SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 1
รายงานการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, IMT-GT, and GMS-
Enhancing People to People Connectivity for Inclusive Growth
ระหว่างวันที่ 24 เมษายน ถึง 1 พฤษภาคม 2560
ณ มหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลิน เมืองกุ้ยหลิน จังหวัดกว่างสี ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
โดยมีผู้เข้าร่วมฝึกอบรมซึ่งมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวจากประเทศสมาชิกอาเซียนและ
สาธารณรัฐประชาชนจีนรวมจานวน 26 คน (ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมจากประเทศไทยมีจานวน 2 คน) สรุปรายงาน
การฝึกอบรมได้ดังนี้
1. พิธีเปิดการฝึกอบรม
Miss Zhou Jianglin ผู้ช่วยอธิการบดีของมหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลินกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วม
การฝึกอบรมและนาเสนอความก้าวหน้าการดาเนินงานว่ามหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลินก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2528
โดยในช่วงแรกเปิดสอนระดับประกาศนียบัตรต่อมาได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลินเมื่อปี
พ.ศ.2557 ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยการท่องเที่ยวเที่ยวแห่งแรกของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและของโลก
โดยมหาวิทยาลัยเป็นสมาชิกขององค์การท่องเที่ยวแห่งสหประชาชาติและสมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่าง
ประเทศ และได้รับมอบหมายจากกระทรวงการท่องเที่ยวของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนให้เป็นศูนย์
ความร่วมมือการฝึกอบรมด้านการท่องเที่ยวระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและอาเซียน รวมทั้งได้จัดทา
หลักสูตรฝึกอบรมจานวน 23 หลักสูตรสาหรับประเทศสมาชิกอาเซียน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลิน
มีความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวกับมหาวิทยาลัยของไทยได้แก่ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัย
แม่ฟูาหลวง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี
2. การดาเนินการฝึกอบรมภายใต้หลักสูตร สรุปได้ดังนี้
2.1 Professor Dr. Trevor Sofield นาเสนอ 2 หัวข้อการบรรยาย คือ
2.1.1 หัวข้อการบรรยาย “การท่องเที่ยวในฐานะที่เป็นระบบ” ประกอบด้วยโครงสร้างต่างๆ
และการทางานของนาฬิกา (Clockwork) ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์หรือความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของ
โครงสร้างต่างๆ ระบบการท่องเที่ยวประกอบด้วยความเชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการการท่องเที่ยว
(Demand) และปริมาณการให้บริการการท่องเที่ยวซึ่งประกอบด้วย การส่งเสริมการท่องเที่ยว ข้อมูลข่าวสาร
การขนส่งและบริการต่างๆ (Gunn, 2515) การท่องเที่ยวเปรียบเสมือนสิ่งมีชีวิตในระบบชีวภาพซึ่ง
ประกอบด้วยบรรยากาศ สภาพอากาศ น้าและดิน โดยมีการแลกเปลี่ยนพลังงานทั้งในกระบวนการนาเข้าและ
การปล่อยออก หรือระบบการท่องเที่ยวซึ่งประกอบด้วยตลาด การเดินทาง ปลายทางแหล่งท่องเที่ยวและ
การตลาด (Mill และ Morrison, 2535) พื้นฐานของระบบการท่องเที่ยวรวม (เป็นแบบจาลองระบบเชิงพื้นที่)
ประกอบด้วยภูมิภาคการเดินทาง ภูมิภาคที่สร้างนักท่องเที่ยวและภูมิภาคปลายทางการท่องเที่ยว การ
ท่องเที่ยวในฐานะที่เป็นระบบเปรียบเสมือนเส้นก๋วยเตี๋ยวในชามที่มีความเชื่อมโยงกันโดยระบบการท่องเที่ยว
ประกอบด้วยธุรกิจที่แตกต่างกันหลายพันธุรกิจ มีกิจกรรมและข้อตกลงทางธุรกิจที่เชื่อมโยงกันในหลาย
แนวทาง การท่องเที่ยวในฐานะที่เป็นระบบประกอบด้วย 7 โครงสร้างหากขาดส่วนหนึ่งส่วนใดของกรอบการ
ท่องเที่ยวจะทาให้การท่องเที่ยวไม่สามารถดาเนินต่อไปได้ซึ่งประกอบด้วย
1) ภูมิภาคที่สร้างนักท่องเที่ยว (Demand Side) โดยการจัดหมวดหมู่ของตลาดแบ่ง
ออกเป็น (1) นักท่องเที่ยวภายในประเทศและนักท่องเที่ยวต่างประเทศ นักท่องเที่ยวภายประเทศคือผู้ที่
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 2
เดินทางจากที่พักอาศัยปกติไปยังพื้นที่อื่นๆที่มีระยะทางอย่างน้อย 40 กม. จากที่อยู่อาศัยของตนเองเป็น
ระยะเวลาอย่างน้อย 1 คืนแต่ไม่เกิน 12 เดือน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสันทนาการ ส่วนนักท่องเที่ยว
ต่างประเทศคือผู้ที่เดินทางไปเยี่ยมเยียนประเทศอื่นนอกเหนือจากประเทศที่ตนเองพักอาศัย เช่น ข้าม
พรมแดนระหว่างประเทศในฐานะผู้เยี่ยมเยียนแบบชั่วคราวในระยะเวลาอย่างน้อยที่สุด 24 ชั่วโมงและน้อย
กว่า 1 ปี โดยมีเปูาหมายเพื่อความบันเทิงหรือสันทนาการ นักท่องเที่ยวภายในประเทศและนักท่องเที่ยว
ต่างประเทศมีตลาดที่แตกต่างกันมากทาให้เกิดความแตกต่างของกาลังซื้อ แนวโน้มความต้องการการเดินทาง
แรงบันดาลใจในการเดินทาง ความสนใจและแหล่งท่องเที่ยวปลายทางและความต้องการสิ่งอานวยความ
สะดวกด้านการท่องเที่ยวที่แตกต่างกัน (2) ประชากรโดยการวิเคราะห์สามะโนประชากรของประเทศจาก
ตลาดของประเทศต่างๆ เช่น อายุ เพศ กาลังการใช้จ่าย ระดับการศึกษา ประเภทการจ้างงานและโครงสร้าง
ของครอบครัว (3) ลักษณะเฉพาะของนักท่องเที่ยว ได้แก่ กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เกิดหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2
กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวได้ตลอดปี กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เป็นบุตรหลานของกลุ่มนักท่องเที่ยวที่เกิด
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กลุ่มนักท่องเที่ยวที่แบ่งตามประเทศต้นทาง กลุ่มนักท่องเที่ยวที่ย้ายถิ่นฐานจาก
ภาคเหนือไปภาคกลางของสหรัฐอเมริกา แรงงานที่สมัครใจเพื่อทางานในไร่เกษตรอินทรีย์ การกีฬาแบบสุดขั้ว
การชมการอพยพของห่านหิมะและการท่องเที่ยวทั่วโลกก่อนเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา (4) เปูาหมายหลักของ
การเดินทาง ได้แก่ การพักผ่อนวันหยุด ธุรกิจ การศึกษา การแสวงบุญทางศาสนา กีฬา การสัมมนาและการ
เยี่ยมเยียนเพื่อนและญาติ
2) ปลายทางการท่องเที่ยว (Supply Side) เป็นแนวหน้าของภาคอุตสาหกรรมโดยมี
ธุรกิจที่ดาเนินการโดยตรงกับนักท่องเที่ยว (The Five‘A’s) ประกอบด้วย (1) ที่พัก (Accommodation)
ได้แก่ โรงแรม โมเตล รีสอร์ท แบ็คแพ็คโฮสเทล การบริการที่พักและอาหารเช้า ลานจอนรถคาราวาน
เต็นท์ที่พัก เป็นต้น (2) สิ่งอานวยความสะดวก (Amenities) ได้แก่ ร้านอาหาร สิ่งอานวยความสะดวกด้าน
การกีฬา โรงภาพยนตร์และคาสิโน เป็นต้น (3) แหล่งท่องเที่ยว ได้แก่ ธรรมชาติ วัฒนธรรม เมือง ภูมิทัศน์
สวนสนุก พิพิธภัณฑ์ งานและเทศกาลและห้างสรรพสินค้า เป็นต้น (4) การเข้าถึง (Access) ได้แก่ บริเวณ
โดยรอบแหล่งท่องเที่ยว สานักงานด้านการท่องเที่ยว การขนส่ง เช่น สายการบิน รถโดยสาร ผู้ให้บริการด้าน
การท่องเที่ยว รถไฟ เรือสาราญ รถแท็กซี่และรถเช่า เป็นต้น และ (5) กิจกรรม (Activities) ได้แก่ ผู้ให้บริการ
ด้านการท่องเที่ยว บริษัทให้บริการสนามสกี เรือยอร์ชให้เช่า ดูวิถีชีวิตสัตว์ปุา รถจักรยานให้เช่า บริษัท
ให้บริการเรือคายัคผจญภัย ตั้งแคมป์ บริษัทไต่เขาหิมาลัยและการช้อปปิ้ง เป็นต้น
3) ภูมิภาคการขนส่ง รูปแบบการขนส่งหลักจะนาผู้เดินทางผ่านภูมิภาคการขนส่งไปยัง
ปลายทางการท่องเที่ยว ระบบการขนส่งคือการผสมผสานกันของการใช้ประโยชน์ที่ดินและความสัมพันธ์
ระหว่างรูปแบบการขนส่ง (ส่วนใหญ่เป็นถนน อากาศ รถไฟและทะเล) เช่น สนามบินสุวรรณภูมิสนับสนุนโดย
โครงสร้างพื้นฐานเฉพาะด้านการขนส่งและสิ่งอานวยความสะดวก เช่น สนามบิน สถานีรถไฟ เครือข่ายถนน
ท่าเรือ สถานีเติมน้ามัน วิศวกรรมและสิ่งอานวยความสะดวกในการซ่อมบารุง เป็นต้น
4) อุตสาหกรรมสนับสนุนและภาคบริการต่างๆ มีความเชื่อมโยงย้อนกลับและส่งต่อจาก
ธุรกิจที่จัดหาสินค้าและบริการไปให้ผู้ดาเนินการแนวหน้าทั้งในภาคที่สร้างนักท่องเที่ยวและปลายทางแหล่ง
ท่องเที่ยวได้แก่ สถาปนิก นักบัญชี สนามบิน หน่วยงานโฆษณา การให้บริการเครื่องดื่ม เบียร์ ธนาคาร
หน่วยงานบัตรเครดิต ผู้ให้บริการขนส่ง สารเคมีทาความสะอาด ระบบการระบายน้า มัณฑนากร วิศวกร ช่าง
ไฟฟูา ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ร้านดอกไม้ เฟอร์นิเจอร์ ผ้า เครื่องมือเอ็กซเรย์ความปลอดภัยและผู้สร้างเรือ
ยอร์ช เป็นต้น
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 3
5) สิ่งแวดล้อมชีวภาพและกายภาพ (อากาศ น้าและดิน) ได้แก่ ผลกระทบของการ
ท่องเที่ยวต่อพืชและสัตว์ ที่อยู่อาศัย ภูมิทัศน์ธรรมชาติ ความเป็นปุา พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม (และการ
จัดการ) มรดกโลก อุทยานแห่งชาติ พื้นที่ปุาไม้ของรัฐ สวนในเมือง สวนพฤกษศาสตร์ พิพิธภัณฑ์สัตว์น้าและ
สวนสัตว์ เป็นต้น สาหรับประเภทการท่องเที่ยว ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และการท่องเที่ยวที่ใช้
ธรรมชาติเป็นฐาน การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย การท่องเที่ยวสัตว์ปุา การท่องเที่ยวซาฟารี การท่องเที่ยวดูนก
การดูปลาวาฬ การสารวจถ้า ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเป็นประเด็นท้าทายในปัจจุบัน
6) ชุมชน การท่องเที่ยวสามารถจัดหาสิ่งจูงใจและเงินทุนสาหรับจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ตามแนวทางที่ยั่งยืน โดยนักท่องเที่ยวให้คุณค่าและเต็มใจ
จ่ายเงินเพื่อเข้าไปท่องเที่ยวช่วยจูงใจชุมชนให้มีการจัดการอย่างยั่งยืนซึ่งเป็นประโยชน์ต่อประชาชนในท้องถิ่น
ในอนาคต ชุมชนท่องเที่ยวประกอบด้วยประชาชนในท้องถิ่น ผู้เสียภาษี ครอบครัว บุคคล องค์กรชุมชนและ
ชนกลุ่มน้อย การพัฒนาการท่องเที่ยวต้องการโครงสร้างพื้นฐานของชุมชน ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม บทบาทของ
ความรู้ดั้งเดิม การอบรมและการอบรมฝีมือ การท่องเที่ยวโดยชุมชนควรเน้นบทบาทขององค์การพัฒนาเอกชน
และการสร้างเครือข่ายและตระหนักถึงผลกระทบด้านสังคมและวัฒนธรรม
7) รัฐบาล เป็นสาขาผู้ประสานงานที่เชื่อมโยงทุกภารกิจที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกันโดยมี
บทบาทที่สาคัญได้แก่ ด้านการควบคุมกฎหมาย เช่น การออกใบอนุญาต การจดทะเบียนธุรกิจ การเก็บภาษี
รหัสอาคาร กฎระเบียบด้านความปลอดภัย เป็นต้น ด้านกฎหมายและการรักษาความสงบ เช่น การรักษา
ความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว ตารวจ ศุลกากร ตรวจคนเข้าเมืองและยุทธศาสตร์การต่อต้านการก่อการร้าย
เป็นต้น ด้านการจัดทานโยบายด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว การขนส่ง การต่างประเทศ การพัฒนาภาค การ
กีฬาและสันทนาการและโทรคมนาคม เป็นต้น ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน ทางรถไฟ สนามบิน น้า ไฟฟูา
ท่าเรือ ระบบการสื่อสาร เป็นต้น ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น กฏหมาย อุทยานแห่งชาติ เขตสงวนชีวมณฑล แหล่ง
มรดกโลก เป็นต้น ด้านกฏหมายระหว่างประเทศ เช่น วีซ่า การค้า บริการขนส่งทางอากาศทวิภาคี กฏหมาย
สนธิสัญญาการต่อต้านการก่อการร้ายและสุขภาพและความปลอดภัยในที่ทางาน เป็นต้น และความร่วมมือกับ
ภาคเอกชน เช่น ทางด่วน เป็นต้น
2.1.2 หัวข้อการบรรยาย “รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีน” การชมทิวทัศน์การทานาขั้นบันไดลองจีประกอบด้วยพื้นที่ภูเขา 72 ตร.กม.
ครอบคลุมจานวน 4 หมู่บ้านของชนกลุ่มน้อยเผ่าสวงและเย้า เมื่อประมาณ 800 ปีที่ผ่านมาชนกลุ่มน้อยเหล่านี้
ได้ก่อสร้างนาขั้นบันไดมากกว่า 800,000 แห่งบนภูเขาที่สูงชัน นาขั้นบันไดในปัจจุบันเป็นทางแคบและไม่
สามารถเลี้ยงสัตว์ แต่ละชุมชนมีประสบการณ์การพัฒนาที่แตกต่างกัน โดย 2 หมู่บ้านจาก 4 หมู่บ้านประสบ
ความสาเร็จในการแก้ไขปัญหาความยากจน (แก้ปัญหาความยากจนได้อย่างสิ้นเชิงและประชาชนมีอายุยืนยาว
ขึ้น 12-16 ปี ทาให้สะท้อนให้เห็นถึงความยั่งยืนและการปรับตัว) หมู่บ้านที่ 1 ชื่อหมู่บ้านผิงอันเป็นผลจากการ
วางแผนจากบนลงล่าง หมู่บ้านที่ 2 ชื่อหมู่บ้านหวงลู่บรรลุผลสาเร็จผ่านกิจกรรมรากหญ้า หมู่บ้านที่ 3 ชื่อ
หมู่บ้านต้าไห่ซึ่งดาเนินการตาม 2 หมู่บ้านข้างต้นปัจจุบันประสบปัญหาเศรษฐกิจการท่องเที่ยวถดถอย
เนื่องจากการตัดสินใจจากบนลงล่างซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจแบบครอบครัวอย่างรุนแรงแต่อย่างไรก็ตามก็มี
แนวโน้มว่าจะฟื้นตัว และหมู่บ้านที่ 4 ชื่อหมู่บ้านสวง ให้น้าหนักกับการตัดสินใจของชุมชนซึ่งไม่ยอมรับการ
แทรกแซงจากรัฐบาลจากบนลงล่างในช่วง 13 ปีที่ผ่านมาและตัดสินใจยอมรับการพัฒนาการท่องเที่ยวในช่วง
5 ปีที่ผ่านมา ทาให้มีลักษณะการพัฒนาที่แตกต่างโดยเน้นวัฒนธรรมและมรดกที่สร้างขึ้นมา ในช่วง 18 ปีที่
ผ่านมาทั้ง 4 ชุมชนเป็นชุมชนบนภูเขาที่ห่างไกลและเป็นเกษตรกรชาวชนบทที่ยากจนที่สุดในประเทศ
สาธารณรัฐประชาชนจีน มีรายได้ต่อหัวประมาณ 30-70 เหรียญสหรัฐ/ปี โดยไม่มีถนนทางหลวงในพื้นที่มี
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 4
เพียงแต่ถนนที่ไม่ลาดยางแคบๆ รัฐบาลมณฑลกว่างสีตัดสินใจเปิดพื้นที่ดังกล่าวเพื่อการท่องเที่ยว
ในปี พ.ศ.2540-2541 มีการก่อสร้างถนนทางหลวง 2 ช่องจราจร ระยะทาง 10 กม.จากเมืองกุ้ยหลินไปยังตีน
ภูเขาของนาขั้นบันไดและเชิญให้ภาคเอกชนพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ ต่อมาเมื่อปลายทางนี้ได้รับการพัฒนา
รัฐบาลจึงได้ก่อสร้างสายส่งไฟฟูาเพื่อให้บริการในพื้นที่การท่องเที่ยวที่เพิ่งเติบโต
การพัฒนาการท่องเที่ยว
เมื่อปี พ.ศ.2541 บริษัท ท่องเที่ยวกุ้ยหลินลองจี จากัด ได้ก่อสร้างศูนย์ต้อนรับ/การขนส่ง/และจอดรถ
ขนาดใหญ่ที่ประตูทางเข้าของแหล่งท่องเที่ยวและสร้างถนนระยะทาง 30 กม.จากถนนทางหลวงไปยังภูเขา
จนถึงยอดเขาใกล้ๆกับตอนกลางของหมู่บ้านผิงอัน ในปี พ.ศ.2547 ได้มีการขยายถนนระยะทาง 15 กม.จนถึง
ต้าไห่ซึ่งเป็นจุดสูงสุดของภูเขา และเมื่อปี พ.ศ.2553 บริษัทได้เปิดถนนแห่งใหม่ถึงหมู่บ้านโบราณสวง บริษัท
เก็บค่าผ่านทางรายบุคคล 100 หยวน/คน และเป็นคณะ 95 หยวน/คน นักท่องเที่ยวต้องเปลี่ยนถ่ายจากรถบัส
ท่องเที่ยวหรือรถส่วนบุคคลไปยังรถบัสขนาดเล็กที่ประตูทางเข้าโดยเก็บค่ารถบัสขนส่งขึ้นไปบนภูเขาคนละ 40
หยวน บริษัทได้ก่อสร้างที่จอดรถ ห้องน้าและประตูทางเข้าและทาทางขึ้นไปบนภูเขาระยะทาง 15 กม.
นอกจากนี้ยังทาสะพานโบราณและสะพานเดินเท้า บริษัทได้ลงทุนรวมมากกว่า 22 ล้านเหรียญสหรัฐรวมทั้ง
ก่อสร้างโรงชมการแสดงทางวัฒนธรรมจานวน 200 ที่นั่ง ที่หมู่บ้านหวงลู่ และในปี พ.ศ.2557 สร้างโรงชมการ
แสดงทางวัฒนธรรมแห่งที่ 2 ที่หมูบ้านสวง กาหนดให้คนท้องถิ่นเท่านั้นที่สามารถประกอบการวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่อมในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวและมีการกาหนดไว้เป็นกฏหมาย
การพัฒนาการท่องเที่ยวระยะที่ 1:หมู่บ้านท่องเที่ยวผิงอัน
เป็นตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จของรูปแบบการท่องเที่ยวของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่ง
ประกอบด้วยความร่วมมือ 3 ฝุายระหว่าง:
1) รัฐบาลจัดหาโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น (ถนนทางหลวงและไฟฟูา)
2) ภาคเอกชนลงทุนหลายล้านดอลลาร์ซึ่งสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาท่องเที่ยวจานวนมาก
3) การกระจายผลประโยชน์ของกาไรจากการขายตั๋วจากบริษัทเอกชนให้ชุมชน
4) ธุรกิจของครอบครัวขนาดจิ๋วและขนาดเล็กในท้องถิ่นได้รับการปกปูองจากฏระเบียบของรัฐ
ที่ปูองกันไม่ให้นักธุรกิจจากภายนอกเข้าไปประกอบธุรกิจหรือครอบงาทางธุรกิจในขอบเขตพื้นที่
ของแหล่งท่องเที่ยว
5) การผสมผสานของการลงทุนขนาดใหญ่ที่พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวซึ่งสร้างการไหลเวียนของ
นักท่องเที่ยวจานวนมากทาหน้าที่เป็นตัวบ่มเพาะธุรกิจครอบครัวทาให้ชุมชนได้รับผลประโยชน์
ผ่านการท่องเที่ยวและผลประโยชน์ของการท่องเที่ยวโดยชุมชน เช่น โฮมสเตย์ เป็นต้น
ชุมชนสามารถลดปัญหาความยากจนได้อย่างชัดเจน หมู่บ้านท่องเที่ยวผิงอันบรรลุความยั่งยืนโดย
การสร้างการไหลเวียนของนักท่องเที่ยวโดยผ่านหน่วยงานภายนอกซึ่งธุรกิจครอบครัวขนาดจิ๋วและขนาดเล็ก
สามารถเชื่อมโยงโดย “การทาให้เป็นกระแสหลัก” รวมทั้งการแบ่งปันรายได้จากบริษัทที่จัดการโดยผ่านการ
ดาเนินการที่เรียกว่า “เศรษฐกิจบัตรเข้าชม (Ticket Economy)” ซึ่งผสมผสานทั้งสองแนวทางร่วมกันได้
ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม การบรรลุการเพิ่มความสามารถของชุมชนไม่ใช่
ผ่านการเป็นเจ้าของของธุรกิจหากแต่บรรลุระดับของรายได้ที่ทาให้เขามีอิสรภาพและศักยภาพในการสร้าง
ทางเลือกอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 5
การพัฒนาการท่องเที่ยวระยะที่ 2 (จากล่างขึ้นบนและไม่มีการวางแผน): หมู่บ้านหวงลู่ โดยมีการแสดง
ทางวัฒนธรรมของผู้หญิงผมยาวเผ่าเย้า
หมู่บ้านหวงลู่ตั้งอยู่บนหุบเขาบนถนนแคบๆไปยังหมู่บ้านผิงอันและอยู่ภายนอกขอบเขตของแหล่ง
ท่องเที่ยวพื้นที่นาขั้นบันไดลองจี โดยชุมชนหวงลู่พบว่าชีวิตประจาวันของพวกเขาถูกรบกวนจากการจราจร
ของนักท่องเที่ยวที่ไม่เคยหยุด เมื่อจานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นตามมาด้วยการขยายตัวแบบทวีคูณของ
การจราจรทางรถยนต์ทาให้เกิดการหลั่งไหลเข้ามาของนักท่องเที่ยวสู่ชุมชนและมีการจราจรตลอดทั้งวันในช่วง
สัปดาห์วันหยุดต่อเนื่อง ทาให้เกิดการแข่งขันระหว่างหมู่บ้านและมองเห็นว่านักท่องเที่ยวจานวนมากเดินทาง
ไปท่องเที่ยวยังหมู่บ้านผิงอัน ในความพยายามเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากการจราจรผู้หญิงจากชุมชนหวงลู่
ตัดสินใจก่อตั้งการแสดงทางวัฒนธรรมบนพื้นฐานของลักษณะเฉพาะตัวของตนเองที่มองเห็นผมของตนเองยาว
เกือบ 2 เมตรในระยะเวลาอันสั้น โดยตลอดชีวิตแต่ละคนจะตัดผมเพียง 3 ครั้งและมีการแต่งทรงผมตาม
สถานภาพการสมรสออกเป็น 3 แบบคือ ยังไม่แต่งงาน แต่งงานแล้ว และเป็นยาย/เป็นม่าย ผู้หญิงชนเผ่าเย้า
ของหวงลู่ตระหนักถึงความสนใจของนักท่องเที่ยวต่อผมยาวของพวกเขาซึ่งได้มีการใช้ประโยชน์โดยการถ่ายรูป
ด้วยแล้วเรียกเก็บเงินที่ประตูขายตั๋วบริเวณทางเข้าแหล่งท่องเที่ยวและการถ่ายรูปกับนักท่องเที่ยวในบริเวณ
รอบๆ นาขั้นบันไดผิงอัน กลุ่มผู้หญิงจึงได้ก่อตั้งสหกรณ์เพื่อจัดการแสดง
ในช่วงแรกการแสดงทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้หญิงใช้เวทีในหมู่บ้านแบบดั้งเดิมและดึงดูดคนให้มาชมได้
น้อยและรถทัวร์ของนักท่องเที่ยวขับผ่านโดยไม่แวะชมทาให้ชุมชนผิดหวังมาก ต่อมาชุมชนได้เจรจาต่อรองกับ
บริษัททัวร์เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การแสดงและขอให้รถทัวร์หยุดจอดในหมู่บ้านและบริษัทปฏิเสธข้อเสนอ
นี้อยู่หลายปี ท้ายที่สุดชุมชนได้แสดงพลังโดยชาวบ้านได้ปิดถนนแคบๆที่ผ่านหมู่บ้านทาให้การจราจรหยุดชะงัก
หลังจากนั้นบริษัทเอกชนยินดีก่อสร้างโรงแสดงในชุมชนโดยมีสะพานแขวนข้ามแม่น้าเป็นเส้นทางสัญจรและ
ส่งเสริมให้การแสดงเป็นส่วนสาคัญของการเยี่ยมชมนาขั้นบันได โดยบริษัทใช้เงินลงทุนจานวน 3 ล้านหยวน
และได้เจรจาแบ่งปันผลประโยชน์กับกลุ่มสหกรณ์ผู้หญิง ณ ปี พ.ศ.2558 มีผู้เข้าชมประมาณ 100,000 คน/ปี
โดยการแสดงทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้หญิงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เพิ่มเติมขึ้นซึ่งไม่ได้เป็นแหล่งท่องเที่ยวหลัก
ของการไปเยี่ยมเยือนหมู่บ้านลองจีตั้งแต่เริ่มต้นโดยบริษัทเอกชนเป็นผู้ลงทุนทั้งหมดทาให้การประสบ
ความสาเร็จขึ้นอยู่กับการประสบความสาเร็จของบริษัทการท่องเที่ยว หลังจากมีจานวนนักท่องเที่ยวเข้ามา
เยี่ยมเยือนจานวนมากหลายๆครอบครัวได้จัดตั้งร้านขายของที่ระลึกและเครื่องดื่ม และมี 1 ครอบครัวเปิดร้าน
ขายแชมพูแบบดั้งเดิมเพื่อจาหน่ายให้แก่กลุ่มผู้หญิงซึ่งสระผมทุกเช้าและประสบความสาเร็จในแง่รายได้ และ
บุตรหลานของคนในท้องถิ่นที่ไปรับการศึกษาภายนอกย้ายกลับมาทางานในหมู่บ้านบนภูเขาเนื่องจากมีรายได้
ที่มั่นคงซึ่งแสดงให้เห็นถึงความยืดหยุ่นทางธุรกิจและสังคมและวัฒนธรรมที่เข้มแข็งของชุมชน หมู่บ้านหวงลู่
และการแสดงทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้หญิงเป็นตัวอย่างที่ยอดเยี่ยมของประโยชน์จาก “การทาให้เป็นกระแส
หลัก”โดยการเชื่อมโยงกับการหมุนเวียนของนักท่องเที่ยวที่มีอยู่โดยการริเริ่มดาเนินการโดยชุมชน
การพัฒนาการท่องเที่ยวระยะที่ 3: หมู่บ้านต้าไห่
การพัฒนาระยะที่ 3 ของแหล่งท่องเที่ยวนาขั้นบันไดเริ่มในปี พ.ศ.2546 โดยการขยายถนนถึงช่วง
สุดท้ายของภูเขาที่หมู่บ้านต้าไห่ บริษัทรถบัส (บริษัทท่องเที่ยวกุ้ยหลินลองจี จากัด) ผูกขาดการการขนส่งแต่
เนื่องจากระยะทางไกลเป็น 2 เท่าและหมู่บ้านผิงอันเริ่มมีชื่อเสียง หมู่บ้านต้าไห่จึงได้รับจานวนนักท่องเที่ยว
ประมาณ 1 ใน 3 ของนักท่องเที่ยวที่หมู่บ้านผิงอัน อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ.2555 มีการก่อตั้งธุรกิจที่ประสบ
ความสาเร็จ 55 ครอบครัวในต้าไห่ และมีการก่อตั้งบริษัทกระเช้าไฟฟูาขนส่งจากบริเวณที่จอดรถไปยังตอน
บนสุดของนาขั้นบันไดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวมายังต้าไห่และเพิ่มสัดส่วนของการไหลเวียน
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 6
ของนักท่องเที่ยว รถกระเช้าไฟฟูาเปิดใช้เมื่อปี พ.ศ.2556 ยกเว้นรถกระเช้าไฟฟูา การประกอบธุรกิจอนุญาต
ให้ดาเนินการได้เฉพาะชาวบ้านในหมู่บ้านต้าไห่เท่านั้น รถกระเช้าไฟฟูาทาให้จานวนนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชม
หมู่บ้านต้าไห่ขยายตัวเป็น 2 เท่า แต่ส่งผลกระทบกับชุมชนทาให้นักท่องเที่ยวที่เดินขึ้นยอดเขาลดลงเหลือน้อย
กว่าร้อยละ 15 และส่วนใหญ่ซื้อตั๋วขึ้นและลงและเพื่อไปชมทิวทัศน์บนยอดเขา ทาให้การขยายตัวของชุมชน
ลองจีไม่สามารถช่วยลดความยากจนของชุมชนต้าไห่และชุมชนมีความขัดแย้งกับบริษัทรถกระเช้าไฟฟูาและ
การตั้งฐานตอม่อของรถกระเช้าไฟฟูาทาให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนได้รับค่าชดเชยเล็กน้อย
จากการใช้ที่ดินเพื่อสร้างตอม่อ และบริษัทรถกระเช้าไฟฟูามักจะจากัดการพัฒนาชุมชนในหมู่บ้านต้าไห่
ครัวเรือนในชุมชนต้าไห่ยังคงได้รับค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาและโครงสร้างพื้นฐานจากบริษัท ท่องเที่ยวกุ้ย
หลินลองจี จากัด และในอนาคตมีแนวโน้มธุรกิจแบบครอบครัวจะขยายตัวหากการพัฒนาพื้นที่หมู่บ้านผิงอัน
และหางลู่ถึงจุดอิ่มตัว
หมู่บ้านโบราณสวง
ความสาเร็จของหมู่บ้านผิงอันและหางลู่ในการลดความยากจนและผลกระทบจากการเป็นตัวอย่างของ
การดาเนินงานอย่างไรให้ประสบความสาเร็จ จึงมีการขยายธุรกิจแบบครอบครัวขนาดจิ๋วและขนาดกลางอย่าง
ยั่งยืนไปยังหมู่บ้านโบราณสวง ในตอนแรกผู้อาวุโสในชุมชนมีความกังวลถึงผลกระทบทางลบของการท่องเที่ยว
ต่อประเพณีและวิถีชีวิตของตนเองและได้ตัดสินใจปฏิเสธที่จะให้บริษัทการท่องเที่ยวก่อสร้างถนนเข้ามายัง
หมู่บ้านและนาขั้นบันไดของตนเองและปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าวเป็นระยะเวลา 12 ปี ชุมชน
สวงมีความภูมิใจในรากเง้าของวัฒนธรรมของตนเองและเป็นพื้นฐานของชุมชนลองจีเนื่องจากมีอายุยาวนานถึง
800 ปี โดยได้รวบรวมสิ่งของ เครื่องมือ เครื่องแกะสลักและสิ่งของทางศาสนาและจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน
ในปี พ.ศ.2543 มีบ้าน 3 หลังในหมู่บ้านที่มีอายุมากกว่า 125 ปี มีการออกแบบดั้งเดิม ก่อสร้างด้วยไม้สัก ไม่มี
การใช้ตะปูหรือวัตถุสมัยใหม่เขาจึงตัดสินใจอนุรักษ์ไว้ เมื่อการท่องเที่ยวมีการพัฒนามากขึ้นในพื้นที่อื่นๆของ
ลองจีในช่วงระยะเวลา 10 ปี ผู้คนวัยผู้ใหญ่จานวนมากออกจากหมู่บ้านเพื่อไปทางานยังพื้นที่อื่นๆ ทุกๆวัน
ในช่วงหลายปีคนวัยผู้ใหญ่จานวน 40 คนเดินข้ามภูเขาไปยังหมู่บ้านผิงอันเพื่อทางานในธุรกิจการท่องเที่ยวที่
ชุมชนเป็นเจ้าของ ผู้ใหญ่บางส่วนออกจากบ้านเพื่อไปทางานในโรงงานที่เมืองกุ้ยหลิน เมื่อประมาณ 5 ปีที่ผ่าน
มาเมื่อชุมชนเปลี่ยนใจและตัดสินใจเปิดรับการท่องเที่ยวและมีการก่อสร้างถนนจากภูเขาไปยังประตูทางเข้า
ระยะทาง 1 กม.ก่อนถึงหมู่บ้านเมื่อปี พ.ศ.2554
ประชากร
หมู่บ้านโบราณสวงมีอายุ 800 ปี และมีจานวน 68 ครัวเรือนที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวหลัก ชุมชน
ประกอบด้วย 3 กลุ่มพื้นที่ของ 3 ชนเผ่าคือ เผ่าเลี่ยว เผ่าหูและเผ่าพาน นอกจากนี้มีจานวน 8 ครัวเรือนที่ตั้ง
อยู่รอบๆทางเข้าไปยังนาขั้นบันไดถึงจุดสิ้นสุดของถนนโดยมีการก่อสร้างโรงแรมขนาดเล็ก 4 โรงแรมและ
ร้านอาหาร
ชุมชนที่เปลี่ยนผ่าน:จากแบบดั้งเดิมสู่ความทันสมัย
ระหว่างปี พ.ศ.2557-2558 หมู่บ้านอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านเนื่องจากมีการก่อสร้างร้านขายของที่ระลึก
ร้านอาหารและโฮมสเตย์เพื่อตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว ตึกใหม่ๆถูกสร้างด้วยคอนกรีตเสริม
เหล็กแทนที่จะใช้ไม้แต่การออกแบบภายนอกยังรักษาแบบดั้งเดิมและเมื่อสร้างเสร็จแล้วก็ยังคลุมด้วยไม้เพื่อ
พยายามรักษาภาพลักษณ์ของความแท้และดั้งเดิม เพื่อเปลี่ยนผ่านชุมชนไปสู่การท่องเที่ยวชุมชน
สวงตัดสินใจขับเคลื่อนมรดกทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของตนเองเพื่อทาเป็นจุดขายที่แตกต่างจาก
ชุมชนลองจีโดยการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ บ้านเก่าทาด้วยไม้สักจานวน 9 หลัง และการแสดงทางวัฒนธรรมของ
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 7
เกษตรกรประกอบขึ้นเป็นรากฐานของภาพลักษณ์ที่โดดเด่นและใช้ประวัติศาสตร์สวงโบราณและมรดกในการ
ทาการตลาดการท่องเที่ยว การริเริ่มของชุมชนในการใช้วัสดุเชิงวัฒนธรรมดึงดูดความสนใจจากองค์กร
พิพิธภัณฑ์กว่างสีในกุ้ยหลินและสานักงานวัตถุโบราณแห่งชาติกรุงปักกิ่งได้ร่วมลงทุนจานวน 4 ล้านหยวนเพื่อ
จัดตั้งพิพิธภัณฑ์เชิงนิเวศน์สวงที่มีการออกแบบอาคารใหม่แบบดั้งเดิมเมื่อปี พ.ศ.2552-2553 และการฟื้นฟู
บ้านโบราณทั้ง 9 หลัง แต่ถนนในชุมชนที่สร้างเพื่อการเดินกาลังเผชิญกับปัญหาทรุดโทรมลงเนื่องจากการใช้
รถยนต์เพื่อสัญจรจานวนมากและความสับสนวุ่นวายจากการสัญจรของนักท่องเที่ยว
2.2 Dr.Sarah Li นาเสนอจานวน 2 หัวข้อการบรรยายคือ
2.2.1 หัวข้อการบรรยาย “ชุมชนและการท่องเที่ยว:ความร่วมมือเพื่อการลดความยากจน
และการทาให้เป็นกระแสหลัก” มีสาระสาคัญคือ
1) การท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Pro Poor
Tourism (PPT) and Community-Based Tourism (CBT) ในช่วง 25 ปีที่ผ่านมาการพัฒนาการ
ท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อลดความยากจนถูกใช้เป็นเครื่องมือในการลดความยากจนโดยหลายหน่วยงาน เช่น
องค์การท่องเที่ยวของสหประชาชาติภายใต้แผนงานการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในฐานะที่เป็นเครื่องมือสาหรับ
การลดความยากจนและสถาบันพัฒนาระหว่างประเทศของอังกฤษซึ่งได้ริเริ่มแผนงานการท่องเที่ยวเพื่อลด
ความยากจนเมื่อ 15 ปีที่ผ่านมา ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย ธนาคารโลก ประชาคมยุโรปและสถาบัน
อื่นๆอีกหลายแห่งได้สนับสนุนโครงการการท่องเที่ยวโดยชุมชนจานวนหลายโครงการในหลายประเทศ เมื่อปี
พ.ศ.2542 กรมการพัฒนาระหว่างประเทศของอังกฤษได้พัฒนาแนวคิดการท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจน:
ศักยภาพที่ไม่ได้ใช้ หลังจากนั้นก็มีการประยุกต์ใช้กันอย่างแพร่หลาย การท่องเที่ยวโดยชุมชนทั่วโลกมีผลการ
ดาเนินการที่ไม่ค่อยประสบความสาเร็จแต่มีตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จอยู่บ้าง การท่องเที่ยวโดยชุมชน
ประสบความสาเร็จในการสร้างงานและสร้างรายได้ระดับหมู่บ้านแต่การลดความยากจนที่มีอยู่กว้างขวางทาได้
ยากหากใช้วิธีการลดความยากจนเป็นรายหมู่บ้าน
จากรายงานของสถาบันการพัฒนาระหว่างประเทศได้ทบทวนโครงการการท่องเที่ยวโดย
ชุมชนจานวน 218 โครงการในภูมิภาคอาฟริกาเมื่อปี พ.ศ.2551-2552 สรุปว่าจากตัวชี้วัดด้านความยั่งยืน 190
โครงการดาเนินการไม่บรรลุเปูาหมายและล้มเหลวภายในระยะเวลา 3 ปี อย่างไรก็ตามก็มีประโยชน์บ้างที่
เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงด้านการศึกษาพื้นฐานและในบางครั้งเกี่ยวกับสุขอนามัย แต่ส่วนใหญ่แล้วศักยภาพใน
การสร้างรายได้และผลประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อมยังมีน้อย และการขาดทักษะด้านธุรกิจเป็นปัจจัยที่พบได้บ่อย
ในโครงการที่ประสบความล้มเหลว ปัญหาที่คล้ายคลึงกันที่จาแนกโดย Mitchell และ Ashley (2552) ใน
รายงานการประเมินผลและบทเรียนการฝึกปฏิบัติโดยการสารวจอย่างครอบคลุมของหลายร้อยวิสาหกิจการ
ท่องเที่ยวโดยชุมชนสรุปว่าผลิตภัณฑ์ที่ไม่ยั่งยืนในเชิงพาณิชย์เนื่องจากไม่เชื่อมโยงกับภาคธุรกิจ ตลาดและการ
หมุนเวียนของนักท่องเที่ยว การพึ่งพาชุมชนสหกรณ์ในการจัดการธุรกิจแทนที่จะเป็นแนวทางการเป็น
ผู้ประกอบการ ความต้องการวัตถุดิบระยะยาวและราคาแพงเพื่อผลิตสินค้าทาให้กระทบต่อกาไรที่ได้รับจาก
การผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ความยุ่งยากในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวและการเชื่อมต่อการขนส่งที่ไม่มี
ประสิทธิภาพ การขาดการเข้าถึงตลาด การโฆษณาและการสื่อสาร ปัญหาอื่นๆ เช่น ในหลายกรณีต้นทุนของ
การจัดตั้งโครงการการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อลดความยากจนแม้ว่าประสบความสาเร็จแต่เมื่อขยายผล
โครงการปรากฏว่ากลับมีผลในทางตรงกันข้าม
หลายหน่วยงานกาลังทาการประเมินผลแนวทางการท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจนคู่กับ
“แนวความคิดใหม่” เพื่อเชื่อมโยงชุมชนเข้ากับการท่องเที่ยวกระแสหลักเพราะจะช่วยสร้างโอกาสมากขึ้นแก่
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 8
กลุ่มคนยากจนมากกว่าโครงการการท่องเที่ยวโดยชุมชนขนาดเล็ก ทาให้เปูาหมายของการท่องเที่ยวโดยชุมชน
และเปลี่ยนแปลงระดับและข้อกาหนดในการมีส่วนร่วมระหว่างการท่องเที่ยวและคนยากจนไปในแนวทางใช้
ความต้องการของตลาดเป็นตัวนาความต้องการการท่องเที่ยวให้มากขึ้นโดยมีความร่วมมือที่หลากหลายแทน
การเน้นความเป็นเจ้าของของชุมชน หลายองค์กรได้พัฒนาแนวทางโดยพิจารณาทั้งห่วงโซ่อุปทานการ
ท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มการเข้าถึงตลาดของคนยากจนให้มีจานวนมากขึ้นแทนที่การดาเนินการเพียงแค่ 1 ชุมชน
หลายหน่วยงานผู้บริจาคจึงสรุปว่าหากจะให้มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในวงกว้างมีความจาเป็นต้องใช้
ประโยชน์จากการไหลเวียนของนักท่องเที่ยวซึ่งการประหยัดต่อขนาดสร้างโอกาสให้คนยากจนได้มีส่วนร่วม
มากขึ้น ซึ่งสามารถบรรลุได้ด้วย “การทาให้เป็นกระแสหลัก”โดยการเชื่อมชุมชนที่ยากจนเข้ากับการไหลเวียน
ของการท่องเที่ยวที่กว้างและมีผลตอบแทนสูง การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่คุณค่าเป็นเครื่องมือใน
การจาแนกโอกาสเพื่อให้ชุมชนได้ประโยชน์จากการไหลเวียนของการท่องเที่ยวในปัจจุบัน การทาให้เป็น
กระแสหลักสามารถดาเนินการได้ 2 รูปแบบคือ
(1) การไหลเวียนการท่องเที่ยวจานวนมาก โดยผลประโยชน์จะได้รับผ่านปริมาณ
จานวนมากและมีขนาดใหญ่ และ
(2) การตั้งกลุ่มเปูาหมายนักท่องเที่ยวรายได้สูงและเป็นระดับบนโดยผลตอบแทนที่
สูงทาให้มีศักยภาพในการขยายโอกาสสาหรับการลดความยากจนแม้ว่าถ้ามีจานวนไม่มากนัก
ดังนั้นหมู่บ้านใดมีโอกาสเชื่อมโยงกับการไหลเวียนการท่องเที่ยวจานวนมากที่มีอยู่ในปัจจุบันจะ
ทาให้มีโอกาสเป็นการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ประสบความสาเร็วมากกว่าแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในภูมิภาคที่โดด
เดี่ยวและห่างไกล
2) การท่องเที่ยวโดยชุมชนและรูปแบบความร่วมมือของภาคีการพัฒนา ประกอบด้วย
5 รูปแบบคือ
(1) การได้รับประโยชน์ 3 ทาง (Triple bottom line) บริษัทที่ร่วมทุนกับชุมชน
ในสถานการณ์ซึ่งผลประกอบการและกาไรได้รับการปรับปรุงโดยการบูรณาการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ
กิจกรรมสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนเข้าสู่การดาเนินการธุรกิจตามปกติประจาวัน โดยการสร้างความสมดุล
ระหว่างเศรษฐกิจและธุรกิจรวมทั้งดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและนับถือคุณค่าทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน
เพื่อบรรลุความยั่งยืน
(2) แนวทางความร่วมมือ 3 ฝ่าย โดยการผสมผสานภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน
เพื่อบรรลุเปูาหมายร่วมกัน โดยรัฐบาลสนับสนุนด้านนโยบาย การเงินและโครงสร้างพื้นฐานขั้นพื้นฐาน เช่น
ถนนเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ภาคเอกชนสนับสนุนความรู้ทางวิชาการ ความสามารถด้านธุรกิจและการตลาด
และชุมชนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติการประจาวัน
(3) ชุมชนดาเนินการไปพร้อมกับภาคอาสาสมัคร (Third Sector) ได้แก่ องค์กร
พัฒนาเอกชนระหว่างประเทศให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยชุมชนเป็นเจ้าของ
ธุรกิจ
(4) ความร่วมมือแบบ 4 ทางระหว่างชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาค
อาสาสมัครซึ่งเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนระหว่างประเทศ ส่วนใหญ่เป็นการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวในอุทยาน
แห่งชาติ (a) ภาครัฐอนุญาตให้เข้าถึงอุทยานแห่งชาติและจัดหาโครงสร้างพื้นฐานขั้นพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟูา
ประปาและศูนย์ข้อมูลข่าวสาร (b) ภาคเอกชนเป็นผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวและตัวแทนการท่องเที่ยว
เพื่อนานักท่องเที่ยวเข้าไปยังแหล่งท่องเที่ยว (c) ชุมชนจัดหาบริการต่างๆ เช่น โฮมสเตย์ มัคคุเทศก์ ร้านขาย
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 9
ของที่ระลึก ร้านจาหน่ายเครื่องดื่ม เป็นต้น และ (d) องค์กรพัฒนาเอกชนระหว่างประเทศทางานกับทุกภาค
ส่วนเพื่ออนุรักษ์และปกปูองสิ่งแวดล้อม
(5) การทาให้เป็นกระแสหลัก บริษัทดาเนินการในแหล่งท่องเที่ยวหลักบูรณาการ
ชุมชนท้องถิ่นเข้าสู่การดาเนินธุรกิจของตนเองโดยตรงโดยมีการกาหนดเปูาหมายและการดาเนินการเชิงรุกเพื่อ
การลดความยากจนโดยการอบรมพวกเขาให้ทางานในโรงแรมที่มีชื่อเสียงหรือเชื่อมโยงอุปทานของอาหารโดย
ผ่านการเกษตรชุมชนเข้าสู่เส้นทางอุปทานสาหรับโรงแรมและร้านอาหาร เป็นต้น
3) ชุมชนได้รับประโยชน์ผ่านการท่องเที่ยว (CBtT-Communities Benefiting
through Tourism) เมื่อใช้การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของการท่องเที่ยวในฐานะเป็นระบบทาให้ขอบเขตของ
การดาเนินการเพื่อลดความยากจนขยายตัวมากขึ้น ปัญหาที่สาคัญอย่างหนึ่งของความพยายามในอดีตในการ
ใช้การท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจนคือแม้ว่าหมู่บ้านมีทรัพยากรที่สามารถเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ เช่น น้าตก
ปุาที่ยังสมบูรณ์ สัตว์ปุาหรือสภาพทางกายภาพทางธรรมชาติที่สวยงามเหมาะสมสาหรับเป็นโฮมสเตย์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ขนาดเล็ก การแสดงทางวัฒนธรรม การผลิตสินค้าหัตถกรรมและการนาเที่ยว ซึ่ง
ชุมชนขาดการพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวและถูกละเลย การเชื่อมโยงผ่านห่วงโซ่อุปทานไม่ได้รับ
ความสนใจและไม่มีความพยายามในการจาแนกทรัพยากรที่ไม่เป็นแหล่งท่องเที่ยวซึ่งสามารถใช้ประโยชน์โดย
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเพื่อประโยชน์ของชุมชนที่เกี่ยวข้อง แต่ในความเป็นจริงมีความเป็นไปได้ทางอ้อม
มากมายที่ซ่อนอยู่ภายในห่วงโซ่อุปทานและระบบการท่องเที่ยวโดยรวม เช่น ปุาเสื่อมโทรมจากการ
ทาหินแกรนิตภายใต้ที่ดินที่ชุมชนเป็นเจ้าของสามารถตัดและแปลงสภาพเป็นปูผิวทางที่ขัดเงาสาหรับรีสอร์ท
โรงแรมและการปรับภูมิทัศน์โดยใช้เทคโนโลยีราคาถูกที่เหมาะสมหากการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าบ่งชี้ว่าแหล่ง
ทรัพยากรนี้สามารถแข่งขันได้ทั้งในแง่ราคาและคุณภาพกับแหล่งทางเลือกของหินปูทางเดินที่มีอยู่ก่อน ใน
กรณีนี้ชุมชนน่าจะไม่เคยเห็นนักท่องเที่ยวแต่การเข้าไปสู่เศรษฐกิจการเงินผ่านการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว
เนื่องจากได้จัดหาวัสดุ (อิฐบล็อกและปูผิวทาง) สาหรับเป็นโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว อีกตัวอย่าง
หนึ่งคือการที่ชุมชนชาวเขาในประเทศไทยปลูกกล้วยไม้ให้กับสายการบินไทย โรงแรม รีสอร์ทและร้านอาหาร
ซึ่งชุมชนน่าจะไม่เคยเห็นนักท่องเที่ยวแต่รายได้ที่เป็นเงินสดได้รับจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวทาให้เกิดการ
บูรณาการเข้ากับระบบการท่องเที่ยวโดยธุรกิจที่เกิดขึ้นภายในชุมชนซึ่งมีคนในท้องถิ่นเป็นเจ้าของ
การสร้างการเข้าถึงตลาดสาหรับคนยากจนจาเป็นต้องอาศัยภาคเอกชน ผู้ปฏิบัติงานและ
คนยากจนรวมทั้งรัฐบาลเพื่อทางานร่วมกันเกี่ยวกับการทาให้เป็นกระแสหลัก (Mainstreaming) โดยมีแน
ทางการสร้างความร่วมมือของแต่ละภาคส่วนดังนี้
(1) ภาครัฐ มีบทบาทหลักคือ
 การจัดหาโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น เช่น ถนนเพื่อเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว
ไฟฟูาและประปา เป็นต้น
 ปกปูองผลประโยชน์ของชุมชน
 ปกปูองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ
 ทาให้มีกฏหมายและกฏระเบียบที่เอื้อต่อการท่องเที่ยว เช่น หากจัดตั้ง
อุทยานแห่งชาติแห่งใหม่หรือการจัดโซนนิ่งเพื่ออนุญาตให้มีกิจกรรมหรือสิ่งอานวยความสะดวกใหม่ๆ การออก
ใบอนุญาตและการจัดเก็บภาษี เป็นต้น
(2) ภาคเอกชน มีบทบาทหลักคือ
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 10
 รองรับความเสี่ยงและจัดหาเงินลงทุนเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวหรือการ
ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ที่เกินขีดความสามารถของชุมชน
 ใช้ความรู้ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับการไหลเวียน
การท่องเที่ยวในปัจจุบันหรือการสร้างการไหลเวียนขนาดใหญ่ขึ้นมาใหม่ (การทาให้เป็นกระแสหลัก)
 รับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลเพื่อให้มั่นใจได้ว่าชุมชนได้รับ
ผลประโยชน์จากการพัฒนาผ่านการแบ่งปันกาไร การสร้างงานและผลประโยชน์ด้านสวัสดิการ เช่น คลินิก
ระบบประปาหมู่บ้านและสิ่งอานวยความสะดวกในชุมชน เป็นต้น
 รับผิดชอบการตลาดและการส่งเสริมความร่วมมือทางธุรกิจและทาให้มั่นใจ
ได้ว่ามีการไหลเวียนของนักท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยวใหม่ดังกล่าว
 ดาเนินการตามข้อกาหนดตามกฏหมาย เช่น มาตรฐานความปลอดภัย การ
จดทะเบียนและการชาระภาษี เป็นต้น
(3) ชุมชน มีบทบาทหลักคือ
 ดูแลรักษาคุณภาพของภูมิทัศน์ อนุรักษ์และปกปูองวัฒนธรรมของตนเอง
และสิ่งแวดล้อมโดยเป็นการผสมผสานของความสนใจของตนเอง ผู้ดูแลแบบดั้งเดิมและสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจ
ใหม่ผ่านกิจกรรมธุรกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 มีสิทธิในการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภายในพื้นที่แหล่ง
ท่องเที่ยวที่กาหนด
 มีความเต็มใจในบทบาทของเจ้าบ้านทั้งเชิงรุกและเชิงรับในการนาเสนอ
แง่มุมของวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมของตนเองและแลกเปลี่ยนกับนักท่องเที่ยวจากภายนอก
 ดังนั้นการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยเปิดประตูสู่โอกาส
เพื่อความสาเร็จของการท่องเที่ยวโดยชุมชนและชุมชนได้รับประโยชน์ผ่านการท่องเที่ยว
2.2.2 หัวข้อการบรรยาย “การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยวเพื่อการลดความยากจน”
มีสาระสาคัญคือห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยวหมายถึงลาดับของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวที่ครอบคลุม
ทุกองค์ประกอบและสิ่งที่ปูอนเข้าของการเดินทางของนักท่องเที่ยวจากเริ่มต้นถึงสิ้นสุด เช่น เริ่มจาก
1) การจัดหาสื่อด้านการตลาด การโฆษณาและการส่งเสริมการขายเพื่อเข้าถึง
นักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ
2) การจัดหาบริการการท่องเที่ยวและการสารอง เช่น บัตรโดยสารเครื่องบิน จนถึงการ
เดินทางถึงปลายทาง
3) การจัดหาศุลกากร ตรวจคนเข้าเมืองและสิ่งอานวยความสะดวกด้านการแลกเปลี่ยน
เงินตรา เป็นต้น
4) การจัดหาเมื่อถึงปลายทาง เช่น ที่พัก (มีบทบาทสาคัญต่อประสบการณ์ของ
นักท่องเที่ยว) อาหาร ทัวร์และการท่องเที่ยวรอบๆพื้นที่ปลายทาง
5) แหล่งท่องเที่ยวที่ปลายทาง ได้แก่ (1) แหล่งท่องเที่ยวและสิ่งอานวยความสะดวก เช่น
แหล่งท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติ วัฒนธรรมและมรดก งาน พิพิทธภัณฑ์ สวนสนุก บริษัทให้เช่ารถยนต์
จักรยานและเรือแคนู เป็นต้น (2) กิจกรรม เช่น เส้นทางเดินปุา บันจี้จัมพ์ การดาน้าสกูบ้า (3) ของที่ระลึกและ
ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 11
การช็อปปิ้ง เป็นต้น และ (4) ประสบการณ์สนับสนุนอื่นๆ เช่น สปา การนวด ความบันเทิง เป็นต้น และ
สุดท้าย
6) การจัดหาบริการเพื่อการเดินทางกลับบ้าน
ความเชื่อมโยงของห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยวโดยมีจุด (Node) และบทบาท (Function)
 จุดของห่วงโซ่คุณค่าประกอบด้วย ที่พัก อาหารและเครื่องดื่ม การทัศนศึกษา การท่องเที่ยวและการขนส่ง
หัตถกรรรมและของที่ระลึก แหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมสันทนาการ
 บทบาท ได้แก่ การจัดหาที่พักให้แก่นักท่องเที่ยว การจัดหาอาหารให้แก่นักท่องเที่ยว การจัดการการขนส่ง
ที่ปลายทาง การจัดหาสินค้าหัตกรรมพื้นเมืองให้แก่นักท่องเที่ยว การจัดหาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
และธรรมชาติและการเสริมและสร้างความพึงพอใจในประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวแต่ละจุดของห่วงโซ่
คุณค่ามีบทบาทเฉพาะที่สร้างประสบการณ์รวมแก่นักท่องเที่ยวและแต่ละจุดมีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับ
จุดอื่นๆ ทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างจุดของห่วงโซ่คุณค่า
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของแต่ละจุด
การวิเคราะห์แต่ละจุดของห่วงโซ่คุณค่ามีผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3 ประเภทคือ
 ผู้ประกอบการ ประกอบด้วยผู้ดาเนินการหรือหน่วยงาน เช่น โรงแรม รถทัวร์ ผู้จัดการของแหล่ง
ท่องเที่ยวประเภทมรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรมและร้านอาหาร เป็นต้น ผู้ประกอบการเหล่านี้เกี่ยวข้องใน
การจัดหาสินค้าและบริการให้นักท่องเที่ยวโดยตรงในฐานะที่เป็นผู้บริโภคแถวหน้า (Front line)
 ซัพพลายเออร์ (บางครั้งเรียกว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มองไม่เห็น) จัดหาสินค้าและบริการให้แก่
ผู้ประกอบการแนวหน้าและไม่ได้ติดต่อโดยตรงกับผู้บริโภคคนสุดท้ายหรือนักท่องเที่ยว ซัพพลายเออร์หนึ่งราย
สามารถทางานข้ามหลายหน่วยของห่วงโซ่คุณค่า
 ผู้สนับสนุน คือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งมีบทบาทในการสนับสนุนทุกหน่วยของห่วงโซ่คุณค่ารวมทั้ง
ผู้ประกอบการและซัพพลายเออร์ เช่น ผ่านบริการทางการเงิน เงินกู้รายย่อย ความความช่วยเหลือทางวิชาการ
(ผ่านกระทรวง) สถาบันการฝึกอบรม สมาชิกสมาคมและสหกรณ์ องค์กรพัฒนาเอกชนช่วยเหลือชุมชน เป็นต้น
ผู้สนับสนุนไม่ได้มีส่วนร่วมในการจัดหาสินค้าและบริการโดยตรงแก่นักท่องเที่ยวแต่ดาเนินการเพื่อให้บรรลุ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ้น ดังนั้นบทบาทในการสนับสนุนเหล่านี้ให้แก่ผู้ประกอบการและซัพพลาย
เออร์เพื่อให้บรรลุกิจกรรมที่เฉพาะเจาะจงของตนเองเพื่อให้มีปรับปรุงผลลัพธ์
ศูนย์การค้าระหว่างประเทศขององค์การสหประชาชาติ (UN International Trade Centre)
กรุงเจนีวาได้พัฒนาแผนงานการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจน (Tourism-led
Poverty Reduction Programme: TPRP) ซึ่งเน้นการพัฒนาโครงการระดับชุมชนโดยการเปลี่ยนแปลงใน
การดาเนินการของห่วงโซ่คุณค่าสามารถสร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่มคนยากจนใน 3 แนวทางคือ
1) สมาชิกใหม่ เพิ่มการเข้าถึงห่วงโซ่คุณค่าโดยการลดอุปสรรค์ในการเข้าถึงห่วงโซ่คุณค่าในปัจจุบัน
การพัฒนาการเชื่อมใหม่ๆเข้ากับห่วงโซ่คุณค่าและการขยายสาขาย่อยของห่วงโซ่หรือขนาดของสาขารวม
2) เพิ่มรายได้ ของคนยากจนที่อยู่ในการท่องเที่ยวในปัจจุบันโดยการเพิ่มผลตอบแทนของกิจกรรมที่
สร้างรายได้ต่าในปัจจบัน (เช่น ติดตั้งเครื่องยนต์สาหรับเรือหาปลา) ช่วยยกระดับกิจกรรมที่สร้างกาไรมากขึ้น
พร้อมกับการจัดหาปัจจัยหรือผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวที่คนยากจนสามารถจัดหาให้ได้และการขยาย
ปริมาณการขายของผลิตภัณฑ์เหล่านี้
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน
การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน

Contenu connexe

Similaire à การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน

ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
Dr.Choen Krainara
 

Similaire à การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน (16)

2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
Presentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai DigestPresentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai Digest
 
BusThai Digest
BusThai DigestBusThai Digest
BusThai Digest
 
2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ
 
Company Profile New
Company Profile NewCompany Profile New
Company Profile New
 
Company Profile
Company ProfileCompany Profile
Company Profile
 
868 file1
868 file1868 file1
868 file1
 
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
 
170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017
170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017
170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017
 
Bustraining Company profile
Bustraining Company profileBustraining Company profile
Bustraining Company profile
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
ท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยัง
ท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยังท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยัง
ท่องเที่ยวไทย พร้อมเข้าสู่ AEC หรือยัง
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 

Plus de Dr.Choen Krainara

Plus de Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

การจัดการการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียนและจีน

  • 1. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 1 รายงานการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, IMT-GT, and GMS- Enhancing People to People Connectivity for Inclusive Growth ระหว่างวันที่ 24 เมษายน ถึง 1 พฤษภาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลิน เมืองกุ้ยหลิน จังหวัดกว่างสี ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีผู้เข้าร่วมฝึกอบรมซึ่งมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวจากประเทศสมาชิกอาเซียนและ สาธารณรัฐประชาชนจีนรวมจานวน 26 คน (ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมจากประเทศไทยมีจานวน 2 คน) สรุปรายงาน การฝึกอบรมได้ดังนี้ 1. พิธีเปิดการฝึกอบรม Miss Zhou Jianglin ผู้ช่วยอธิการบดีของมหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลินกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วม การฝึกอบรมและนาเสนอความก้าวหน้าการดาเนินงานว่ามหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลินก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2528 โดยในช่วงแรกเปิดสอนระดับประกาศนียบัตรต่อมาได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลินเมื่อปี พ.ศ.2557 ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยการท่องเที่ยวเที่ยวแห่งแรกของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและของโลก โดยมหาวิทยาลัยเป็นสมาชิกขององค์การท่องเที่ยวแห่งสหประชาชาติและสมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่าง ประเทศ และได้รับมอบหมายจากกระทรวงการท่องเที่ยวของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนให้เป็นศูนย์ ความร่วมมือการฝึกอบรมด้านการท่องเที่ยวระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและอาเซียน รวมทั้งได้จัดทา หลักสูตรฝึกอบรมจานวน 23 หลักสูตรสาหรับประเทศสมาชิกอาเซียน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยท่องเที่ยวกุ้ยหลิน มีความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวกับมหาวิทยาลัยของไทยได้แก่ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัย แม่ฟูาหลวง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี 2. การดาเนินการฝึกอบรมภายใต้หลักสูตร สรุปได้ดังนี้ 2.1 Professor Dr. Trevor Sofield นาเสนอ 2 หัวข้อการบรรยาย คือ 2.1.1 หัวข้อการบรรยาย “การท่องเที่ยวในฐานะที่เป็นระบบ” ประกอบด้วยโครงสร้างต่างๆ และการทางานของนาฬิกา (Clockwork) ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์หรือความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของ โครงสร้างต่างๆ ระบบการท่องเที่ยวประกอบด้วยความเชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการการท่องเที่ยว (Demand) และปริมาณการให้บริการการท่องเที่ยวซึ่งประกอบด้วย การส่งเสริมการท่องเที่ยว ข้อมูลข่าวสาร การขนส่งและบริการต่างๆ (Gunn, 2515) การท่องเที่ยวเปรียบเสมือนสิ่งมีชีวิตในระบบชีวภาพซึ่ง ประกอบด้วยบรรยากาศ สภาพอากาศ น้าและดิน โดยมีการแลกเปลี่ยนพลังงานทั้งในกระบวนการนาเข้าและ การปล่อยออก หรือระบบการท่องเที่ยวซึ่งประกอบด้วยตลาด การเดินทาง ปลายทางแหล่งท่องเที่ยวและ การตลาด (Mill และ Morrison, 2535) พื้นฐานของระบบการท่องเที่ยวรวม (เป็นแบบจาลองระบบเชิงพื้นที่) ประกอบด้วยภูมิภาคการเดินทาง ภูมิภาคที่สร้างนักท่องเที่ยวและภูมิภาคปลายทางการท่องเที่ยว การ ท่องเที่ยวในฐานะที่เป็นระบบเปรียบเสมือนเส้นก๋วยเตี๋ยวในชามที่มีความเชื่อมโยงกันโดยระบบการท่องเที่ยว ประกอบด้วยธุรกิจที่แตกต่างกันหลายพันธุรกิจ มีกิจกรรมและข้อตกลงทางธุรกิจที่เชื่อมโยงกันในหลาย แนวทาง การท่องเที่ยวในฐานะที่เป็นระบบประกอบด้วย 7 โครงสร้างหากขาดส่วนหนึ่งส่วนใดของกรอบการ ท่องเที่ยวจะทาให้การท่องเที่ยวไม่สามารถดาเนินต่อไปได้ซึ่งประกอบด้วย 1) ภูมิภาคที่สร้างนักท่องเที่ยว (Demand Side) โดยการจัดหมวดหมู่ของตลาดแบ่ง ออกเป็น (1) นักท่องเที่ยวภายในประเทศและนักท่องเที่ยวต่างประเทศ นักท่องเที่ยวภายประเทศคือผู้ที่
  • 2. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 2 เดินทางจากที่พักอาศัยปกติไปยังพื้นที่อื่นๆที่มีระยะทางอย่างน้อย 40 กม. จากที่อยู่อาศัยของตนเองเป็น ระยะเวลาอย่างน้อย 1 คืนแต่ไม่เกิน 12 เดือน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสันทนาการ ส่วนนักท่องเที่ยว ต่างประเทศคือผู้ที่เดินทางไปเยี่ยมเยียนประเทศอื่นนอกเหนือจากประเทศที่ตนเองพักอาศัย เช่น ข้าม พรมแดนระหว่างประเทศในฐานะผู้เยี่ยมเยียนแบบชั่วคราวในระยะเวลาอย่างน้อยที่สุด 24 ชั่วโมงและน้อย กว่า 1 ปี โดยมีเปูาหมายเพื่อความบันเทิงหรือสันทนาการ นักท่องเที่ยวภายในประเทศและนักท่องเที่ยว ต่างประเทศมีตลาดที่แตกต่างกันมากทาให้เกิดความแตกต่างของกาลังซื้อ แนวโน้มความต้องการการเดินทาง แรงบันดาลใจในการเดินทาง ความสนใจและแหล่งท่องเที่ยวปลายทางและความต้องการสิ่งอานวยความ สะดวกด้านการท่องเที่ยวที่แตกต่างกัน (2) ประชากรโดยการวิเคราะห์สามะโนประชากรของประเทศจาก ตลาดของประเทศต่างๆ เช่น อายุ เพศ กาลังการใช้จ่าย ระดับการศึกษา ประเภทการจ้างงานและโครงสร้าง ของครอบครัว (3) ลักษณะเฉพาะของนักท่องเที่ยว ได้แก่ กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เกิดหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวได้ตลอดปี กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เป็นบุตรหลานของกลุ่มนักท่องเที่ยวที่เกิด ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กลุ่มนักท่องเที่ยวที่แบ่งตามประเทศต้นทาง กลุ่มนักท่องเที่ยวที่ย้ายถิ่นฐานจาก ภาคเหนือไปภาคกลางของสหรัฐอเมริกา แรงงานที่สมัครใจเพื่อทางานในไร่เกษตรอินทรีย์ การกีฬาแบบสุดขั้ว การชมการอพยพของห่านหิมะและการท่องเที่ยวทั่วโลกก่อนเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา (4) เปูาหมายหลักของ การเดินทาง ได้แก่ การพักผ่อนวันหยุด ธุรกิจ การศึกษา การแสวงบุญทางศาสนา กีฬา การสัมมนาและการ เยี่ยมเยียนเพื่อนและญาติ 2) ปลายทางการท่องเที่ยว (Supply Side) เป็นแนวหน้าของภาคอุตสาหกรรมโดยมี ธุรกิจที่ดาเนินการโดยตรงกับนักท่องเที่ยว (The Five‘A’s) ประกอบด้วย (1) ที่พัก (Accommodation) ได้แก่ โรงแรม โมเตล รีสอร์ท แบ็คแพ็คโฮสเทล การบริการที่พักและอาหารเช้า ลานจอนรถคาราวาน เต็นท์ที่พัก เป็นต้น (2) สิ่งอานวยความสะดวก (Amenities) ได้แก่ ร้านอาหาร สิ่งอานวยความสะดวกด้าน การกีฬา โรงภาพยนตร์และคาสิโน เป็นต้น (3) แหล่งท่องเที่ยว ได้แก่ ธรรมชาติ วัฒนธรรม เมือง ภูมิทัศน์ สวนสนุก พิพิธภัณฑ์ งานและเทศกาลและห้างสรรพสินค้า เป็นต้น (4) การเข้าถึง (Access) ได้แก่ บริเวณ โดยรอบแหล่งท่องเที่ยว สานักงานด้านการท่องเที่ยว การขนส่ง เช่น สายการบิน รถโดยสาร ผู้ให้บริการด้าน การท่องเที่ยว รถไฟ เรือสาราญ รถแท็กซี่และรถเช่า เป็นต้น และ (5) กิจกรรม (Activities) ได้แก่ ผู้ให้บริการ ด้านการท่องเที่ยว บริษัทให้บริการสนามสกี เรือยอร์ชให้เช่า ดูวิถีชีวิตสัตว์ปุา รถจักรยานให้เช่า บริษัท ให้บริการเรือคายัคผจญภัย ตั้งแคมป์ บริษัทไต่เขาหิมาลัยและการช้อปปิ้ง เป็นต้น 3) ภูมิภาคการขนส่ง รูปแบบการขนส่งหลักจะนาผู้เดินทางผ่านภูมิภาคการขนส่งไปยัง ปลายทางการท่องเที่ยว ระบบการขนส่งคือการผสมผสานกันของการใช้ประโยชน์ที่ดินและความสัมพันธ์ ระหว่างรูปแบบการขนส่ง (ส่วนใหญ่เป็นถนน อากาศ รถไฟและทะเล) เช่น สนามบินสุวรรณภูมิสนับสนุนโดย โครงสร้างพื้นฐานเฉพาะด้านการขนส่งและสิ่งอานวยความสะดวก เช่น สนามบิน สถานีรถไฟ เครือข่ายถนน ท่าเรือ สถานีเติมน้ามัน วิศวกรรมและสิ่งอานวยความสะดวกในการซ่อมบารุง เป็นต้น 4) อุตสาหกรรมสนับสนุนและภาคบริการต่างๆ มีความเชื่อมโยงย้อนกลับและส่งต่อจาก ธุรกิจที่จัดหาสินค้าและบริการไปให้ผู้ดาเนินการแนวหน้าทั้งในภาคที่สร้างนักท่องเที่ยวและปลายทางแหล่ง ท่องเที่ยวได้แก่ สถาปนิก นักบัญชี สนามบิน หน่วยงานโฆษณา การให้บริการเครื่องดื่ม เบียร์ ธนาคาร หน่วยงานบัตรเครดิต ผู้ให้บริการขนส่ง สารเคมีทาความสะอาด ระบบการระบายน้า มัณฑนากร วิศวกร ช่าง ไฟฟูา ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ร้านดอกไม้ เฟอร์นิเจอร์ ผ้า เครื่องมือเอ็กซเรย์ความปลอดภัยและผู้สร้างเรือ ยอร์ช เป็นต้น
  • 3. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 3 5) สิ่งแวดล้อมชีวภาพและกายภาพ (อากาศ น้าและดิน) ได้แก่ ผลกระทบของการ ท่องเที่ยวต่อพืชและสัตว์ ที่อยู่อาศัย ภูมิทัศน์ธรรมชาติ ความเป็นปุา พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม (และการ จัดการ) มรดกโลก อุทยานแห่งชาติ พื้นที่ปุาไม้ของรัฐ สวนในเมือง สวนพฤกษศาสตร์ พิพิธภัณฑ์สัตว์น้าและ สวนสัตว์ เป็นต้น สาหรับประเภทการท่องเที่ยว ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และการท่องเที่ยวที่ใช้ ธรรมชาติเป็นฐาน การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย การท่องเที่ยวสัตว์ปุา การท่องเที่ยวซาฟารี การท่องเที่ยวดูนก การดูปลาวาฬ การสารวจถ้า ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเป็นประเด็นท้าทายในปัจจุบัน 6) ชุมชน การท่องเที่ยวสามารถจัดหาสิ่งจูงใจและเงินทุนสาหรับจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ตามแนวทางที่ยั่งยืน โดยนักท่องเที่ยวให้คุณค่าและเต็มใจ จ่ายเงินเพื่อเข้าไปท่องเที่ยวช่วยจูงใจชุมชนให้มีการจัดการอย่างยั่งยืนซึ่งเป็นประโยชน์ต่อประชาชนในท้องถิ่น ในอนาคต ชุมชนท่องเที่ยวประกอบด้วยประชาชนในท้องถิ่น ผู้เสียภาษี ครอบครัว บุคคล องค์กรชุมชนและ ชนกลุ่มน้อย การพัฒนาการท่องเที่ยวต้องการโครงสร้างพื้นฐานของชุมชน ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม บทบาทของ ความรู้ดั้งเดิม การอบรมและการอบรมฝีมือ การท่องเที่ยวโดยชุมชนควรเน้นบทบาทขององค์การพัฒนาเอกชน และการสร้างเครือข่ายและตระหนักถึงผลกระทบด้านสังคมและวัฒนธรรม 7) รัฐบาล เป็นสาขาผู้ประสานงานที่เชื่อมโยงทุกภารกิจที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกันโดยมี บทบาทที่สาคัญได้แก่ ด้านการควบคุมกฎหมาย เช่น การออกใบอนุญาต การจดทะเบียนธุรกิจ การเก็บภาษี รหัสอาคาร กฎระเบียบด้านความปลอดภัย เป็นต้น ด้านกฎหมายและการรักษาความสงบ เช่น การรักษา ความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว ตารวจ ศุลกากร ตรวจคนเข้าเมืองและยุทธศาสตร์การต่อต้านการก่อการร้าย เป็นต้น ด้านการจัดทานโยบายด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว การขนส่ง การต่างประเทศ การพัฒนาภาค การ กีฬาและสันทนาการและโทรคมนาคม เป็นต้น ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน ทางรถไฟ สนามบิน น้า ไฟฟูา ท่าเรือ ระบบการสื่อสาร เป็นต้น ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น กฏหมาย อุทยานแห่งชาติ เขตสงวนชีวมณฑล แหล่ง มรดกโลก เป็นต้น ด้านกฏหมายระหว่างประเทศ เช่น วีซ่า การค้า บริการขนส่งทางอากาศทวิภาคี กฏหมาย สนธิสัญญาการต่อต้านการก่อการร้ายและสุขภาพและความปลอดภัยในที่ทางาน เป็นต้น และความร่วมมือกับ ภาคเอกชน เช่น ทางด่วน เป็นต้น 2.1.2 หัวข้อการบรรยาย “รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน” การชมทิวทัศน์การทานาขั้นบันไดลองจีประกอบด้วยพื้นที่ภูเขา 72 ตร.กม. ครอบคลุมจานวน 4 หมู่บ้านของชนกลุ่มน้อยเผ่าสวงและเย้า เมื่อประมาณ 800 ปีที่ผ่านมาชนกลุ่มน้อยเหล่านี้ ได้ก่อสร้างนาขั้นบันไดมากกว่า 800,000 แห่งบนภูเขาที่สูงชัน นาขั้นบันไดในปัจจุบันเป็นทางแคบและไม่ สามารถเลี้ยงสัตว์ แต่ละชุมชนมีประสบการณ์การพัฒนาที่แตกต่างกัน โดย 2 หมู่บ้านจาก 4 หมู่บ้านประสบ ความสาเร็จในการแก้ไขปัญหาความยากจน (แก้ปัญหาความยากจนได้อย่างสิ้นเชิงและประชาชนมีอายุยืนยาว ขึ้น 12-16 ปี ทาให้สะท้อนให้เห็นถึงความยั่งยืนและการปรับตัว) หมู่บ้านที่ 1 ชื่อหมู่บ้านผิงอันเป็นผลจากการ วางแผนจากบนลงล่าง หมู่บ้านที่ 2 ชื่อหมู่บ้านหวงลู่บรรลุผลสาเร็จผ่านกิจกรรมรากหญ้า หมู่บ้านที่ 3 ชื่อ หมู่บ้านต้าไห่ซึ่งดาเนินการตาม 2 หมู่บ้านข้างต้นปัจจุบันประสบปัญหาเศรษฐกิจการท่องเที่ยวถดถอย เนื่องจากการตัดสินใจจากบนลงล่างซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจแบบครอบครัวอย่างรุนแรงแต่อย่างไรก็ตามก็มี แนวโน้มว่าจะฟื้นตัว และหมู่บ้านที่ 4 ชื่อหมู่บ้านสวง ให้น้าหนักกับการตัดสินใจของชุมชนซึ่งไม่ยอมรับการ แทรกแซงจากรัฐบาลจากบนลงล่างในช่วง 13 ปีที่ผ่านมาและตัดสินใจยอมรับการพัฒนาการท่องเที่ยวในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ทาให้มีลักษณะการพัฒนาที่แตกต่างโดยเน้นวัฒนธรรมและมรดกที่สร้างขึ้นมา ในช่วง 18 ปีที่ ผ่านมาทั้ง 4 ชุมชนเป็นชุมชนบนภูเขาที่ห่างไกลและเป็นเกษตรกรชาวชนบทที่ยากจนที่สุดในประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน มีรายได้ต่อหัวประมาณ 30-70 เหรียญสหรัฐ/ปี โดยไม่มีถนนทางหลวงในพื้นที่มี
  • 4. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 4 เพียงแต่ถนนที่ไม่ลาดยางแคบๆ รัฐบาลมณฑลกว่างสีตัดสินใจเปิดพื้นที่ดังกล่าวเพื่อการท่องเที่ยว ในปี พ.ศ.2540-2541 มีการก่อสร้างถนนทางหลวง 2 ช่องจราจร ระยะทาง 10 กม.จากเมืองกุ้ยหลินไปยังตีน ภูเขาของนาขั้นบันไดและเชิญให้ภาคเอกชนพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ ต่อมาเมื่อปลายทางนี้ได้รับการพัฒนา รัฐบาลจึงได้ก่อสร้างสายส่งไฟฟูาเพื่อให้บริการในพื้นที่การท่องเที่ยวที่เพิ่งเติบโต การพัฒนาการท่องเที่ยว เมื่อปี พ.ศ.2541 บริษัท ท่องเที่ยวกุ้ยหลินลองจี จากัด ได้ก่อสร้างศูนย์ต้อนรับ/การขนส่ง/และจอดรถ ขนาดใหญ่ที่ประตูทางเข้าของแหล่งท่องเที่ยวและสร้างถนนระยะทาง 30 กม.จากถนนทางหลวงไปยังภูเขา จนถึงยอดเขาใกล้ๆกับตอนกลางของหมู่บ้านผิงอัน ในปี พ.ศ.2547 ได้มีการขยายถนนระยะทาง 15 กม.จนถึง ต้าไห่ซึ่งเป็นจุดสูงสุดของภูเขา และเมื่อปี พ.ศ.2553 บริษัทได้เปิดถนนแห่งใหม่ถึงหมู่บ้านโบราณสวง บริษัท เก็บค่าผ่านทางรายบุคคล 100 หยวน/คน และเป็นคณะ 95 หยวน/คน นักท่องเที่ยวต้องเปลี่ยนถ่ายจากรถบัส ท่องเที่ยวหรือรถส่วนบุคคลไปยังรถบัสขนาดเล็กที่ประตูทางเข้าโดยเก็บค่ารถบัสขนส่งขึ้นไปบนภูเขาคนละ 40 หยวน บริษัทได้ก่อสร้างที่จอดรถ ห้องน้าและประตูทางเข้าและทาทางขึ้นไปบนภูเขาระยะทาง 15 กม. นอกจากนี้ยังทาสะพานโบราณและสะพานเดินเท้า บริษัทได้ลงทุนรวมมากกว่า 22 ล้านเหรียญสหรัฐรวมทั้ง ก่อสร้างโรงชมการแสดงทางวัฒนธรรมจานวน 200 ที่นั่ง ที่หมู่บ้านหวงลู่ และในปี พ.ศ.2557 สร้างโรงชมการ แสดงทางวัฒนธรรมแห่งที่ 2 ที่หมูบ้านสวง กาหนดให้คนท้องถิ่นเท่านั้นที่สามารถประกอบการวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวและมีการกาหนดไว้เป็นกฏหมาย การพัฒนาการท่องเที่ยวระยะที่ 1:หมู่บ้านท่องเที่ยวผิงอัน เป็นตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จของรูปแบบการท่องเที่ยวของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่ง ประกอบด้วยความร่วมมือ 3 ฝุายระหว่าง: 1) รัฐบาลจัดหาโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น (ถนนทางหลวงและไฟฟูา) 2) ภาคเอกชนลงทุนหลายล้านดอลลาร์ซึ่งสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาท่องเที่ยวจานวนมาก 3) การกระจายผลประโยชน์ของกาไรจากการขายตั๋วจากบริษัทเอกชนให้ชุมชน 4) ธุรกิจของครอบครัวขนาดจิ๋วและขนาดเล็กในท้องถิ่นได้รับการปกปูองจากฏระเบียบของรัฐ ที่ปูองกันไม่ให้นักธุรกิจจากภายนอกเข้าไปประกอบธุรกิจหรือครอบงาทางธุรกิจในขอบเขตพื้นที่ ของแหล่งท่องเที่ยว 5) การผสมผสานของการลงทุนขนาดใหญ่ที่พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวซึ่งสร้างการไหลเวียนของ นักท่องเที่ยวจานวนมากทาหน้าที่เป็นตัวบ่มเพาะธุรกิจครอบครัวทาให้ชุมชนได้รับผลประโยชน์ ผ่านการท่องเที่ยวและผลประโยชน์ของการท่องเที่ยวโดยชุมชน เช่น โฮมสเตย์ เป็นต้น ชุมชนสามารถลดปัญหาความยากจนได้อย่างชัดเจน หมู่บ้านท่องเที่ยวผิงอันบรรลุความยั่งยืนโดย การสร้างการไหลเวียนของนักท่องเที่ยวโดยผ่านหน่วยงานภายนอกซึ่งธุรกิจครอบครัวขนาดจิ๋วและขนาดเล็ก สามารถเชื่อมโยงโดย “การทาให้เป็นกระแสหลัก” รวมทั้งการแบ่งปันรายได้จากบริษัทที่จัดการโดยผ่านการ ดาเนินการที่เรียกว่า “เศรษฐกิจบัตรเข้าชม (Ticket Economy)” ซึ่งผสมผสานทั้งสองแนวทางร่วมกันได้ ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม การบรรลุการเพิ่มความสามารถของชุมชนไม่ใช่ ผ่านการเป็นเจ้าของของธุรกิจหากแต่บรรลุระดับของรายได้ที่ทาให้เขามีอิสรภาพและศักยภาพในการสร้าง ทางเลือกอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
  • 5. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 5 การพัฒนาการท่องเที่ยวระยะที่ 2 (จากล่างขึ้นบนและไม่มีการวางแผน): หมู่บ้านหวงลู่ โดยมีการแสดง ทางวัฒนธรรมของผู้หญิงผมยาวเผ่าเย้า หมู่บ้านหวงลู่ตั้งอยู่บนหุบเขาบนถนนแคบๆไปยังหมู่บ้านผิงอันและอยู่ภายนอกขอบเขตของแหล่ง ท่องเที่ยวพื้นที่นาขั้นบันไดลองจี โดยชุมชนหวงลู่พบว่าชีวิตประจาวันของพวกเขาถูกรบกวนจากการจราจร ของนักท่องเที่ยวที่ไม่เคยหยุด เมื่อจานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นตามมาด้วยการขยายตัวแบบทวีคูณของ การจราจรทางรถยนต์ทาให้เกิดการหลั่งไหลเข้ามาของนักท่องเที่ยวสู่ชุมชนและมีการจราจรตลอดทั้งวันในช่วง สัปดาห์วันหยุดต่อเนื่อง ทาให้เกิดการแข่งขันระหว่างหมู่บ้านและมองเห็นว่านักท่องเที่ยวจานวนมากเดินทาง ไปท่องเที่ยวยังหมู่บ้านผิงอัน ในความพยายามเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากการจราจรผู้หญิงจากชุมชนหวงลู่ ตัดสินใจก่อตั้งการแสดงทางวัฒนธรรมบนพื้นฐานของลักษณะเฉพาะตัวของตนเองที่มองเห็นผมของตนเองยาว เกือบ 2 เมตรในระยะเวลาอันสั้น โดยตลอดชีวิตแต่ละคนจะตัดผมเพียง 3 ครั้งและมีการแต่งทรงผมตาม สถานภาพการสมรสออกเป็น 3 แบบคือ ยังไม่แต่งงาน แต่งงานแล้ว และเป็นยาย/เป็นม่าย ผู้หญิงชนเผ่าเย้า ของหวงลู่ตระหนักถึงความสนใจของนักท่องเที่ยวต่อผมยาวของพวกเขาซึ่งได้มีการใช้ประโยชน์โดยการถ่ายรูป ด้วยแล้วเรียกเก็บเงินที่ประตูขายตั๋วบริเวณทางเข้าแหล่งท่องเที่ยวและการถ่ายรูปกับนักท่องเที่ยวในบริเวณ รอบๆ นาขั้นบันไดผิงอัน กลุ่มผู้หญิงจึงได้ก่อตั้งสหกรณ์เพื่อจัดการแสดง ในช่วงแรกการแสดงทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้หญิงใช้เวทีในหมู่บ้านแบบดั้งเดิมและดึงดูดคนให้มาชมได้ น้อยและรถทัวร์ของนักท่องเที่ยวขับผ่านโดยไม่แวะชมทาให้ชุมชนผิดหวังมาก ต่อมาชุมชนได้เจรจาต่อรองกับ บริษัททัวร์เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การแสดงและขอให้รถทัวร์หยุดจอดในหมู่บ้านและบริษัทปฏิเสธข้อเสนอ นี้อยู่หลายปี ท้ายที่สุดชุมชนได้แสดงพลังโดยชาวบ้านได้ปิดถนนแคบๆที่ผ่านหมู่บ้านทาให้การจราจรหยุดชะงัก หลังจากนั้นบริษัทเอกชนยินดีก่อสร้างโรงแสดงในชุมชนโดยมีสะพานแขวนข้ามแม่น้าเป็นเส้นทางสัญจรและ ส่งเสริมให้การแสดงเป็นส่วนสาคัญของการเยี่ยมชมนาขั้นบันได โดยบริษัทใช้เงินลงทุนจานวน 3 ล้านหยวน และได้เจรจาแบ่งปันผลประโยชน์กับกลุ่มสหกรณ์ผู้หญิง ณ ปี พ.ศ.2558 มีผู้เข้าชมประมาณ 100,000 คน/ปี โดยการแสดงทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้หญิงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เพิ่มเติมขึ้นซึ่งไม่ได้เป็นแหล่งท่องเที่ยวหลัก ของการไปเยี่ยมเยือนหมู่บ้านลองจีตั้งแต่เริ่มต้นโดยบริษัทเอกชนเป็นผู้ลงทุนทั้งหมดทาให้การประสบ ความสาเร็จขึ้นอยู่กับการประสบความสาเร็จของบริษัทการท่องเที่ยว หลังจากมีจานวนนักท่องเที่ยวเข้ามา เยี่ยมเยือนจานวนมากหลายๆครอบครัวได้จัดตั้งร้านขายของที่ระลึกและเครื่องดื่ม และมี 1 ครอบครัวเปิดร้าน ขายแชมพูแบบดั้งเดิมเพื่อจาหน่ายให้แก่กลุ่มผู้หญิงซึ่งสระผมทุกเช้าและประสบความสาเร็จในแง่รายได้ และ บุตรหลานของคนในท้องถิ่นที่ไปรับการศึกษาภายนอกย้ายกลับมาทางานในหมู่บ้านบนภูเขาเนื่องจากมีรายได้ ที่มั่นคงซึ่งแสดงให้เห็นถึงความยืดหยุ่นทางธุรกิจและสังคมและวัฒนธรรมที่เข้มแข็งของชุมชน หมู่บ้านหวงลู่ และการแสดงทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้หญิงเป็นตัวอย่างที่ยอดเยี่ยมของประโยชน์จาก “การทาให้เป็นกระแส หลัก”โดยการเชื่อมโยงกับการหมุนเวียนของนักท่องเที่ยวที่มีอยู่โดยการริเริ่มดาเนินการโดยชุมชน การพัฒนาการท่องเที่ยวระยะที่ 3: หมู่บ้านต้าไห่ การพัฒนาระยะที่ 3 ของแหล่งท่องเที่ยวนาขั้นบันไดเริ่มในปี พ.ศ.2546 โดยการขยายถนนถึงช่วง สุดท้ายของภูเขาที่หมู่บ้านต้าไห่ บริษัทรถบัส (บริษัทท่องเที่ยวกุ้ยหลินลองจี จากัด) ผูกขาดการการขนส่งแต่ เนื่องจากระยะทางไกลเป็น 2 เท่าและหมู่บ้านผิงอันเริ่มมีชื่อเสียง หมู่บ้านต้าไห่จึงได้รับจานวนนักท่องเที่ยว ประมาณ 1 ใน 3 ของนักท่องเที่ยวที่หมู่บ้านผิงอัน อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ.2555 มีการก่อตั้งธุรกิจที่ประสบ ความสาเร็จ 55 ครอบครัวในต้าไห่ และมีการก่อตั้งบริษัทกระเช้าไฟฟูาขนส่งจากบริเวณที่จอดรถไปยังตอน บนสุดของนาขั้นบันไดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวมายังต้าไห่และเพิ่มสัดส่วนของการไหลเวียน
  • 6. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 6 ของนักท่องเที่ยว รถกระเช้าไฟฟูาเปิดใช้เมื่อปี พ.ศ.2556 ยกเว้นรถกระเช้าไฟฟูา การประกอบธุรกิจอนุญาต ให้ดาเนินการได้เฉพาะชาวบ้านในหมู่บ้านต้าไห่เท่านั้น รถกระเช้าไฟฟูาทาให้จานวนนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชม หมู่บ้านต้าไห่ขยายตัวเป็น 2 เท่า แต่ส่งผลกระทบกับชุมชนทาให้นักท่องเที่ยวที่เดินขึ้นยอดเขาลดลงเหลือน้อย กว่าร้อยละ 15 และส่วนใหญ่ซื้อตั๋วขึ้นและลงและเพื่อไปชมทิวทัศน์บนยอดเขา ทาให้การขยายตัวของชุมชน ลองจีไม่สามารถช่วยลดความยากจนของชุมชนต้าไห่และชุมชนมีความขัดแย้งกับบริษัทรถกระเช้าไฟฟูาและ การตั้งฐานตอม่อของรถกระเช้าไฟฟูาทาให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนได้รับค่าชดเชยเล็กน้อย จากการใช้ที่ดินเพื่อสร้างตอม่อ และบริษัทรถกระเช้าไฟฟูามักจะจากัดการพัฒนาชุมชนในหมู่บ้านต้าไห่ ครัวเรือนในชุมชนต้าไห่ยังคงได้รับค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาและโครงสร้างพื้นฐานจากบริษัท ท่องเที่ยวกุ้ย หลินลองจี จากัด และในอนาคตมีแนวโน้มธุรกิจแบบครอบครัวจะขยายตัวหากการพัฒนาพื้นที่หมู่บ้านผิงอัน และหางลู่ถึงจุดอิ่มตัว หมู่บ้านโบราณสวง ความสาเร็จของหมู่บ้านผิงอันและหางลู่ในการลดความยากจนและผลกระทบจากการเป็นตัวอย่างของ การดาเนินงานอย่างไรให้ประสบความสาเร็จ จึงมีการขยายธุรกิจแบบครอบครัวขนาดจิ๋วและขนาดกลางอย่าง ยั่งยืนไปยังหมู่บ้านโบราณสวง ในตอนแรกผู้อาวุโสในชุมชนมีความกังวลถึงผลกระทบทางลบของการท่องเที่ยว ต่อประเพณีและวิถีชีวิตของตนเองและได้ตัดสินใจปฏิเสธที่จะให้บริษัทการท่องเที่ยวก่อสร้างถนนเข้ามายัง หมู่บ้านและนาขั้นบันไดของตนเองและปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าวเป็นระยะเวลา 12 ปี ชุมชน สวงมีความภูมิใจในรากเง้าของวัฒนธรรมของตนเองและเป็นพื้นฐานของชุมชนลองจีเนื่องจากมีอายุยาวนานถึง 800 ปี โดยได้รวบรวมสิ่งของ เครื่องมือ เครื่องแกะสลักและสิ่งของทางศาสนาและจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ในปี พ.ศ.2543 มีบ้าน 3 หลังในหมู่บ้านที่มีอายุมากกว่า 125 ปี มีการออกแบบดั้งเดิม ก่อสร้างด้วยไม้สัก ไม่มี การใช้ตะปูหรือวัตถุสมัยใหม่เขาจึงตัดสินใจอนุรักษ์ไว้ เมื่อการท่องเที่ยวมีการพัฒนามากขึ้นในพื้นที่อื่นๆของ ลองจีในช่วงระยะเวลา 10 ปี ผู้คนวัยผู้ใหญ่จานวนมากออกจากหมู่บ้านเพื่อไปทางานยังพื้นที่อื่นๆ ทุกๆวัน ในช่วงหลายปีคนวัยผู้ใหญ่จานวน 40 คนเดินข้ามภูเขาไปยังหมู่บ้านผิงอันเพื่อทางานในธุรกิจการท่องเที่ยวที่ ชุมชนเป็นเจ้าของ ผู้ใหญ่บางส่วนออกจากบ้านเพื่อไปทางานในโรงงานที่เมืองกุ้ยหลิน เมื่อประมาณ 5 ปีที่ผ่าน มาเมื่อชุมชนเปลี่ยนใจและตัดสินใจเปิดรับการท่องเที่ยวและมีการก่อสร้างถนนจากภูเขาไปยังประตูทางเข้า ระยะทาง 1 กม.ก่อนถึงหมู่บ้านเมื่อปี พ.ศ.2554 ประชากร หมู่บ้านโบราณสวงมีอายุ 800 ปี และมีจานวน 68 ครัวเรือนที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวหลัก ชุมชน ประกอบด้วย 3 กลุ่มพื้นที่ของ 3 ชนเผ่าคือ เผ่าเลี่ยว เผ่าหูและเผ่าพาน นอกจากนี้มีจานวน 8 ครัวเรือนที่ตั้ง อยู่รอบๆทางเข้าไปยังนาขั้นบันไดถึงจุดสิ้นสุดของถนนโดยมีการก่อสร้างโรงแรมขนาดเล็ก 4 โรงแรมและ ร้านอาหาร ชุมชนที่เปลี่ยนผ่าน:จากแบบดั้งเดิมสู่ความทันสมัย ระหว่างปี พ.ศ.2557-2558 หมู่บ้านอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านเนื่องจากมีการก่อสร้างร้านขายของที่ระลึก ร้านอาหารและโฮมสเตย์เพื่อตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว ตึกใหม่ๆถูกสร้างด้วยคอนกรีตเสริม เหล็กแทนที่จะใช้ไม้แต่การออกแบบภายนอกยังรักษาแบบดั้งเดิมและเมื่อสร้างเสร็จแล้วก็ยังคลุมด้วยไม้เพื่อ พยายามรักษาภาพลักษณ์ของความแท้และดั้งเดิม เพื่อเปลี่ยนผ่านชุมชนไปสู่การท่องเที่ยวชุมชน สวงตัดสินใจขับเคลื่อนมรดกทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของตนเองเพื่อทาเป็นจุดขายที่แตกต่างจาก ชุมชนลองจีโดยการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ บ้านเก่าทาด้วยไม้สักจานวน 9 หลัง และการแสดงทางวัฒนธรรมของ
  • 7. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 7 เกษตรกรประกอบขึ้นเป็นรากฐานของภาพลักษณ์ที่โดดเด่นและใช้ประวัติศาสตร์สวงโบราณและมรดกในการ ทาการตลาดการท่องเที่ยว การริเริ่มของชุมชนในการใช้วัสดุเชิงวัฒนธรรมดึงดูดความสนใจจากองค์กร พิพิธภัณฑ์กว่างสีในกุ้ยหลินและสานักงานวัตถุโบราณแห่งชาติกรุงปักกิ่งได้ร่วมลงทุนจานวน 4 ล้านหยวนเพื่อ จัดตั้งพิพิธภัณฑ์เชิงนิเวศน์สวงที่มีการออกแบบอาคารใหม่แบบดั้งเดิมเมื่อปี พ.ศ.2552-2553 และการฟื้นฟู บ้านโบราณทั้ง 9 หลัง แต่ถนนในชุมชนที่สร้างเพื่อการเดินกาลังเผชิญกับปัญหาทรุดโทรมลงเนื่องจากการใช้ รถยนต์เพื่อสัญจรจานวนมากและความสับสนวุ่นวายจากการสัญจรของนักท่องเที่ยว 2.2 Dr.Sarah Li นาเสนอจานวน 2 หัวข้อการบรรยายคือ 2.2.1 หัวข้อการบรรยาย “ชุมชนและการท่องเที่ยว:ความร่วมมือเพื่อการลดความยากจน และการทาให้เป็นกระแสหลัก” มีสาระสาคัญคือ 1) การท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Pro Poor Tourism (PPT) and Community-Based Tourism (CBT) ในช่วง 25 ปีที่ผ่านมาการพัฒนาการ ท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อลดความยากจนถูกใช้เป็นเครื่องมือในการลดความยากจนโดยหลายหน่วยงาน เช่น องค์การท่องเที่ยวของสหประชาชาติภายใต้แผนงานการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในฐานะที่เป็นเครื่องมือสาหรับ การลดความยากจนและสถาบันพัฒนาระหว่างประเทศของอังกฤษซึ่งได้ริเริ่มแผนงานการท่องเที่ยวเพื่อลด ความยากจนเมื่อ 15 ปีที่ผ่านมา ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย ธนาคารโลก ประชาคมยุโรปและสถาบัน อื่นๆอีกหลายแห่งได้สนับสนุนโครงการการท่องเที่ยวโดยชุมชนจานวนหลายโครงการในหลายประเทศ เมื่อปี พ.ศ.2542 กรมการพัฒนาระหว่างประเทศของอังกฤษได้พัฒนาแนวคิดการท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจน: ศักยภาพที่ไม่ได้ใช้ หลังจากนั้นก็มีการประยุกต์ใช้กันอย่างแพร่หลาย การท่องเที่ยวโดยชุมชนทั่วโลกมีผลการ ดาเนินการที่ไม่ค่อยประสบความสาเร็จแต่มีตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จอยู่บ้าง การท่องเที่ยวโดยชุมชน ประสบความสาเร็จในการสร้างงานและสร้างรายได้ระดับหมู่บ้านแต่การลดความยากจนที่มีอยู่กว้างขวางทาได้ ยากหากใช้วิธีการลดความยากจนเป็นรายหมู่บ้าน จากรายงานของสถาบันการพัฒนาระหว่างประเทศได้ทบทวนโครงการการท่องเที่ยวโดย ชุมชนจานวน 218 โครงการในภูมิภาคอาฟริกาเมื่อปี พ.ศ.2551-2552 สรุปว่าจากตัวชี้วัดด้านความยั่งยืน 190 โครงการดาเนินการไม่บรรลุเปูาหมายและล้มเหลวภายในระยะเวลา 3 ปี อย่างไรก็ตามก็มีประโยชน์บ้างที่ เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงด้านการศึกษาพื้นฐานและในบางครั้งเกี่ยวกับสุขอนามัย แต่ส่วนใหญ่แล้วศักยภาพใน การสร้างรายได้และผลประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อมยังมีน้อย และการขาดทักษะด้านธุรกิจเป็นปัจจัยที่พบได้บ่อย ในโครงการที่ประสบความล้มเหลว ปัญหาที่คล้ายคลึงกันที่จาแนกโดย Mitchell และ Ashley (2552) ใน รายงานการประเมินผลและบทเรียนการฝึกปฏิบัติโดยการสารวจอย่างครอบคลุมของหลายร้อยวิสาหกิจการ ท่องเที่ยวโดยชุมชนสรุปว่าผลิตภัณฑ์ที่ไม่ยั่งยืนในเชิงพาณิชย์เนื่องจากไม่เชื่อมโยงกับภาคธุรกิจ ตลาดและการ หมุนเวียนของนักท่องเที่ยว การพึ่งพาชุมชนสหกรณ์ในการจัดการธุรกิจแทนที่จะเป็นแนวทางการเป็น ผู้ประกอบการ ความต้องการวัตถุดิบระยะยาวและราคาแพงเพื่อผลิตสินค้าทาให้กระทบต่อกาไรที่ได้รับจาก การผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ความยุ่งยากในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวและการเชื่อมต่อการขนส่งที่ไม่มี ประสิทธิภาพ การขาดการเข้าถึงตลาด การโฆษณาและการสื่อสาร ปัญหาอื่นๆ เช่น ในหลายกรณีต้นทุนของ การจัดตั้งโครงการการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อลดความยากจนแม้ว่าประสบความสาเร็จแต่เมื่อขยายผล โครงการปรากฏว่ากลับมีผลในทางตรงกันข้าม หลายหน่วยงานกาลังทาการประเมินผลแนวทางการท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจนคู่กับ “แนวความคิดใหม่” เพื่อเชื่อมโยงชุมชนเข้ากับการท่องเที่ยวกระแสหลักเพราะจะช่วยสร้างโอกาสมากขึ้นแก่
  • 8. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 8 กลุ่มคนยากจนมากกว่าโครงการการท่องเที่ยวโดยชุมชนขนาดเล็ก ทาให้เปูาหมายของการท่องเที่ยวโดยชุมชน และเปลี่ยนแปลงระดับและข้อกาหนดในการมีส่วนร่วมระหว่างการท่องเที่ยวและคนยากจนไปในแนวทางใช้ ความต้องการของตลาดเป็นตัวนาความต้องการการท่องเที่ยวให้มากขึ้นโดยมีความร่วมมือที่หลากหลายแทน การเน้นความเป็นเจ้าของของชุมชน หลายองค์กรได้พัฒนาแนวทางโดยพิจารณาทั้งห่วงโซ่อุปทานการ ท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มการเข้าถึงตลาดของคนยากจนให้มีจานวนมากขึ้นแทนที่การดาเนินการเพียงแค่ 1 ชุมชน หลายหน่วยงานผู้บริจาคจึงสรุปว่าหากจะให้มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในวงกว้างมีความจาเป็นต้องใช้ ประโยชน์จากการไหลเวียนของนักท่องเที่ยวซึ่งการประหยัดต่อขนาดสร้างโอกาสให้คนยากจนได้มีส่วนร่วม มากขึ้น ซึ่งสามารถบรรลุได้ด้วย “การทาให้เป็นกระแสหลัก”โดยการเชื่อมชุมชนที่ยากจนเข้ากับการไหลเวียน ของการท่องเที่ยวที่กว้างและมีผลตอบแทนสูง การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและห่วงโซ่คุณค่าเป็นเครื่องมือใน การจาแนกโอกาสเพื่อให้ชุมชนได้ประโยชน์จากการไหลเวียนของการท่องเที่ยวในปัจจุบัน การทาให้เป็น กระแสหลักสามารถดาเนินการได้ 2 รูปแบบคือ (1) การไหลเวียนการท่องเที่ยวจานวนมาก โดยผลประโยชน์จะได้รับผ่านปริมาณ จานวนมากและมีขนาดใหญ่ และ (2) การตั้งกลุ่มเปูาหมายนักท่องเที่ยวรายได้สูงและเป็นระดับบนโดยผลตอบแทนที่ สูงทาให้มีศักยภาพในการขยายโอกาสสาหรับการลดความยากจนแม้ว่าถ้ามีจานวนไม่มากนัก ดังนั้นหมู่บ้านใดมีโอกาสเชื่อมโยงกับการไหลเวียนการท่องเที่ยวจานวนมากที่มีอยู่ในปัจจุบันจะ ทาให้มีโอกาสเป็นการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ประสบความสาเร็วมากกว่าแหล่งท่องเที่ยวที่อยู่ในภูมิภาคที่โดด เดี่ยวและห่างไกล 2) การท่องเที่ยวโดยชุมชนและรูปแบบความร่วมมือของภาคีการพัฒนา ประกอบด้วย 5 รูปแบบคือ (1) การได้รับประโยชน์ 3 ทาง (Triple bottom line) บริษัทที่ร่วมทุนกับชุมชน ในสถานการณ์ซึ่งผลประกอบการและกาไรได้รับการปรับปรุงโดยการบูรณาการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ กิจกรรมสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนเข้าสู่การดาเนินการธุรกิจตามปกติประจาวัน โดยการสร้างความสมดุล ระหว่างเศรษฐกิจและธุรกิจรวมทั้งดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและนับถือคุณค่าทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน เพื่อบรรลุความยั่งยืน (2) แนวทางความร่วมมือ 3 ฝ่าย โดยการผสมผสานภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน เพื่อบรรลุเปูาหมายร่วมกัน โดยรัฐบาลสนับสนุนด้านนโยบาย การเงินและโครงสร้างพื้นฐานขั้นพื้นฐาน เช่น ถนนเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ภาคเอกชนสนับสนุนความรู้ทางวิชาการ ความสามารถด้านธุรกิจและการตลาด และชุมชนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการปฏิบัติการประจาวัน (3) ชุมชนดาเนินการไปพร้อมกับภาคอาสาสมัคร (Third Sector) ได้แก่ องค์กร พัฒนาเอกชนระหว่างประเทศให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยชุมชนเป็นเจ้าของ ธุรกิจ (4) ความร่วมมือแบบ 4 ทางระหว่างชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาค อาสาสมัครซึ่งเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนระหว่างประเทศ ส่วนใหญ่เป็นการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวในอุทยาน แห่งชาติ (a) ภาครัฐอนุญาตให้เข้าถึงอุทยานแห่งชาติและจัดหาโครงสร้างพื้นฐานขั้นพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟูา ประปาและศูนย์ข้อมูลข่าวสาร (b) ภาคเอกชนเป็นผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวและตัวแทนการท่องเที่ยว เพื่อนานักท่องเที่ยวเข้าไปยังแหล่งท่องเที่ยว (c) ชุมชนจัดหาบริการต่างๆ เช่น โฮมสเตย์ มัคคุเทศก์ ร้านขาย
  • 9. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 9 ของที่ระลึก ร้านจาหน่ายเครื่องดื่ม เป็นต้น และ (d) องค์กรพัฒนาเอกชนระหว่างประเทศทางานกับทุกภาค ส่วนเพื่ออนุรักษ์และปกปูองสิ่งแวดล้อม (5) การทาให้เป็นกระแสหลัก บริษัทดาเนินการในแหล่งท่องเที่ยวหลักบูรณาการ ชุมชนท้องถิ่นเข้าสู่การดาเนินธุรกิจของตนเองโดยตรงโดยมีการกาหนดเปูาหมายและการดาเนินการเชิงรุกเพื่อ การลดความยากจนโดยการอบรมพวกเขาให้ทางานในโรงแรมที่มีชื่อเสียงหรือเชื่อมโยงอุปทานของอาหารโดย ผ่านการเกษตรชุมชนเข้าสู่เส้นทางอุปทานสาหรับโรงแรมและร้านอาหาร เป็นต้น 3) ชุมชนได้รับประโยชน์ผ่านการท่องเที่ยว (CBtT-Communities Benefiting through Tourism) เมื่อใช้การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของการท่องเที่ยวในฐานะเป็นระบบทาให้ขอบเขตของ การดาเนินการเพื่อลดความยากจนขยายตัวมากขึ้น ปัญหาที่สาคัญอย่างหนึ่งของความพยายามในอดีตในการ ใช้การท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจนคือแม้ว่าหมู่บ้านมีทรัพยากรที่สามารถเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ เช่น น้าตก ปุาที่ยังสมบูรณ์ สัตว์ปุาหรือสภาพทางกายภาพทางธรรมชาติที่สวยงามเหมาะสมสาหรับเป็นโฮมสเตย์ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ขนาดเล็ก การแสดงทางวัฒนธรรม การผลิตสินค้าหัตถกรรมและการนาเที่ยว ซึ่ง ชุมชนขาดการพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวและถูกละเลย การเชื่อมโยงผ่านห่วงโซ่อุปทานไม่ได้รับ ความสนใจและไม่มีความพยายามในการจาแนกทรัพยากรที่ไม่เป็นแหล่งท่องเที่ยวซึ่งสามารถใช้ประโยชน์โดย อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเพื่อประโยชน์ของชุมชนที่เกี่ยวข้อง แต่ในความเป็นจริงมีความเป็นไปได้ทางอ้อม มากมายที่ซ่อนอยู่ภายในห่วงโซ่อุปทานและระบบการท่องเที่ยวโดยรวม เช่น ปุาเสื่อมโทรมจากการ ทาหินแกรนิตภายใต้ที่ดินที่ชุมชนเป็นเจ้าของสามารถตัดและแปลงสภาพเป็นปูผิวทางที่ขัดเงาสาหรับรีสอร์ท โรงแรมและการปรับภูมิทัศน์โดยใช้เทคโนโลยีราคาถูกที่เหมาะสมหากการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าบ่งชี้ว่าแหล่ง ทรัพยากรนี้สามารถแข่งขันได้ทั้งในแง่ราคาและคุณภาพกับแหล่งทางเลือกของหินปูทางเดินที่มีอยู่ก่อน ใน กรณีนี้ชุมชนน่าจะไม่เคยเห็นนักท่องเที่ยวแต่การเข้าไปสู่เศรษฐกิจการเงินผ่านการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว เนื่องจากได้จัดหาวัสดุ (อิฐบล็อกและปูผิวทาง) สาหรับเป็นโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว อีกตัวอย่าง หนึ่งคือการที่ชุมชนชาวเขาในประเทศไทยปลูกกล้วยไม้ให้กับสายการบินไทย โรงแรม รีสอร์ทและร้านอาหาร ซึ่งชุมชนน่าจะไม่เคยเห็นนักท่องเที่ยวแต่รายได้ที่เป็นเงินสดได้รับจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวทาให้เกิดการ บูรณาการเข้ากับระบบการท่องเที่ยวโดยธุรกิจที่เกิดขึ้นภายในชุมชนซึ่งมีคนในท้องถิ่นเป็นเจ้าของ การสร้างการเข้าถึงตลาดสาหรับคนยากจนจาเป็นต้องอาศัยภาคเอกชน ผู้ปฏิบัติงานและ คนยากจนรวมทั้งรัฐบาลเพื่อทางานร่วมกันเกี่ยวกับการทาให้เป็นกระแสหลัก (Mainstreaming) โดยมีแน ทางการสร้างความร่วมมือของแต่ละภาคส่วนดังนี้ (1) ภาครัฐ มีบทบาทหลักคือ  การจัดหาโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น เช่น ถนนเพื่อเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ไฟฟูาและประปา เป็นต้น  ปกปูองผลประโยชน์ของชุมชน  ปกปูองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ  ทาให้มีกฏหมายและกฏระเบียบที่เอื้อต่อการท่องเที่ยว เช่น หากจัดตั้ง อุทยานแห่งชาติแห่งใหม่หรือการจัดโซนนิ่งเพื่ออนุญาตให้มีกิจกรรมหรือสิ่งอานวยความสะดวกใหม่ๆ การออก ใบอนุญาตและการจัดเก็บภาษี เป็นต้น (2) ภาคเอกชน มีบทบาทหลักคือ
  • 10. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 10  รองรับความเสี่ยงและจัดหาเงินลงทุนเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวหรือการ ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ที่เกินขีดความสามารถของชุมชน  ใช้ความรู้ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับการไหลเวียน การท่องเที่ยวในปัจจุบันหรือการสร้างการไหลเวียนขนาดใหญ่ขึ้นมาใหม่ (การทาให้เป็นกระแสหลัก)  รับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลเพื่อให้มั่นใจได้ว่าชุมชนได้รับ ผลประโยชน์จากการพัฒนาผ่านการแบ่งปันกาไร การสร้างงานและผลประโยชน์ด้านสวัสดิการ เช่น คลินิก ระบบประปาหมู่บ้านและสิ่งอานวยความสะดวกในชุมชน เป็นต้น  รับผิดชอบการตลาดและการส่งเสริมความร่วมมือทางธุรกิจและทาให้มั่นใจ ได้ว่ามีการไหลเวียนของนักท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยวใหม่ดังกล่าว  ดาเนินการตามข้อกาหนดตามกฏหมาย เช่น มาตรฐานความปลอดภัย การ จดทะเบียนและการชาระภาษี เป็นต้น (3) ชุมชน มีบทบาทหลักคือ  ดูแลรักษาคุณภาพของภูมิทัศน์ อนุรักษ์และปกปูองวัฒนธรรมของตนเอง และสิ่งแวดล้อมโดยเป็นการผสมผสานของความสนใจของตนเอง ผู้ดูแลแบบดั้งเดิมและสิ่งจูงใจทางเศรษฐกิจ ใหม่ผ่านกิจกรรมธุรกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชน  มีสิทธิในการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภายในพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยวที่กาหนด  มีความเต็มใจในบทบาทของเจ้าบ้านทั้งเชิงรุกและเชิงรับในการนาเสนอ แง่มุมของวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมของตนเองและแลกเปลี่ยนกับนักท่องเที่ยวจากภายนอก  ดังนั้นการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยเปิดประตูสู่โอกาส เพื่อความสาเร็จของการท่องเที่ยวโดยชุมชนและชุมชนได้รับประโยชน์ผ่านการท่องเที่ยว 2.2.2 หัวข้อการบรรยาย “การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยวเพื่อการลดความยากจน” มีสาระสาคัญคือห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยวหมายถึงลาดับของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวที่ครอบคลุม ทุกองค์ประกอบและสิ่งที่ปูอนเข้าของการเดินทางของนักท่องเที่ยวจากเริ่มต้นถึงสิ้นสุด เช่น เริ่มจาก 1) การจัดหาสื่อด้านการตลาด การโฆษณาและการส่งเสริมการขายเพื่อเข้าถึง นักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ 2) การจัดหาบริการการท่องเที่ยวและการสารอง เช่น บัตรโดยสารเครื่องบิน จนถึงการ เดินทางถึงปลายทาง 3) การจัดหาศุลกากร ตรวจคนเข้าเมืองและสิ่งอานวยความสะดวกด้านการแลกเปลี่ยน เงินตรา เป็นต้น 4) การจัดหาเมื่อถึงปลายทาง เช่น ที่พัก (มีบทบาทสาคัญต่อประสบการณ์ของ นักท่องเที่ยว) อาหาร ทัวร์และการท่องเที่ยวรอบๆพื้นที่ปลายทาง 5) แหล่งท่องเที่ยวที่ปลายทาง ได้แก่ (1) แหล่งท่องเที่ยวและสิ่งอานวยความสะดวก เช่น แหล่งท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติ วัฒนธรรมและมรดก งาน พิพิทธภัณฑ์ สวนสนุก บริษัทให้เช่ารถยนต์ จักรยานและเรือแคนู เป็นต้น (2) กิจกรรม เช่น เส้นทางเดินปุา บันจี้จัมพ์ การดาน้าสกูบ้า (3) ของที่ระลึกและ
  • 11. ดร.เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Email: Choen@nesdb.go.th Page 11 การช็อปปิ้ง เป็นต้น และ (4) ประสบการณ์สนับสนุนอื่นๆ เช่น สปา การนวด ความบันเทิง เป็นต้น และ สุดท้าย 6) การจัดหาบริการเพื่อการเดินทางกลับบ้าน ความเชื่อมโยงของห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยวโดยมีจุด (Node) และบทบาท (Function)  จุดของห่วงโซ่คุณค่าประกอบด้วย ที่พัก อาหารและเครื่องดื่ม การทัศนศึกษา การท่องเที่ยวและการขนส่ง หัตถกรรรมและของที่ระลึก แหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมสันทนาการ  บทบาท ได้แก่ การจัดหาที่พักให้แก่นักท่องเที่ยว การจัดหาอาหารให้แก่นักท่องเที่ยว การจัดการการขนส่ง ที่ปลายทาง การจัดหาสินค้าหัตกรรมพื้นเมืองให้แก่นักท่องเที่ยว การจัดหาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และธรรมชาติและการเสริมและสร้างความพึงพอใจในประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวแต่ละจุดของห่วงโซ่ คุณค่ามีบทบาทเฉพาะที่สร้างประสบการณ์รวมแก่นักท่องเที่ยวและแต่ละจุดมีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับ จุดอื่นๆ ทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างจุดของห่วงโซ่คุณค่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของแต่ละจุด การวิเคราะห์แต่ละจุดของห่วงโซ่คุณค่ามีผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3 ประเภทคือ  ผู้ประกอบการ ประกอบด้วยผู้ดาเนินการหรือหน่วยงาน เช่น โรงแรม รถทัวร์ ผู้จัดการของแหล่ง ท่องเที่ยวประเภทมรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรมและร้านอาหาร เป็นต้น ผู้ประกอบการเหล่านี้เกี่ยวข้องใน การจัดหาสินค้าและบริการให้นักท่องเที่ยวโดยตรงในฐานะที่เป็นผู้บริโภคแถวหน้า (Front line)  ซัพพลายเออร์ (บางครั้งเรียกว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มองไม่เห็น) จัดหาสินค้าและบริการให้แก่ ผู้ประกอบการแนวหน้าและไม่ได้ติดต่อโดยตรงกับผู้บริโภคคนสุดท้ายหรือนักท่องเที่ยว ซัพพลายเออร์หนึ่งราย สามารถทางานข้ามหลายหน่วยของห่วงโซ่คุณค่า  ผู้สนับสนุน คือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งมีบทบาทในการสนับสนุนทุกหน่วยของห่วงโซ่คุณค่ารวมทั้ง ผู้ประกอบการและซัพพลายเออร์ เช่น ผ่านบริการทางการเงิน เงินกู้รายย่อย ความความช่วยเหลือทางวิชาการ (ผ่านกระทรวง) สถาบันการฝึกอบรม สมาชิกสมาคมและสหกรณ์ องค์กรพัฒนาเอกชนช่วยเหลือชุมชน เป็นต้น ผู้สนับสนุนไม่ได้มีส่วนร่วมในการจัดหาสินค้าและบริการโดยตรงแก่นักท่องเที่ยวแต่ดาเนินการเพื่อให้บรรลุ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ้น ดังนั้นบทบาทในการสนับสนุนเหล่านี้ให้แก่ผู้ประกอบการและซัพพลาย เออร์เพื่อให้บรรลุกิจกรรมที่เฉพาะเจาะจงของตนเองเพื่อให้มีปรับปรุงผลลัพธ์ ศูนย์การค้าระหว่างประเทศขององค์การสหประชาชาติ (UN International Trade Centre) กรุงเจนีวาได้พัฒนาแผนงานการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าการท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจน (Tourism-led Poverty Reduction Programme: TPRP) ซึ่งเน้นการพัฒนาโครงการระดับชุมชนโดยการเปลี่ยนแปลงใน การดาเนินการของห่วงโซ่คุณค่าสามารถสร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่มคนยากจนใน 3 แนวทางคือ 1) สมาชิกใหม่ เพิ่มการเข้าถึงห่วงโซ่คุณค่าโดยการลดอุปสรรค์ในการเข้าถึงห่วงโซ่คุณค่าในปัจจุบัน การพัฒนาการเชื่อมใหม่ๆเข้ากับห่วงโซ่คุณค่าและการขยายสาขาย่อยของห่วงโซ่หรือขนาดของสาขารวม 2) เพิ่มรายได้ ของคนยากจนที่อยู่ในการท่องเที่ยวในปัจจุบันโดยการเพิ่มผลตอบแทนของกิจกรรมที่ สร้างรายได้ต่าในปัจจบัน (เช่น ติดตั้งเครื่องยนต์สาหรับเรือหาปลา) ช่วยยกระดับกิจกรรมที่สร้างกาไรมากขึ้น พร้อมกับการจัดหาปัจจัยหรือผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวที่คนยากจนสามารถจัดหาให้ได้และการขยาย ปริมาณการขายของผลิตภัณฑ์เหล่านี้