเซาะชายฝั่งทั่วประเทศไทย พบว่าบริเวณ
จ.สมุทรปราการ เกิดปัญหากัดเซาะอย่างรุนแรง มีพื้นที่หายไปประมาณ 11,104 ไร่เมื่อเทียบกับ 38 ปีที่แล้ว
ถ้าปัญหานี้ไม่ได้รับการแก้ไขในอีก 20 ปีจะสูญเสียชายฝั่งเพิ่มขึ้นอีก 37,657 ไร่
3.3 การออกแบบขุนสมุทรจีน 49A2 หลักการออกแบบหลังจากผ่านการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านพื้นท้อง
ทะเล กระแสน้า คลื่น การตกตะกอน รวมทั้งชนิดชายฝั่งนามาศึกษาและวิจัยในเชิงวิทยาศาสตร์เพื่อจับภัย
ธรรมชาติที่เกิดขึ้น สิ่งก่อสร้างที่เป็นแนวกันคลื่นนี้เป็นการใช้โครงการสร้างทางวิศวกรรมชายฝั่งทะเลในการ
ป้องกันเพื่อสลายพลังคลื่น ไม่ใช่กาแพงกันคลื่นแบบปะทะเต็มๆ ตลอดความยาว 250 เมตรใช้เสาคอนกรีต
พิเศษรูปทรงสามเหลี่ยมยึดเป็นแถว มีแถว A, B และ C สูง 10, 8 และ 6 เมตรตามลาดับ วางห่างกัน 1.50
เมตรในลักษณะสลับฟันปลาเมื่อคลื่นถาโถมมาจะช่วยลดความแรง สาหรับตะกอนจะตกหลังแนวกันคลื่นการ
ดาเนินการต่อจากนั้นเมื่อชายฝั่งเริ่มตื้นเขินก็มีแนวทางปลูกป่าชายเลนเพื่อยึดผิวดินทาให้ชุมชนบ้านขุนสมุทร
จีนมีทรัพยากรอุดมสมบูรณยิ่งขึ้นในช่วง 6 เดือน ถึง 1 ปีจะปล่อยแนวกันคลื่นให้เป็นธรรมชาติมากที่สุด ขึ้นปี
ที่ 2 อาจนาตะกอนดินมาเติมหน้าแนวกันคลื่น แล้วให้คลื่นเป็นตัวพัดพาเร่งการงอกของแผ่นดินเป็นการปรับ
สมดุลชายฝั่งอีกจุดหนึ่ง
4. ข้อเสนอแนะแนวทางการปรับตัวและแก้ไขผลกระทบ จากการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ภาคกลาง มีความ
แตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์หรือลักษณะของชายฝั่งทะเลและอิทธิพลของลมมรสุมประจาท้องถิ่น
โดยทั่วไปอาจแบ่งแนวทางการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลออกเป็น 3 รูปแบบคือ
4.1 วิธีการป้องกันและแก้ไขทางธรรมชาติ ได้แก่การฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าชายเลน ป่าชายหาด แหล่งหญ้า
ทะเลและแนวปะการังเพื่อลดความรุนแรงของคลื่นที่กระทบฝั่งถือเป็นวิธีป้องกันการกัดเซาะโดยเลียนแบบ
ธรรมชาติซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาในการสร้างความมั่นคงแข็งแรงให้กับชายฝั่ง การปักไม้ไผ่ลดกระแสความแรง
ของคลื่นและทาให้เกิดตะกอนดินเพิ่มขึ้นและการปลูกหญ้าหรือต้นไม้ขนาดเล็กชนิดที่มีรากยาวให้ช่วยยึดเกาะ
10
พื้นทรายให้แน่นขึ้นหรืออาจเสริมขนาดสันทรายริมชายฝั่งให้กว้างขึ้น รวมทั้งการควบคุมสิ่งปลูกสร้างไม่ให้ชิด
ขอบชายฝั่งทะเลมากเกินไป
4.2 วิธีการทางวิศวกรรม โดยใช้โครงสร้างทางวิศวกรรมดักตะกอนทรายและสลายพลังงานคลื่นหรือสร้าง
หาดทรายเพิ่มเติมเพื่อป้องกันและรักษาสภาพชายฝั่ง โดยใช้หลักการทางวิชาการ ที่มีการศึกษาวิเคราะห์
ครอบคลุมทุกมิติ เช่น เขื่อนกันคลื่น (Breakwater) หรือแนวกันคลื่นนอกชายฝั่ง (Offshore breakwater)
กาแพงกันตลิ่ง (Revetment) รอดักทราย (Groin) ไส้กรอกทราย (Sand sausage) การเติมทราย (Sand
nourishment) หรือการสร้างเนินทราย (Dune nourishment)
4.3 การใช้วิธีผสมผสาน โดยใช้ทั้งวิธีทางธรรมชาติและทางวิศวกรรมร่วมกัน เช่น การดาเนินการป้องกันการ
กัดเซาะชายฝั่งของ ต.คลองด่าน อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ โดยการปักไม้ไผ่รวกเป็นกาแพงลดความรุนแรง
ของคลื่น เมื่อมีการตกตะกอนและทับถมมากขึ้นจึงปลูกไม้ชายเลนไว้หลังแนวปักไม้ไผ่ เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าชาย
เลนตามธรรมชาติ ซึ่งพบว่าไม้ชายเลนมีการเจริญเติบโตได้ดี
5. สรุป
การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศที่กาลังดาเนินอยู่ในปัจจุบันได้ส่งผลกระทบในหลายมิติโดยเฉพาะด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งหนึ่งในผลกระทบที่สาคัญจากภาวะโลกร้อนต่อ
ประเทศไทยและพื้นที่ภาคกลางคือปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งซึ่งถือได้ว่าเป็นปัญหาสาคัญระดับชาติ เนื่องจาก
ประเทศไทยมีพื้นที่ชายฝั่งทะเล ทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร ตลอดแนว 23 จังหวัด มีประชากรอาศัยอยู่ในพื้นที่
ชายฝั่งทะเลประมาณ 12 ล้านคน และพ บปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งตลอดแนวทั้ง 23 จังหวัด โดยมีระยะทาง
ชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะทั้งสิ้นยาว 830.07กิโลเมตร สาหรับพื้นที่ภาคกลางมีจังหวัดชายฝั่งทะเล 11 จังหวัด เป็น
ระยะทางยาว 1,041.57 กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 51 ของความยาวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย มีระดับการกัด
เซาะปานกลาง 292.09 กิโลเมตร และการกัดเซาะรุนแรง 81.11 กิโลเมตร รวมพื้นที่ประสบปัญหาการกัด
เซาะชายฝั่งเป็นระยะทางยาว 373.21 กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 51.12 ของพื้นที่กัดเซาะชายฝั่งทั้ง
ประเทศโดยเฉพาะบริเวณอ่าวไทยตอนบนตั้งแต่ปากแม่น้าบางปะกงจนถึงปากแม่น้ากลองครอบคลุมพื้นที่ 5
จังหวัด คือฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาครและสมุทรสงครามเป็นพื้นที่อ่อนไหวและ
พบปัญหารุนแรงที่สุดของประเทศ
แม้ว่าได้มีการจัดทายุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล เมื่อปี 2550 แต่ยัง
พบปัญหาในการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติหลายประการโดยเฉพาะปัญหาด้านค่อนข้างขาดการประสานงาน
และการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบในส่วนกลางและหน่วยงานส่วนท้องถิ่น ขาดการมีส่วนร่วม
ของภาคประชาชนในกระบวนการแก้ไขปัญหา ตลอดทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนขาดองค์ความรู้
ทางวิชาการในการบรรเทาและแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลยังคงมี
บทบาทสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศจึงควรจัดทาแผนแม่บทเพื่อบรรเทาและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ
เชิงพื้นที่ภาคกลางและแผนแม่บทเพื่อแก้ไขปัญหาการกัดเซาะพื้นที่ที่วิฤตเร่งด่วนที่มุ่งเน้นการบูรณาการการ
ดาเนินงานและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน รวมทั้งการสนับสนุนการถ่ายทอด
องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการการกัดเซาะชายฝั่งแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสนับสนุนงบประมาณแก่
หน่วยงานรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่เป้าหมายการพัฒนา
พื้นที่ชายฝั่งทะเลอย่างสมดุลตลอดทั้งรักษาฐานรายได้และอาชีพให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
11
เอกสารอ้างอิง
สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ค้นหาจาก http://www.mkh.in.th/index.php/2010-
03-22-18-05-34/2010-03-26-07-58-17 เข้าถึงเมื่อวันที่28 มิถุนายน 2556
แผ่นดินที่หายไป ค้นหาจาก http://www.saveoursea.net/boardsmf/index.php?topic=718.20;wap2
เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2556
ปัญหาที่เกิดกับชายฝั่งทะเลของประเทศไทยค้นหาจาก http://www.md.go.th/interest/coast.php เข้าถึง
เมื่อ 28 มิถุนายน 2556
ยุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ค้นหาจาก
http://www.dmcr.go.th/elibrary/elibraly/book_file/Book20110208142503.pdf เข้าถึงเมื่อ 4
กรกฎาคม 2556
ผลกระทบหลักของภาวะโลกร้อนค้นหาจาก
http://www.energysavingmedia.com/news/page.php?a=10&n=131&cno=2757 27 มิถุนายน
2556เข้าถึงเมื่อ 4 กรกฎาคม 2556
สภาวะโลกร้อน (Global Warming) ค้นหาจาก http://www.dol.go.th/sms/interesting.htm 27
มิถุนายน 2556เข้าถึงเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2556

Contenu connexe

Tendances

การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
Oui Nuchanart
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
พัน พัน
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
Jiraporn
 
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
Korrakot Intanon
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
มาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otopมาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otop
Watcharee Phetwong
 
แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52
แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52
แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52
rdschool
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Tendances (20)

การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
เวียดนาม
เวียดนามเวียดนาม
เวียดนาม
 
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
มาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otopมาตรฐานสินค้า Otop
มาตรฐานสินค้า Otop
 
แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52
แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52
แบบฝึกหัด เรื่องโลก ดิน หิน น้ำ52
 
Ecosys 1 62_new
Ecosys 1 62_newEcosys 1 62_new
Ecosys 1 62_new
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 

En vedette

ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
Dr.Choen Krainara
 
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
Dr.Choen Krainara
 
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in ThailandPolicy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Dr.Choen Krainara
 
การเคลื่อนย้ายแรงงานและแนวทางการทำข้อตกลงการยอมรับร่วมกันภายในพื้นที่ความร่วม...
การเคลื่อนย้ายแรงงานและแนวทางการทำข้อตกลงการยอมรับร่วมกันภายในพื้นที่ความร่วม...การเคลื่อนย้ายแรงงานและแนวทางการทำข้อตกลงการยอมรับร่วมกันภายในพื้นที่ความร่วม...
การเคลื่อนย้ายแรงงานและแนวทางการทำข้อตกลงการยอมรับร่วมกันภายในพื้นที่ความร่วม...
Dr.Choen Krainara
 

En vedette (17)

ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท...
 
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
 
การบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้...
การบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้...การบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้...
การบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้...
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
 
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
 
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
 
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in ThailandPolicy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
 
Regional Trade Agreements and Cross- Border Trade in the Greater Mekong Sub-...
Regional Trade Agreements and Cross- Border Trade in the  Greater Mekong Sub-...Regional Trade Agreements and Cross- Border Trade in the  Greater Mekong Sub-...
Regional Trade Agreements and Cross- Border Trade in the Greater Mekong Sub-...
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
 
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคกลางอย่างยั่...
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคกลางอย่างยั่...การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคกลางอย่างยั่...
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ภาคกลางอย่างยั่...
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
 
การเคลื่อนย้ายแรงงานและแนวทางการทำข้อตกลงการยอมรับร่วมกันภายในพื้นที่ความร่วม...
การเคลื่อนย้ายแรงงานและแนวทางการทำข้อตกลงการยอมรับร่วมกันภายในพื้นที่ความร่วม...การเคลื่อนย้ายแรงงานและแนวทางการทำข้อตกลงการยอมรับร่วมกันภายในพื้นที่ความร่วม...
การเคลื่อนย้ายแรงงานและแนวทางการทำข้อตกลงการยอมรับร่วมกันภายในพื้นที่ความร่วม...
 
การสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อน
การสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อนการสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อน
การสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อน
 
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of Khok Charoen Dist...
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of  Khok Charoen Dist...Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of  Khok Charoen Dist...
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of Khok Charoen Dist...
 
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
 
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
 
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ... การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 

Plus de Dr.Choen Krainara

Plus de Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทางการบรรเท

  • 2. 2 ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน : กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทางการ บรรเทาและแก้ไข 1.สภาวะโลกร้อนคืออะไร 1.1 สภาวะโลกร้อน (Global Warming)คือการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจกหรือที่ รู้จักกันว่าGreen house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ได้เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซ เรือนกระจกอื่นๆ (ประกอบด้วยก๊าซมีเทน ก๊าซไนตรัสออกไซด์ ก๊าซไฮโดรฟลูโรคาร์บอน ก๊าซเปอร์ฟลูโร คาร์บอน และก๊าซซัลเฟอร์เฮกซ่าฟลูโอไรด์) จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ การขนส่ง และการผลิตในโรงงาน อุตสาหกรรม รวมทั้งการตัดและทาลายป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกให้แก่มนุษย์ ทา ให้กลไกในการดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประสิทธิภาพลงจึงทาให้ เกิดภาวะโลกร้อน 1.2 ผลกระทบหลักของภาวะโลกร้อนได้แก่ 1) การเพิ่มสูงขึ้นของระดับน้้าทะเล ซึ่งเป็นผลกระทบโดยตรงจากภาวะโลกร้อนเกิดจานวนน้าทะเลที่มี ปริมาณมากขึ้นเพราะธารน้าแข็งละลายละลายอย่างรวดเร็วและส่งผลให้ระดับน้าทะเลทั่วโลกขยับสูงขึ้น 1 นิ้ว ภายใน 10 ปี เป็นที่แน่นอนว่าภาวะโลกร้อนได้ส่งผลกระทบต่อทุกคนทั่วโลกโดยเฉพาะคนที่อาศัยอยู่บนพื้นที่ ต่า มีการวิจัยออกมาว่า ภายใน 100 ปีน้าทะเลจะหนุนขึ้นมาบนพื้นดินเป็นพื้นที่กว้าง ยกตัวอย่างเช่นชายฝั่ง ตะวันออกของประเทศอังกฤษ ที่อยู่ต่ากว่าระดับน้าทะเล 2) การรุกล้้าของน้้าทะเลตามแนวชายฝั่ง ประชาชนบางส่วนจะบริโภคน้าจากหนองน้าธรรมชาติที่มีอยู่ทั่ว โลกแต่หนองน้าหรือแม่น้าเหล่านี้ได้ถูกทาลายอย่างต่าเนื่องโดยน้าทะเลที่หนุนขึ้นมาสู่พื้นดินโดยเฉพาะบริเวณ ที่อยู่ต่ากว่าระดับน้าทะเล เช่น แม่น้าอินเดียนของรัฐฟลอริดาประเทศสหรัฐอเมริกาที่ถูกน้าทะเลกลืนหายไป แล้ว 3) น้้าทะเลกัดเซาะตลิ่งและชายหาดทั่วโลกเป็นบริเวณกว้างทาให้หาดทรายที่สวยงามถูกน้าทะเลกัดเซาะ จนสร้างความเสียหายแก่แหล่งท่องเที่ยวชุมชนของประเทศต่างๆทั่วโลกและส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศริม ชายหาดอย่างรุนแรงจากจานวนนักท่องเที่ยวที่ลดลงเรื่อยๆ 4) ภัยธรรมชาติที่รุนแรงและเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่นพายุเฮอริเคนหรือ ทอร์นาโด ที่เพิ่มขึ้น 20-35% ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมาหลังจากเกิดวิวัฒนาการด้านอุตสาหกรรม ซึ่งส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างมหาศาล และมีแนวโน้มว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคตอีกด้วย 5) ฝนตกมากขึ้น เมื่ออุณหภูมิของโลกสูงขึ้นส่งผลให้ปริมาณน้าที่ระเหยขึ้นสู่ท้องฟ้ามีมากขึ้น ทาให้ฝนตก บ่อยครั้งมากขึ้นเป็นเหตุให้เกิดมหาอุทกภัยในหลายพื้นที่และไอน้าที่ลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศจะขัดขวาง กระบวนการสร้างความเย็นของโลกด้วยการกระทาที่เหมือนกับก๊าซเรือนกระจกส่งผลให้สภาพอากาศของโลก เปลี่ยนแปลงแบบที่ไม่สามารถคาดเดาได้ 6) สภาพภูมิอากาศที่ไม่สม่้าเสมอ ด้วยอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นทาให้ธารน้าแข็งที่ขั้วโลกเหนือมีขนาดเล็ก ลงถึง 50% ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา เมื่อธารน้าแข็งละลายทาให้เกิดภัยพิบัติต่างๆ เช่นน้าท่วมฉับพลัน และน้า ในทะเลสาบล้นท่วมพื้นที่เป็นบริเวณกว้างก่อนที่จะเกิดภัยแล้งอย่างรุนแรงตามมา ส่งผลให้ภูมิอากาศของโลก แปรปรวน 7) น้้าแปรสภาพเป็นกรด มหาสมุทรคือแหล่งดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากชั้นบรรยากาศที่ใหญ่ ที่สุดโดยที่น้าจะทาการดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แล้วแปรสภาพเป็นกรดก่อนที่จะแปรสภาพกลับมาเป็นน้า
  • 3. 3 ธรรมดาอีกครั้งด้วยก๊าซออกซิเจนจากแนวปะการังและหากแนวปะการังถูกทาลายส่งผลให้มีออกซิเจนที่คอย กาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในน้าน้อยลงจนทาให้น้าทะเลกลายเป็นกรดในที่สุด 8) ผลกระทบด้านสุขภาพ โลกร้อนขึ้นจะสร้างสภาวะที่พอเหมาะพอควรให้เชื้อโรคเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็วโลกร้อนขึ้นจะก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูพืชที่เป็นอาหาร ของมนุษย์บางชนิด โรคที่ฟักตัวได้ดีในสภาพร้อนชื้นของโลกจะสามารถเพิ่มขึ้นมากในอีก 20 ปีข้างหน้าซึ่งจะมี การติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น เช่น โรคมาลาเรีย ไข้ส่า อหิวาตกโรคและอาหารเป็นพิษ 2.ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน: กรณีปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลพื้นที่ภาคกลาง การกัดเซาะชายฝั่งทะเลในประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดชายฝั่งทะเลพื้นที่ภาคกลางที่มีความรุนแรงที่สุดถือได้ ว่าเป็นหนึ่งในผลกระทบที่สาคัญที่เกิดจากสภาวะโลกร้อน 2.1 สาเหตุของการกัดเซาะชายฝั่งทะเลและประเด็นปัญหา การกัดเซาะชายฝั่งเป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเลที่เกิดขึ้นตลอดเวลาจากการกัดเซาะของคลื่นหรือลมตะกอนจากที่หนึ่งไปตกทับ ถมในอีกบริเวณหนึ่ง ทาให้แนวของชายฝั่งเดิมเปลี่ยนแปลงไปบริเวณที่มีตะกอนเคลื่อนเข้ามาน้อยกว่าปริมาณ ที่ตะกอนเคลื่อนออกไปถือว่าเป็นบริเวณที่มีการกัดเซาะชายฝั่งซึ่งเกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ 1) การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งโดยกระบวนการตามธรรมชาติ เกิดจากการกัดเซาะของคลื่นและลมวาต ภัย อุทกภัยหรือจากกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในบริเวณนั้น โดยคลื่นเป็นตัวการสาคัญในการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ของตะกอนและทรายชายฝั่ง 1.1) ลมพายุและมรสุม ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้มีอิทธิพลต่อการ เปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งตามธรรมชาติในรอบปี เช่น แนวชายฝั่งฝั่งตะวันออกมีปริมาตรทรายตามแนวชายฝั่ง ลดลงในช่วงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือแต่จะมีปริมาตรมากขึ้นในช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และกรณีลม พายุขนาดใหญ่พัดเข้าสู่ชายฝั่งอ่าวไทยก็ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของแนวชายฝั่งเช่นกัน 1.2) กระแสน้้าและภาวะน้้าขึ้น-น้้าลง ทาให้เกิดการเคลื่อนตัวของตะกอนและมวลทรายบริเวณชายฝั่ง ซึ่งเป็นตัวการสาคัญของการกัดเซาะและการงอกของแผ่นดินในบางบริเวณ 1.3) ลักษณะทางกายภาพของชายฝั่งทะเล ลักษณะของชายฝั่งที่ต่างกันทาให้การกัดเซาะแต่ละ บริเวณไม่เท่ากัน ในบริเวณอ่าวจะได้รับการกัดเซาะน้อยกว่าบริเวณทะเลเปิด เช่นบริเวณอ่าวไทยตอนล่างจะ ได้รับผลกระทบรุนแรงเมื่อเกิดพายุที่ก่อตัวในทะเลจีนใต้คลื่นจะเคลื่อนมากระทบแนวชายฝั่งโดยตรงเนื่องจาก เป็นทะเลเปิดและในพื้นที่ชายฝั่งที่ลาดชันน้อยจะเกิดการกัดเซาะน้อยกว่าบริเวณที่ชายฝั่งมีความลาดชันมาก 2) การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งโดยกิจกรรมของมนุษย์ กิจกรรมของมนุษย์ถือเป็นปัจจัยสาคัญในการ เปลี่ยนแปลงของแนวชายฝั่งจากการมุ่งเน้นพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมโดยใช้ทรัพยากรเป็นฐานการผลิต แต่กลับให้ความสาคัญในการรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรน้อยเกินไปทาให้ทรัพยากรที่มีความสาคัญถูกทาลาย และเสื่อมโทรมลงทุกขณะ กิจกรรมที่เร่งกระบวนการกัดเซาะชายฝั่งให้รุนแรงมากขึ้น ได้แก่ 2.1) การพัฒนาขนาดใหญ่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเล เช่น การสร้างท่าเรือน้าลึกถนนเลียบชายฝั่ง และถม ทะเลเพื่อสร้างสิ่งก่อสร้างต่างๆ ในเขตนิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการพัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศ 2.2) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง ซึ่งเน้นการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อรองรับ กิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น สร้างโรงแรมที่พัก เส้นทางคมนาคม เกิดการรุกล้าเข้าไปแนวสันทรายชายฝั่งซึ่ง เป็นปราการที่ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งตามธรรมชาติ
  • 4. 4 2.3) การสร้างเขื่อนฝายหรืออ่างเก็บน้้าต้นน้้า โครงสร้างเหล่านี้มีผลให้ตะกอนที่ไหลตามแม่น้ามา สะสมบริเวณปากแม่น้ามีปริมาณลดลงขาดตะกอนที่จะเติมทดแทนส่วนตะกอนเก่าที่ถูกพัดพาไปบริเวณอื่นโดย กระแสน้าทาให้เกิดการกัดเซาะแนวชายฝั่งอย่างต่อเนื่อง เช่น ชายฝั่งทะเลบางขุนเทียนเป็นต้น 2.4) การบุกรุกท้าลายพื้นที่ป่าชายเลน เพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า ป่าชายมีความสาคัญ หลายประการ ประการหนึ่งคือช่วยดักและตกตะกอนโคลนทาให้เกิดดินงอกตามแนวชายฝั่งและเป็นกาแพง ป้องกันกระแสคลื่นและลมป้องกันการพังทลายของแนวชายฝั่งด้วย 2.5) การสูบน้้าบาดาล ทาให้เกิดการทรุดตัวของแผ่นดินและจะมีส่วนให้การกัดเซาะชายฝั่งเกิดความ รุนแรงมากขึ้นเช่นการกัดเซาะในพื้นที่อ่าวไทยตอนบนจากปัญหาการทรุดตัวเนื่องจากการสูบน้าบาดาลเกิน ศักยภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ 2.6) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ส่งผลกระทบระบบนิเวศชายฝั่งและปะการังสภาพอากาศ แปรปรวน โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของระดับน้าทะเลจะส่งผลกระทบต่อชายฝั่งทะเลทั่วประเทศและอาจ ก่อให้เกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งอีกด้วย 2.2 สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งทะเลของประเทศไทย ประเทศไทยมีแนวชายฝั่งทะเลทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร ตลอดแนว 23 จังหวัด มีประชากรอาศัยอยู่ในพื้นที่ ชายฝั่งทะเลประมาณ 12 ล้านคน และพ บปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ตลอดแนวชายฝั่งทั้ง 23 จังหวัด โดยมี ระยะทางชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะ ทั้งสิ้นยาว 830.07กิโลเมตรแบ่งออกเป็น 17 จังหวัดชายฝั่งทะเลอ่าวไทยความ ยาวชายฝั่ง 2,055.18 กิโลเมตรมีพื้นที่ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยที่ถูกกัดเซาะยาว 730.03 กิโลเมตรแบ่งออกเป็น ระดับปานกลาง (1-5 เมตรต่อปี) 501.81 กิโลเมตรและระดับรุนแรง (> 5 เมตรต่อปี)228.22 กิโลเมตรและ 6 จังหวัดชายฝั่งอันดามันมีความยาวชายฝั่ง 1,093.04กิโลเมตรมีพื้นที่ชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะยาว 100.04 กิโลเมตร แบ่งออกเป็นระดับปานกลาง 74.98 กิโลเมตรและระดับรุนแรง 25.06 กิโลเมตร โดยชายฝั่งทะเล ของไทยมีจุดวิกฤติที่ประสบปัญหากัดเซาะรุนแรงที่สุดของประเทศจานวน 30 แห่ง(รายละเอียดปรากฏตาม แผนที่)
  • 5. 5 แผนที่แสดงการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในประเทศไทยและระดับความรุนแรง กัดเซาะปานกลาง 1 - 5 เมตรต่อปี กัดเซาะรุนแรง>5 เมตรต่อปี ที่มา : ฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2.3 สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งทะเลในพื้นที่ภาคกลาง ครอบคลุม 11 จังหวัดชายฝั่งทะเลเป็นระยะทาง ยาว 1,041.57 กิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 51 ของความยาวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย มีระดับการกัดเซาะปานกลาง 292.09 กิโลเมตร และการกัดเซาะรุนแรง 81.11 กิโลเมตร รวมพื้นที่ประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็น ระยะทางยาว 373.21 กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 51.12 ของพื้นที่กัดเซาะชายฝั่งทั้งประเทศโดยเฉพาะ บริเวณอ่าวไทยตอนบนตั้งแต่ปากแม่น้าบางปะกงจนถึงปากแม่น้ากลองครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาครและสมุทรสงครามเป็นพื้นที่อ่อนไหวและพบปัญหา รุนแรงที่สุดของประเทศ
  • 6. 6 ตารางที่ 1: ระดับความรุนแรงของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในพื้นที่ภาคกลางรายจังหวัด จังหวัด ความยาว ชายฝั่ง (กม.) ระดับความรุนแรงของการกัดเซาะ (กม.) รวมพื้นที่ประสบ ปัญหาการกัด เซาะชายฝั่ง (กม.) ปานกลาง 1-5 เมตร/ปี รุนแรง มากกว่า 5 เมตร/ปี ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 184.3 102.25 104.48 171.78 16.28 50.21 5.81 42.78 25.2 91.73 246.75 46.63 23.21 53.66 25.14 2.04 3.22 0 19.69 2.96 39.35 76.19 0 12 0 0 5.85 31.47 5.71 13.76 0 10.39 1.93 46.63 35.21 53.66 25.14 7.89 34.69 5.71 33.45 2.96 49.75 78.12 รวม 1,041.57 292.09 81.11 373.21 ที่มา: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2554 สาหรับชายฝั่งทะเลพื้นที่ภาคกลางที่ประสบปัญหากัดเซาะรุนแรงที่สุดของประเทศมี 8 จุดดังนี้  ชายฝั่งทะเลเกาะแมว-แหลมหญ้า อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี  มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง  บ้านคลองเจริญไว-บ้านคลองสีล้ง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา  ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของคลองสีล้ง-บ้านบางสาราญ จ.สมุทรปราการ  บ้านแหลมสิงห์-ปากคลองขุนราชพินิตใจ จ.สมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 12.5 กม.ปัจจุบัน พื้นที่ชายฝั่งถอยร่นเข้ามาประมาณ 700-800 เมตร บางแห่ง เช่นบ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 พื้นที่ถูกกัด เซาะหายไปประมาณ 1 กิโลเมตร ในช่วง 28 ปีด้วยอัตราการกัดเซาะมากกว่า 25 เมตรต่อปี  ปากคลองราชพินิจใจ-บ้านท่าตะโก เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานครระยะทางประมาณ 5.5 กิโลเมตร มีอัตราการกัดเซาะ 20-25 เมตรต่อปี ช่วง 28 ปีที่ผ่านมาพื้นที่หายไป 400-800 เมตร  บ้านดอนมะขาม-บ้านทาเนียบ อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี  บ้านบางเกตุ จ.เพชรบุรี บ้านหนองเก่า-บ้านหนองเสือจ.ประจวบคีรีขันธ์ 2.4 ผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่ง การกัดเซาะชายฝั่งเป็นปัญหาที่สร้างผลกระทบในหลายด้านซึ่งสามารถจาแนกผลกระทบที่สาคัญได้ 4 ด้าน คือ 1) ด้านเศรษฐกิจ ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบโดยตรงคือ ภาคการท่องเที่ยวจากชายฝั่งถูกกัดเซาะจนเกิด
  • 7. 7 สภาพเสื่อมโทรม สูญเสียแนวชายหาดที่สวยงามโดยเฉพาะชายหาดที่มีชื่อเสียงและเป็นจุดหมายท่องเที่ยวของ นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกกระทบถึงรายได้จานวนมหาศาล สูญเสียโอกาสการพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวชายฝั่ง รวมทั้งต้องสูญเสียงบประมาณและทรัพยากรจานวนมากเพื่อการป้องกันการกัดเซาะแนวชายฝั่ง 2) ด้านสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศชายฝั่ง ได้แก่ ระบบนิเวศชายหาด ป่าชายเลน หญ้าทะเล และปะการัง จะได้รับผลกระทบโดยตรง เนื่องจากการกัดเซาะและเปลี่ยนแปลงทับถมของตะกอนสูญเสียแนวชายหาดเดิมที่ เคยมี เกิดตะกอนทับถมบนหญ้าทะเลและแนวปะการังอีกทั้งแนวป่าชายเลนที่ถูกกัดเซาะมีการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่เสื่อมโทรมลง ทาให้เกิดผลกระทบต่อ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งสมดุลของระบบนิเวศใน บริเวณนั้น 3) ด้านสังคม ชุมชนริมฝั่งทะเลต้องอพยพย้ายถิ่นฐานไปยังพื้นที่อื่นจากพื้นที่ที่ถูกกัดเซาะทาให้สูญเสีย วิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมของชุมชน ไม่มีที่อยู่อาศัยและที่ทากินทาให้ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ตามปกติส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังภาคเศรษฐกิจด้วย 4) ด้านคุณภาพชีวิต ชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากการกัดเซาะ สูญเสียที่ดินและทรัพย์สินของตนต้อง ปรับเปลี่ยนวิถีดารงชีวิตไปจากเดิม เกิดความวิตกกังวลในการประกอบอาชีพใหม่อาจส่งผลถึงสภาพจิตใจและ ความสัมพันธ์ในครอบครัวทาให้คุณภาพชีวิตตกต่าลงหรือไม่ดีเหมือนเดิม ซึ่งผลกระทบจากการกัดเซาะเกิดขึ้น เป็นลูกโซ่และเกิดต่อเนื่องสัมพันธ์กันในทุกๆส่วนของสังคมทั้งภาคเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรและคุณภาพชีวิต 2.5 การด้าเนินงานที่ผ่านมา ในระยะที่ผ่านมาหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติงานในพื้นที่ตามหน้าที่ และความรับผิดชอบของตนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลมาแล้วอย่างต่อเนื่องเช่น กรม โยธาธิการและผังเมือง กรมการขนส่งทางน้าและพาณิชยนาวี สานักโยธาธิการกรุงเทพมหานคร องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งรวมถึงเทศบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดและองค์การบริหารส่วนตาบล การ ดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆดังกล่าวมักมีลักษณะต่างคนต่างทา เน้นการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ทะเลและการตกตะกอนในบริเวณชายฝั่งทะเลเฉพาะจุดและส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้รูปแบบ โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลทางวิศวกรรม เช่น กาแพงกันคลื่นชายฝั่งทะเล (Sea wall) รอดัก ตะกอน (Groin) และเขื่อนป้องกันคลื่นนอกชายฝั่งทะเล (Offshore breakwater) โดยมีรูปแบบและวัสดุที่ แตกต่างกันและมีค่าใช้จ่ายสูงแต่ไม่สามารถป้องกันการกัดเซาะได้ ด้วยเหตุนี้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทา “ยุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล ” เมื่อปี พ.ศ. 2550 โดยกาหนดวิสัยทัศน์ให้แนวชายฝั่งทะเลทั่วประเทศมีการจัดการพื้นที่เชิงบูรณาการ โดยคานึงถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ การรักษาคุณค่าของระบบนิเวศชายฝั่งและการใช้ประโยชน์อย่าง ยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ  จัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้วยวิธีบูรณาการโดยเน้นการศึกษาให้เข้าใจถึงผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ของทางเลือกต่างๆ ที่จะพิจารณานามาใช้ในการจัดการพื้นที่ชายฝั่ง  ลดระดับความเสี่ยงจากผลกระทบของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งอาจเกิดขึ้นกับชุมชนที่อาศัยอยู่ บริเวณชายฝั่งทะเล โดยการเลือกใช้เทคนิคการจัดการแก้ไขและฟื้นฟูพื้นที่อย่างเหมาะสมและ รอบคอบ  เสริมสร้างความตระหนักและความเข้าใจแก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินบริเวณชายฝั่งและชุมชนที่ อาศัยอยู่ใกล้พื้นที่ชายฝั่งเกี่ยวกับระบบการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของนิเวศชายฝั่งและผลกระทบ
  • 8. 8 ที่อาจเกิดขึ้นโดยให้การศึกษาและเผยแพร่ความรู้เรื่องความเสี่ยงและผลกระทบจากปัญหาการกัด เซาะชายฝั่ง  กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือระหว่างเจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดิน ชุมชนท้องถิ่นเจ้าหน้าที่ของรัฐ และ ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ในการจัดการปัญหาและความเสี่ยงจากการกัดเซาะชายฝั่ง โดยได้กาหนดเป้าหมายหลักคือ ให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยทั้งหมดมีระบบป้องกันและแก้ไขเพื่อ ไม่ให้ถูกกัดเซาะ ภายในปีพุทธศักราช 2570 มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเล การจัดสรร บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง แบบบูรณาการ การ กาหนดนโยบาย แนวทาง และมาตรการดาเนินงานระดับพื้นที่ ที่ชัดเจนตลอดทั้งมี องค์ความรู้ที่เผยแพร่แก่ ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชน ตลอดทั้งกาหนดแนวทางในการป้องกันแก้ไขปัญหารวม 5 แนวทางประกอบด้วย 1) การพัฒนาและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลพื้นที่ชายฝั่งเพื่อใช้ในกระบวนการตัดสินใจวางแผนและดาเนินงาน 2) การมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล 3 ) การจัดทาแผนแม่บทและ/ หรือแผนยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเชิงบูรณาการในระดับพื้นที่ 4) การป้องกัน แก้ไขและ ฟื้นฟูสภาพพื้นที่ชายฝั่ง และ 5 ) การพัฒนาระบบกากับ ตรวจสอบและควบคุมการดาเนินงานด้านการจัดการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งและกาหนดกลไกในการติดตามและประเมินผล 2.6 ปัญหาของการ แปลงยุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล สู่การ ปฏิบัติ แม้ว่าได้มีการจัดทาวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ฯ แต่ยังคงประสบปัญหาบางประการในกระบวนการ แปลงแผนสู่การปฏิบัติได้แก่ 1) ขาดระบบข้อมูลพื้นฐาน ในปัจจุบันข้อมูลที่จาเป็นต่อการติดตามตรวจสอบและประเมินสถานการณ์การ เปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่บริเวณชายฝั่งของไทยยังขาดระบบการจัดเก็บและรวบรวมที่มีความต่อเนื่องและ ทันสมัย เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเลโดยเฉพาะข้อมูลของลมและ คลื่นในทะเล เพื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลลมบนฝั่ง เพื่อประกอบการจัดทา แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ในการ ประเมินและติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งทะเลทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 2)ขาดการมีส่วนร่วมและขาดความเชื่อมโยงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการควบคุมการพัฒนาและกิจกรรมใน พื้นที่ต้นน้าและปลายน้าทาให้การจัดการน้าไม่ตั้งอยู่บนฐานของทรัพยากร 3)การก่อสร้างโครงสร้างป้องกันชายฝั่งต่างๆ ที่ไม่มีการศึกษาที่รอบคอบเพียงพอพบว่ามีการกัดเซาะพื้นที่ ใกล้เคียงต่อไปเรื่อยๆ 4)บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนและผู้ประกอบการชายฝั่งขาดความรู้ เกี่ยวกับการจัดการพื้นที่ชายฝั่งโดยเฉพาะด้านวิศวกรรมชายฝั่ง 5) แม้จะมีหน่วยงานที่รับผิดชอบออกมาดาเนินการแต่ไม่ได้เป็นไปในภาพรวมเพราะการทาเครื่องกีดขวางเพื่อ ลดกระแสความรุนแรงของคลื่นในที่หนึ่งอาจส่งผลกระทบในอีกที่หนึ่ง การไม่ประสานงานร่วมกันจึงย่อมเกิด ผลเสียมากกว่าผลดี 6) การนาแผนไปสู่การปฏิบัติควรใช้การเรียนรู้ร่วมกับชุมชนและทาควบคู่กับกระบวนการมีส่วนร่วม เพราะ ส่วนใหญ่หน่วยงานส่วนกลางเป็นผู้กาหนดรูปแบบทาให้เกิดปัญหาความขัดแย้งหรือการต่อต้านจากภาค ประชาชนในท้องถิ่น
  • 9. 9 3. กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ : ขุนสมุทรจีน 49A2 ' 'โมเดล'สู้ โลกร้อนกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่โดยให้ชุมชนเป็นฐานของการบูรณาการการจัดการและ บรรเทาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 ความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งและผลกระทบต่อชุมชน ในช่วง 30 ปี บ้านขุนสมุทรจีน ต.แหลม ฟ้าผ่า อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ ประสบปัญหาพื้นที่ถูกกัดเซาะวิกฤตที่สุดลึกหายไปประมาณ 1 ก.ม. อัตรากัดเซาะมากกว่า 25 เมตรต่อปี ส่วนหนึ่งของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเกิดจากปัญหาสภาวะโลกร้อนและ ระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นรวมทั้งเกิดจากการเปลี่ยนทิศทางของคลื่นลมทะเลตามแนวชายฝั่ง ซึ่งเป็นตัวพัดพา ตะกอนโคลนหรือทรายออกจากแนวชายฝั่ง ในขณะที่มีปัจจัยเสริมอื่นๆ เนื่องจากปริมาณตะกอนปากแม่น้า ลดลงเพราะการสร้างเขื่อนบริเวณต้นน้า ทั้งเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ตลอดจนผลกระทบจากแผ่นดินทรุด สถานการณ์ที่รุนแรงทาให้ชาวบ้านตื่นตัวกับปรากฏการณ์ภัยใกล้ตัวและนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง กระทบต่อสภาพจิตใจและหวาดกลัวเพราะย้ายบ้านหนีน้ามาแล้วหลายครั้ง ไม่มีที่ทากิน วิถีชีวิตหลายด้าน สูญหายไปกับทะเล ซึ่งคนในพื้นที่มีความเคลื่อนไหวที่จะบรรเทาปัญหานี้อย่างต่อเนื่อง 3.2 การจัดท้าโครงการก่อสร้างอาคารสลายก้าลังคลื่น "ขุนสมุทรจีน 49A2" ซึ่งเป็นโครงการความ ร่วมมือระหว่างจังหวัดสมุทรปราการ และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสนับสนุนให้หน่วยศึกษาพิบัติภัย และข้อสนเทศเชิงพื้นที่ ภาควิชาธรณีวิทยาคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทา "โครงการศึกษา บูรณาการเชิงพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลของจังหวัดสมุทรปราการ"โดยใช้กรณี จ. สมุทรปราการเป็นต้นแบบ จากการประเมินการกัดเซาะชายฝั่งทั่วประเทศไทย พบว่าบริเวณ จ.สมุทรปราการ เกิดปัญหากัดเซาะอย่างรุนแรง มีพื้นที่หายไปประมาณ 11,104 ไร่เมื่อเทียบกับ 38 ปีที่แล้ว ถ้าปัญหานี้ไม่ได้รับการแก้ไขในอีก 20 ปีจะสูญเสียชายฝั่งเพิ่มขึ้นอีก 37,657 ไร่ 3.3 การออกแบบขุนสมุทรจีน 49A2 หลักการออกแบบหลังจากผ่านการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านพื้นท้อง ทะเล กระแสน้า คลื่น การตกตะกอน รวมทั้งชนิดชายฝั่งนามาศึกษาและวิจัยในเชิงวิทยาศาสตร์เพื่อจับภัย ธรรมชาติที่เกิดขึ้น สิ่งก่อสร้างที่เป็นแนวกันคลื่นนี้เป็นการใช้โครงการสร้างทางวิศวกรรมชายฝั่งทะเลในการ ป้องกันเพื่อสลายพลังคลื่น ไม่ใช่กาแพงกันคลื่นแบบปะทะเต็มๆ ตลอดความยาว 250 เมตรใช้เสาคอนกรีต พิเศษรูปทรงสามเหลี่ยมยึดเป็นแถว มีแถว A, B และ C สูง 10, 8 และ 6 เมตรตามลาดับ วางห่างกัน 1.50 เมตรในลักษณะสลับฟันปลาเมื่อคลื่นถาโถมมาจะช่วยลดความแรง สาหรับตะกอนจะตกหลังแนวกันคลื่นการ ดาเนินการต่อจากนั้นเมื่อชายฝั่งเริ่มตื้นเขินก็มีแนวทางปลูกป่าชายเลนเพื่อยึดผิวดินทาให้ชุมชนบ้านขุนสมุทร จีนมีทรัพยากรอุดมสมบูรณยิ่งขึ้นในช่วง 6 เดือน ถึง 1 ปีจะปล่อยแนวกันคลื่นให้เป็นธรรมชาติมากที่สุด ขึ้นปี ที่ 2 อาจนาตะกอนดินมาเติมหน้าแนวกันคลื่น แล้วให้คลื่นเป็นตัวพัดพาเร่งการงอกของแผ่นดินเป็นการปรับ สมดุลชายฝั่งอีกจุดหนึ่ง 4. ข้อเสนอแนะแนวทางการปรับตัวและแก้ไขผลกระทบ จากการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ภาคกลาง มีความ แตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์หรือลักษณะของชายฝั่งทะเลและอิทธิพลของลมมรสุมประจาท้องถิ่น โดยทั่วไปอาจแบ่งแนวทางการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลออกเป็น 3 รูปแบบคือ 4.1 วิธีการป้องกันและแก้ไขทางธรรมชาติ ได้แก่การฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าชายเลน ป่าชายหาด แหล่งหญ้า ทะเลและแนวปะการังเพื่อลดความรุนแรงของคลื่นที่กระทบฝั่งถือเป็นวิธีป้องกันการกัดเซาะโดยเลียนแบบ ธรรมชาติซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาในการสร้างความมั่นคงแข็งแรงให้กับชายฝั่ง การปักไม้ไผ่ลดกระแสความแรง ของคลื่นและทาให้เกิดตะกอนดินเพิ่มขึ้นและการปลูกหญ้าหรือต้นไม้ขนาดเล็กชนิดที่มีรากยาวให้ช่วยยึดเกาะ
  • 10. 10 พื้นทรายให้แน่นขึ้นหรืออาจเสริมขนาดสันทรายริมชายฝั่งให้กว้างขึ้น รวมทั้งการควบคุมสิ่งปลูกสร้างไม่ให้ชิด ขอบชายฝั่งทะเลมากเกินไป 4.2 วิธีการทางวิศวกรรม โดยใช้โครงสร้างทางวิศวกรรมดักตะกอนทรายและสลายพลังงานคลื่นหรือสร้าง หาดทรายเพิ่มเติมเพื่อป้องกันและรักษาสภาพชายฝั่ง โดยใช้หลักการทางวิชาการ ที่มีการศึกษาวิเคราะห์ ครอบคลุมทุกมิติ เช่น เขื่อนกันคลื่น (Breakwater) หรือแนวกันคลื่นนอกชายฝั่ง (Offshore breakwater) กาแพงกันตลิ่ง (Revetment) รอดักทราย (Groin) ไส้กรอกทราย (Sand sausage) การเติมทราย (Sand nourishment) หรือการสร้างเนินทราย (Dune nourishment) 4.3 การใช้วิธีผสมผสาน โดยใช้ทั้งวิธีทางธรรมชาติและทางวิศวกรรมร่วมกัน เช่น การดาเนินการป้องกันการ กัดเซาะชายฝั่งของ ต.คลองด่าน อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ โดยการปักไม้ไผ่รวกเป็นกาแพงลดความรุนแรง ของคลื่น เมื่อมีการตกตะกอนและทับถมมากขึ้นจึงปลูกไม้ชายเลนไว้หลังแนวปักไม้ไผ่ เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าชาย เลนตามธรรมชาติ ซึ่งพบว่าไม้ชายเลนมีการเจริญเติบโตได้ดี 5. สรุป การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศที่กาลังดาเนินอยู่ในปัจจุบันได้ส่งผลกระทบในหลายมิติโดยเฉพาะด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งหนึ่งในผลกระทบที่สาคัญจากภาวะโลกร้อนต่อ ประเทศไทยและพื้นที่ภาคกลางคือปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งซึ่งถือได้ว่าเป็นปัญหาสาคัญระดับชาติ เนื่องจาก ประเทศไทยมีพื้นที่ชายฝั่งทะเล ทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร ตลอดแนว 23 จังหวัด มีประชากรอาศัยอยู่ในพื้นที่ ชายฝั่งทะเลประมาณ 12 ล้านคน และพ บปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งตลอดแนวทั้ง 23 จังหวัด โดยมีระยะทาง ชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะทั้งสิ้นยาว 830.07กิโลเมตร สาหรับพื้นที่ภาคกลางมีจังหวัดชายฝั่งทะเล 11 จังหวัด เป็น ระยะทางยาว 1,041.57 กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 51 ของความยาวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย มีระดับการกัด เซาะปานกลาง 292.09 กิโลเมตร และการกัดเซาะรุนแรง 81.11 กิโลเมตร รวมพื้นที่ประสบปัญหาการกัด เซาะชายฝั่งเป็นระยะทางยาว 373.21 กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 51.12 ของพื้นที่กัดเซาะชายฝั่งทั้ง ประเทศโดยเฉพาะบริเวณอ่าวไทยตอนบนตั้งแต่ปากแม่น้าบางปะกงจนถึงปากแม่น้ากลองครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด คือฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาครและสมุทรสงครามเป็นพื้นที่อ่อนไหวและ พบปัญหารุนแรงที่สุดของประเทศ แม้ว่าได้มีการจัดทายุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล เมื่อปี 2550 แต่ยัง พบปัญหาในการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติหลายประการโดยเฉพาะปัญหาด้านค่อนข้างขาดการประสานงาน และการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบในส่วนกลางและหน่วยงานส่วนท้องถิ่น ขาดการมีส่วนร่วม ของภาคประชาชนในกระบวนการแก้ไขปัญหา ตลอดทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนขาดองค์ความรู้ ทางวิชาการในการบรรเทาและแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลยังคงมี บทบาทสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศจึงควรจัดทาแผนแม่บทเพื่อบรรเทาและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ เชิงพื้นที่ภาคกลางและแผนแม่บทเพื่อแก้ไขปัญหาการกัดเซาะพื้นที่ที่วิฤตเร่งด่วนที่มุ่งเน้นการบูรณาการการ ดาเนินงานและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน รวมทั้งการสนับสนุนการถ่ายทอด องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการการกัดเซาะชายฝั่งแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสนับสนุนงบประมาณแก่ หน่วยงานรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่เป้าหมายการพัฒนา พื้นที่ชายฝั่งทะเลอย่างสมดุลตลอดทั้งรักษาฐานรายได้และอาชีพให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
  • 11. 11 เอกสารอ้างอิง สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ค้นหาจาก http://www.mkh.in.th/index.php/2010- 03-22-18-05-34/2010-03-26-07-58-17 เข้าถึงเมื่อวันที่28 มิถุนายน 2556 แผ่นดินที่หายไป ค้นหาจาก http://www.saveoursea.net/boardsmf/index.php?topic=718.20;wap2 เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 ปัญหาที่เกิดกับชายฝั่งทะเลของประเทศไทยค้นหาจาก http://www.md.go.th/interest/coast.php เข้าถึง เมื่อ 28 มิถุนายน 2556 ยุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ค้นหาจาก http://www.dmcr.go.th/elibrary/elibraly/book_file/Book20110208142503.pdf เข้าถึงเมื่อ 4 กรกฎาคม 2556 ผลกระทบหลักของภาวะโลกร้อนค้นหาจาก http://www.energysavingmedia.com/news/page.php?a=10&n=131&cno=2757 27 มิถุนายน 2556เข้าถึงเมื่อ 4 กรกฎาคม 2556 สภาวะโลกร้อน (Global Warming) ค้นหาจาก http://www.dol.go.th/sms/interesting.htm 27 มิถุนายน 2556เข้าถึงเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2556