SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  55
บทที่ 2
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่อง Kingdom for knowledge
อาณาจักรน่ารู้ นี้ ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาข้อมูลต่างๆ จากหนังสือชีวะระยะประชิด
ในเรื่องอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต โดยมีเนื้อหาดังนี้
2.1 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
2.1.1 อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)
2.1.2 อาณาจักรโปรติสตา (Kingdom Protista)
2.1.3 อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi)
2.1.4 อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
2.1.5 อาณาจักรสัตว์(Kingdom Animalia)
2.2 การตัดต่อวิดีโอด้วยโปรแกรม Ulead VideoStudio 11
2.3 การทาเว็บไซต์โดยผ่าน Google Site
2.4 การทาแบบทดสอบโดนผ่าน Google Docs
2.1 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายทางชีวภาพ
1. หลักเกณฑ์สาคัญในระบบการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตอาศัย สายวิวัฒนาการ (phylogeny)
2. อนุกรมวิธาน (Taxonomy) คือ กฎเกณฑ์การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
3. การจาแนก (Classification) สิ่งมีชีวิตโดยการจัดหมวดหมู่ใหญ่แล้วแบ่งเป็นหมวดหมู่ย่อย
Kingdom → Phylum → Class → Order → Family → Genus→ Species
4. ไดโคโตมัสคีย์(Dichotomous Key) คือ เครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ในการระบุชนิดหรือกลุ่มของ
สิ่งมีชีวิต โดยระดับความแตกต่างจะเริ่มน้อยลงเมื่อจัดเป็นกลุ่มย่อยมากขึ้น
5. บิดาแห่งอนุกรมวิธาน คือ คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus)
6. ความหลากหลายทางชีวภาพมีองค์ประกอบ 3 อย่าง ได้แก่
- ความหลากหลายของสปีชีส์ สิ่งมีชีวิตมีมากจนนับไม่ได้
- ความหลากหลายพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตมีหลากหลายสายพันธุ์
- ความหลากหลายระบบนิเวศ
แหล่งที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตแตกต่างกันทั้งทางกายภาพและชีวภาพ
7. หลักเกณฑ์การจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต ได้แก่ ลักษณะภายนอกและภายใน การเจริญของตัวอ่อน
กระบวนการทางสรีรวิทยา ซากดึกดาบรรพ์
การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์และความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
8. หลักสาคัญในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตในปัจจุบันนี้ก็คือ สิ่งมีชีวิตจะจัดไว้กลุ่มเดียวกันนั้น
ต้องมีความสัมพันธ์กันทางด้านวิวัฒนาการ
9. การจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตในโลก โดยปัจจุบันแบ่งออกเป็น 3 โดนเมนจัดตามลาดับเบสบน DNA
ได้แก่ อาร์เคียแบคทีเรีย และยูคาริโอต
10. Species หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มีความใกล้ชิดทางบรรพบุรุษ (gene pool)
มีโครงสร้างของอวัยวะและหน้าที่เหมือนกัน มีโครโมโซมเท่ากันสิ่งมีชีวิตที่เป็น Species
เดียวกันควรจะต้อง มีลูกหลานที่ไม่เป็นหมัน
สิ่งมีชีวิตในโลกมนุษย์
2.1.1 อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)
1. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา เรียกว่า แบคทีเรีย แบคทีเรียมีรูปร่างลักษณะเซลล์เดียว มีขนาด
1-5ไมโครเมตร ผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน มีสารพันธุกรรม
แต่ไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรม เรียกว่า นิวคลีออยด์ (Nucleiod) พบไรโบโซมแต่ไม่พบออร์แกเนลล์อื่น
มีรูปร่างทรงกลม (Cocuss) รูปท่อน (Bacillus) และทรงเกลียว (Spirilum)
● พลาสมิด (Plasmid) เป็นดีเอ็นเอที่มีลักษณะเป็นวงแหวนอยู่นอกโครโมโซม
พบในแบคทีเรียหลายชนิดมีขนาดตั้งแต่ 1,000 – 200,000 คู่เบส โดยในแบคทีเรียหนึ่งเซลล์อาจมีพลาสมิด 1
- 300 ชุด
Animalia (สัตว์)
Fungi (เชื้อรา)Plantae (พืช)
Protista
Eukarya
Eubacteria Archaebacteria
2. แบคทีเรียแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ อาร์เคียแบคทีเรียและยูแบคทีเรีย
Proteobacteria
Chlamydias
Euryarchaeota Gram-Negative Spirochetes
Crenarchaeota Gram-Positive Bacillus
Streptococcus
Lactobacillus
Cyanobactaria Anabaena
Nostoc Oscillatoria
Monera Kingdom
Archaebacteria Eubacteria
1.) อาร์เคียแบคทีเรีย (Archaebacteria) เป็นผนังเซลล์ที่ไม่มีเพปทิโดไกลแคน
สามารถดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสาหรับสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น น้าพุร้อน ทะเลเค็มจัด
บริเวณที่เป็นกรดสูง อาร์เคียแบคทีเรียแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
● กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) สร้างมีเทนและชอบความเค็มจัด
● กลุ่มครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota) คาว่า Cren แปลว่า น้าพุร้อน
ชอบที่อุณหภูมิสูงและกรดจัด
2.) ยูแบคทีเรีย (Eubacteria) เป็นแบคทีเรียที่พบในดิน น้า อากาศ อาหาร นมและร่างกายสิ่งมีชีวิต
รวมทั้งมีบทบาทสาคัญต่อระบบนิเวศ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
● แบคทีเรียแกมลบ (Gram - Negative bacteria)
เพปทิโดไกลแคนจะบาง ย้อมติดสีแดงของซาฟรานีน
- กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย ( Proteobacteria) เป็นแบคทีเรียแกรมลบ
บางกลุ่มสามารถสังเคราะห์แสงคล้ายพืช บางกลุ่มสามารถดารงชีวิตโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์
(H2S) บางกลุ่มสามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนในอากาศเป็นประโยชน์ต่อพืช เช่น ไรโซเบียม
(RhiZobium sp.) ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว
- กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias): แบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในสัตว์ทาให้เกิดโรคเพศสัมพันธ์
เช่น หนองใน
- กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes): แกรมลบรูปเกลียว ดารงชีวิตแบบอิสระและปรสิต เช่นโรคฉี่หนู
ซิฟิลิส
● แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive bacteria) เพปติโดไกลแคนจะหนา
ย้อมติดสีม่วงคริสตัลไวโอเลตพบทั่วไปในดิน อากาศ
- Lactobacillus sp: สามารถผลิตกรดแลคติก ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น ทาเนย ผักดอง โยเกิร์ต
- Streptomyces sp: ใช้ทายาปฏิชีวนะ เช่น สเตปโตมัยซิน เตตราไซคลิน
- Bacillus sp: สร้างเอนโดรสปอร์ (Endospore )
ทาให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์ (วัวบ้า)
- Mycoplasma: เป็นแบคทีเรียที่เล็กที่สุด ขนาด 0.1- 600 ไมโครเมตร ไม่มีผนังเซลล์
มีเพียงเยื่อเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมัน สามารถเจริญนอกโฮสต์
เป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคปอดบวม
- Clostridium botulinum: นามาใช้ BOTOX
- Actinomyces: ทาให้เกิดวัณโรคและเรื้อน
● ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobactaria) หรือสาหร่ายสีเขียวแกรมน้าเงิน (Blue – Green algae)
สามารถสังเคราะห์แสงได้โดยอาศัยสารสี เช่น คลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์และไฟโคบิลิน แต่ไม่มีคลอ-
โรพลาสต์
ผนังเซลล์เป็นเซลลูโลสและแพ็คตินเป็นผู้ผลิตที่สาคัญสามารถตรึงแก๊สไนรโตรเจนในอากาศโดยอาศัย
heterocyte เช่น นอสตอก (Nostoc) และออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria) Spirulina
หรือทองสาหร่ายเกลียวทอง มีโปรตีนสูง
● อาณาจักรมอเนอรา กลุ่มนี้หนาแบคทีเรีย
นาโดยพวกอาร์เคีย แบคทีเรียยุคโบราณ
หนึ่งสิ่งที่ใช้แยก แบ่งจาแนกมาเนิ่นนาน
พวกนี้มันทนทาน ผนังไซร้ไร้เพปทิโด
● พวกแกรมเนกกาทีฟ ตัวมันลีบเพราะเพปบาง
ซาฟรารีนมาเจือจาง ป้ายบางๆติดสีแดง
คลาไมเดียเชื้อหนองใน พวกส่วนใหญ่ปรสิต
ฉี่หนูซิฟิลิส สไปโรคีทกลุ่มเดียวกัน
● พวกแกรมโพซิทิฟ ตัวไม่ลีบเพราะเพปหนา
สเตปโซใช้ทายา มัย พลาสม่าพาปอดบวม
บาซิรัสเชื้อวัวบ้า แอนาบีนา นอสตอก
กลอน อาณาจักรมอเนอรา
พวกนี้เขาแยกออก ออสซิลลา ไซยาโน
2.1.2 อาณาจักรโปรติสตา (Kingdom Protista)
1. สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรโปรติสตา เรียกว่า โปรติสต์ เซลล์เป็นแบบยูคาริโอต เหตุที่ตองแยก
โปรติสต์ออกจากสัตว์และลักษณะพืช เนื่องจากอาณาจักรโปรติสต์ ไม่มีระยะเอ็มบริโอ
(ต่างจากพืชและสัตว์)
2. ลักษณะเป็นเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ แต่ยังไม่พัฒนาเป็นเนื้อเยื่อ มีการเคลื่อนที่หลายแบบ ได้แก่
ซีเลีย แฟลเจลลัม ซูโดโพเดียม non motile (มีซีเลียที่เคลื่อนที่ไม่ได้) Plasmodium แหล่งที่พบ
บนบก (ดารงชีวิตทั้งผู้บริโภค) น้า (พึ่งพา) ร่างกายสัตว์(ปรสิต)
3. ดารงชีวิตแบบภาวะพึ่งพากัน (Mutualism) และแบบปรสิต (Parasitism)
4. อาณาจักรโปรติสตา แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ พวกคล้ายสัตว์(โปรโตซัว) คล้ายพืช (สาหร่าย )
คล้ายรา (ราเมือก) แบ่งเป็น 7 กลุ่มหลักๆ
Diplomonadida Euglenozoa Alveolata Stramenopilla Rhodophyata Chlorophyta MycetoZo
Parabasala
1.) ดิโพลโมนาดินา (Diplomonadida) และพาราบาซาลา (Parabasala)
เป็นโปรติสต์ที่ไม่มีออร์แกแนลล์ (ยกเว้นไรโบโซม)
 ดีโพลโมเนด (Diplomonadida) ลักษณะเด่นมี 2 นิวเคลียส มีเเฟลเจลลัมหลายเส้น Mitosome
(คล้ายไมโทคอนเดรียแต่ทางานไม่ได้) เช่น Giardia Lamblia (อยู่ในลาไส้คนและน้าไม่สะอาด)
ยับยั้งการทางานของลาไส้ เป็นสาเหตุทาให้เกิดอาการปวดท้อง
โปรติสตา
 พาราบาซาลิด ( Parabasalids) มีเเฟลเจลลัมเป็นคู่และผิวเยื่อหุ้มเซลล์มีลักษณะเป็นรอยหยัก
คล้ายคลื่น เช่น ไตโคนิมฟา (Trichonympha) พบในลาไส้ปลวกย่อยเซลลูโลส ไตรโคโมแนส
(Trichomonas) ทาให้เกิดการคันในช่องคลอด
2.) ยูกลีโนซัว ( Euglenozoa ) ดารงชีวิตแบบปรสิต ผู้ผลิตและผู้ล่า เคลื่อนที่โดยใช้แฟลเจลลา
ลักษณะเด่นๆกลุ่มนี้คือ ภายในแฟลเจลล่าจะมีโครงสร้าง Crytalline rod แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
Euglenids และ Kinetoplastids
 กลุ่มยูกลีนา Euglena
ยูกลีนา (Euglena) ดารงชีวิตได้ 2 แบบ เรียกว่า mixtroph
คือเมื่ออยู่ในสภาวะมีแสงจะสามารถสังเคราะห์แสงได้โดยอาศัยสารสี
แคโรทีนและโคโรฟิลล์ในการสังเคราะห์แสง มีอายสปอต (Eye Sport) ในการตอบสนองต่อแสง
เมื่ออยู่ในสภาวะที่ไม่มีแสงจะเป็นผู้บริโภค กินเหยื่อด้วยวิธีฟาโกไซโตซีส มีคอลแทร็กไทล์แวคิวโอล
 กลุ่ม Kinetopastids ได้แก่ ทริปพาโนโซม (Trypanosome) เป็นปรสิตที่พบในเลือดสัตว์มี
กระดูกสันหลัง สาเหตุโรคเหงาหลับโดยมีพาหะคือแมลงดูดเลือด
ผู้ป่วยโรคนี้จะทาให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
3.) แอลวีโอลาตา (Alveolata) มีลักษณะเซลล์เดียว ภายในมีถุงแอลวีโอไล (alveoli)
ลักษณะเป็นช่องว่างเล็กๆ ใต้เยื่อหุ้มเซลล์ เชื่อว่าทาหน้าที่รักษาน้าและคงรูปเซลล์ มี 3 กลุ่ม
 ไดโนแฟลเจลเลต (Dinoflagellate) (Dinos แปลว่า หมุน) มีเซลล์เดียวมีลักษณะเด่นๆ
เเฟลเจลลัมหมุนรอบตัว ทาให้เคลื่อนที่หมุนคล้ายลูกข่าง ผนังเซลล์เรียงตัวคล้ายกระเบื้อง
มีพลาสติดภายในมี
สารสีแคโรทีนและคลอโรฟิลล์สามารถสังเคราะห์แสงได้เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปรากฏการณ์
ขี้ปลาวาฬ (Red tide) เป็นอันตรายต่อสัตว์น้า
 เอพิคอมเพลซ่า (Apicomplexa) ดารงชีวิตแบบปรสิต ไม่มีโครงสร้างในการเคลื่อนที่ ยกเว้น
ในเซลล์สืบพันธ์เพศผู้ได้แก่ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ทาให้เกิดโรคมาลาเรีย
เมื่อเข้าสู่คนจะเรียกSporozites มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ (เจริญได้ดีอยู่ในตับ
และเมื่อเซลล์ตับถูกทาลายจะเข้าสู้กระแสเลือด)
 ซิลิเอต (Ciliates) ใช้ซิเลียในการเคลื่อนที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีน้า หรือมีความชื้น สูง เช่น
พารามีเซียม วอร์ติเซลลา (Vorticlla)
4.) สตรามีโนฟิลา (Stramenopilla) เป็นพวกสาหร่าย (Algae) สามารถสังเคราะห์แสงได้
มีลักษณะร่วมกันคือเซลล์สืบพันธุ์ มีเเฟลเจลล่าที่มีขนและไม่มีขน
 สาหร่ายสีน้าตาล (Phaeophyta) ลักษณะเด่น มีหลายเซลล์ มีรงควัตถุสีน้าตาลคือ ฟิวโคแซนทีน
(flucoxantin) พบเฉพาะในน้าเค็มอยู่ในกระแสน้าเย็น เช่น เคล์ปยักษ์ ใช้ทาปุ๋ ย) หรือสาหร่ายกัมบุ
สาหร่ายทุ่น หรือซาร์กัสซัม (อาหารไอโอดีนสูง)
 ไดอะตอม (Diatom) สาหร่ายสีน้าตาลแกมเหลือง ลักษณะเด่นมีเซลล์เดียว
ผนังเซลล์ประกอบด้วยแก้วซิลิกา มีรงควัตถุ (คลอโรฟิลล์เอ, ซีแคโรทีนอยด์) เช่นไดอะตอม
(แพลงก์ตอน) ประโยชน์ทายาสีฟัน ยาขัดโลหะฉนวนความร้อน ไดอะตอมเอิร์ท (Diatommaceous
Earth) เกิดจากซากของ ไดอะตอม ทับถมกันนานๆ
5.) โรโดไฟตา (Rhodophyta) สาหร่ายสีแดง ลักษณะเด่น คือมีหลายเซลล์ มีรงควัตถุสีแดง คือ
ไฟโออีรีทรีน (Phycoerythrin) ต่างจากสาหร่ายกลุ่มอื่น คือ ไม่มีระยะแฟลเจลล่า
6.) คลอโรไฟตา (Chlorophyta) สาหร่ายสีเขียว ลักษณะเด่น มีเซลล์เดียวและหลายเซลล์ มีรงควัตถุ
(คลอโรฟิลล์เอ, บี, แคโรทีนอยด์) ส่วนใหญ่พบในแหล่งน้าจืด ใช้ทาอาหาร
7.) ไมซีโทซัว (Mycetozoa) ราเมือก มีลักษณะคล้ายอะมีบาและรา พบในพื้นที่ชื้นแฉะ แบ่งเป็น 2
กลุ่ม คือ ราเมือกชนิดพลาสโมเดียม (มีหลายนิวเคลียส) และราเมือกชนิดเซลล์ลูลาร์ ตัวอย่าง เช่น
สเตโมนิทิส ไฟซาลัม
● อาณาจักรโปรติสตา แบบพึ่งพาปรสิต
อะมีบาไม่เป็นมิตร พืชใกล้ชิดสาหร่ายไฟ
Mixtrop ยูกลีนา ซิลิกาไดอะตอม
ราเมือกอยู่เป็นหย่อม บนที่ชื้น ยื่นขาดกิน
● ไดโนแฟตเจลเลต เป็นต้นเหตุขี้ปลาวาฬ
สาหร่ายสีน้าตาล เคลป์ยักษ์มีฟิวโคแซน
สาหร่ายโรไฟตา พวกนี้หนามีสีแดง
จีฉ่ายใช้ทาแกง ไตรโคโมแนสแซดจริงๆ
● ทริปพา พาเหงาหลับ อยู่ในตับพลาสโมเดียม
ทาปุ๋ ยโพแทสเซียม พาไดนา สตรามีโน
กลอน โปรติสตา
2.1.3 อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi)
1. ไมคอร์ไรซา (Micorrhizae) คือ ฟังใจที่อยู่ร่วมแบบพึ่งพากับรากพืช ช่วยในการดูดซึมแร่ธาตุ
พบในซากดึกดาบรรพ์ของฟังไจในยุคซิลูเรียน
2. ลักษณะของฟังไจ
- มีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ที่ยังไม่พัฒนาเป็นเนื้อเยื่อ สืบพันธ์ทั้งแบบอาศัยเพศ
มีเส้นใยเรียกว่า ไฮฟา (Hipha) ผนังเซลล์ของพวกเชื้อราจัดเป็นสารพวกไคติน
โครงสร้างของไฮฟา แบ่งออกเป็น 2 แบบ
 ไม่มีเยื่อกั้นเซลล์ (Septate hypha)
 แบบมีเยื่อกั้นเซลล์ (Coencytic hypha)
- ไมซีเลียม (Mycelium) คือกลุ่มของเส้นใยไฮฟา ที่ทาหน้าที่ยึดเกาะอาหาร
และส่งเอ็นไซม์ไปย่อยอาหาร สามารถพัฒนาเป็นฟรุตติงบอดี้ (Fruiting body)
ซึ่งทาหน้าที่สร้างสปอร์ที่ได้จากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
- สปอร์ของเชื้อรา แบ่งออกเป็น ไซโกสปอร์ (Zygospore), แอสโคสปอร์ (Ascospore) และ
เบสิดิโอสปร์ (Basidiospore)
Phylum Chytridiomycota Phylum Zygomycota Phylum Ascomycota Phylum Basidiomycota
ฟังไจมี 4 ไฟลัม
1.) ไฟลัมไคทริดิโอไมโคตา (Phylum Chytridiomycota) หรือ ไคทริด
ลักษณะเด่นเป็นกลุ่มแรกที่มีวิวัฒนาการมาจากพวกโปรติสต์
มีสปอร์ที่มีการเคลื่อนที่โดยใช้แฟลเจลลา (เหมือนอสุจิ) ส่วนใหญ่อาศัยในน้า
เป็นปรสิตในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
2.) ไฟลัมไซโกไมโครไฟตา (Phylum Zygomycota) เป็นฟังไจที่ดารงชีวิตบนบก เช่น ราดา (Rhizopus
sp.) เป็นราที่ขึ้นในขนมปัง ไฮฟาไม่มีเยื่อกั้นเซลล์ ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
สืบพันธุ์โดยสร้างไซโกสปอร์ (Zygospore)
3.) ไฟลัมแอสโคไมโครตา (Phylum Ascomycota) พบมาในทะเล ทั้งบนบก และน้าจืด
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยสร้าง แอสโคสปอร์ (Ascosporic) เช่น ยีสต์ เห็ดโมเรล ราแดง
กลากเกลื้อนและทรัฟเฟิล (เห็ดเผาะ)
4.) เบสิดิโอไมโคตา (Phylum Basidiomycota) มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยสร้างเบสิดีโอสปอร์
(Basidiospore) อยู่ข้างล่างของฟรุตติงบอดี เช่น เห็ดหอม เห็ดฟาง เห็ดต่าง ราสนิม ราเขม่าดา
รวมทั้งไมคอร์ไรซา
 ฟังไจอิมเพอร์เฟคไท (Fungi imperect) คือฟังไจที่ไม่พบระยะสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มใดได้เช่น ราเพนนิซิเลียม (Penicillium sp) นามาพัฒนาสาหรับปฏิชีวนะ
(เพนนิซิลิน)
- ประโยชน์เชื้อรา ได้แก่ อาหาร (เห็ด) แอลกอฮอล์ (ยีสต์) ยา (เพนนิซิลิน)
- โรคที่เกิดจากเชื้อรา ได้แก่ กลาก เกลื้อน เท้าเปื่อย
Fungi kingdom
- อะฟลาท๊อกซิน (Aflatoxin) เป็นสารก่อมะเร็งในตับ สร้างจาก ราแอสเพจิสลัส (Aspergilus flavus)
 ฟังไจ พวกเชื้อรา มีไฮฟาเป็นเส้นใย
แบ่งปันเป็นสี่กลุ่มใหญ่ ไคทริคไซร์เกิดก่อนมา
 ตามด้วยไซโกไมโคตา อยู่แน่นหนาขนมปัง
เบสิดิโอกลุ่มนี้ดัง เห็ดส่วนใหญ่และไมคอร์ซา
 ส่วนพวกแอสโคไมด์ รู้จักใน ยีสต์ราแดง
เพนนิซิลินอยากแอบแฝง แต่อยู่ในฟังไจไม่สมบูรณ์
กลอน ฟังไจ
2.1.4 อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
1. พืชมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันทางวิวัฒนาการกับ สาหร่ายไฟในกลุ่มคาโรไฟตา (Chlorophyta)
2. สารที่ใช้การสังเคราะห์แสงพืชคือ คลอโรฟิลล์เอ และคลอโรฟิลล์บี
3. พืชที่มีการปรับตัวเพื่อดารงชีวิต
● การปรับตัวด้านโครงสร้าง (รากที่สามารถดูดน้า, เนื้อเยื่อในการลาเลียง
มีปากใบเป็นทางผ่านเข้าออกของแก๊สต่างๆ)
● การปรับตัวด้านองค์ประกอบเคมี (ลิกนินทาให้พืชแข็งแรง,
คิวทินปกคลุมผิวใบและลาต้นป้ องกันสูญเสียน้า)
● การปรับตัวด้านการสืบพันธ์ (เซลล์สืบพันธ์เพศเพศเมียมีเนื้อเยื่อป้ องกันเซลล์สืบพันธุ์,
เจริญเป็นเอ็มบริโอและเป็นต้นสปอร์โรไฟต์ต่อไป, ละอองเรณูมีการป้ องกันน้าน้อย
หรือไม่ต้องอาศัยน้าเป็นตัวกลางในการผสมพันธุ์)
4. ประเภทของพืช แบ่งเป็น
I. พืชไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง (Nonvascular Plant)
II.พืชมีเนื้อเยื่อลาเลียง (Vascula Plant)
a) พืชไม่มีเมล็ด
b) พืชมีเมล็ด : เมล็ดเปลือย และพืชดอก
กลุ่มพืชที่มีเนื้อเยื่อลาเลียง
ลักษณะสาคัญ คือ มีไรซอยด์ (Rhizoid) ช่วยในการลาเลียงดูดซึมแร่ธาตุในดิน แผ่นคล้ายใบมีคิวติ-
เคิลเคลือบปฏิสนธิโดนใช้น้าเป็นตัวกลาง สปอร์โรไฟต์อาศัยบนแกมีโทไฟต์
พืชที่ไม่มีท่อลาเลียง (Non-vascular Plant)
Hornwort Liverwort Moss
(Anthocerophyta) (Hepatophyta) (Bryophyta)
 ไฟลัมไบรโอไฟตา (Phylum Bryophytta) คาว่า Bryo แปลว่า Moss แกมีโทไฟต์มีลักษณะคล้าย
ใบเวียนรอบแกนกลาง สปอร์โรไฟต์มีอับสปอร์ช่วยในการกระจายสปอร์ เช่น มอส ข้าวตอกฤๅษี
 ไฟลัมเฮปาโทไฟตา (Phylum Hepatophyta ) Hepato = Liver แปลว่า ตับ
พืชชนิดนี้สมัยโบราณนามารักษาโรคตับมีแกมีโทไฟต์เป็นต้นและส่วนคล้ายใบ
ภายในเซลล์มีหยดน้ามัน สปอร์โรไฟต์มีอับสปอร์เมื่อแก่จะแตกออกเช่น ลิเวอร์เวิร์ท (Liver wort)
 ไฟลัมแอนโทซโรไฟตา (Phylum Anthocrophyta) Anthocer ตรงกับคาว่า Horn แปลว่า เขาสัตว์
ต้นมีแกโทไฟต์เป็นแผ่น มีรอยหยัก มีคลอโรพลาสต์เพียง 1 คลอโรพลาสต์เวลล์
สปอร์โรไฟต์ลักษณะเรียวยาวอยู่บนแกมีโทไฟต์ เช่น (Horn wort)
ประโยชน์ของกลุ่มพืชไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง ข้าวตอกฤๅษีหรือสแฟกนัมมอส (Sphagnum sp.)
ทนต่อการสูญเสียน้าได้ดีจึงนามา รักษาสภาพความชื้นในดิน ถ้าพบในบึงเมื่อตายและมีการทับถม
ทาให้เกสภาพดินเป็นกรด ย่อยสลายยากเกิดเป็นเชื้อเพลิง เรียกว่า พิท (Peat)
พืชที่มีท่อลาเลียง
ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด
Lycophyta Pterophyta เมล็ดเปลือย พืชดอก
-สามร้อยยอด หวายทะนอย หญ้าถอดปล้อง -Cycadophyta ปรง Anthophyta
-หวายทะนอย เฟิน ชายผ้าสีดา แหนแดง -Gingkophyta แป๊ ะก๊วย
-ตีนตุ๊กแก กระเทียมน้า จอก กูดเกี๊ยะ ผักแว่น -Coniferophyta สนสองใบ
-Gnetophyta มะเมื่อย
กลุ่มพืชมีเนื้อเยื่อลาลียงที่ไม่มีเมล็ด
ลักษณะเด่น มีท่อลาเลียงที่รากและลาต้น สปอร์โรไฟต์ (ช่วงชีวิตยาว) แยกจากแกมีโทไฟต์
(ช่วงชีวิตสั้น) หรืออยู่ร่วมกันช่วงสั้นๆ แบ่งออกเป็น 2 ไฟลัม
1.) ไฟลัมไลโคไฟตา (Phylum Lycophyta) ใบมีขนาดเล็ก มีเส้นใบ 1 เส้น ไม่แตกแขนง
ที่ปลายกิ่งของใบ สร้างอับสปอร์ได้แก่ สามร้อยยอด หางสิงห์ ตีนตุ๊กแก กระเทียมน้า
ช้องนางคลี่ (มีสปอร์ขนาดใหญ่และเล็ก สร้างอับสปอร์ที่โคนใบ)
2.) ไฟลัมเทอโรไฟตา (Phylum Pterophyta) ได้แก่ หวายทะนอย หญ้าถอดปล้องและเฟิน
- หวายทะนอย (Psilotum sp.) ไม่มีใบ ไม่มีราก แต่มีไรซอยด์ อับสปอร์มีขนาดเล็กติดที่กิ่ง
หากมีใบจะมีใบขนาดเล็ก
- หญ้าถอดปล้อง (Equsistum spp.) มีลาต้นมีข้อปล้องชัดเจน มีลาต้นบนดินและใต้ดิน
เรียกว่าไรโซม (Rhizome) ที่ปลายกิ่งจะมีอับสปอร์กระจุกตัวกัน เรียกว่า สโตรบิลัส
(Stobilus)
- เฟิน (Fern) มีรากมีลาต้นและใบที่แท้จริง (เส้นใบแตกแขนง)
ใบอ่อนจะม้วนสร้างอับสปอร์รวมกันเรียกว่า ซอรัส (Sorus)
สร้างสปอร์ขนาดเดียวมีโปรทัลลัส (Prothallus)
ลักษณะต้นจะมีรูปร่างคล้ายหัวใจทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ (ยกเว้น เฟินน้ามีหลายขนาด)
ได้แก่ เฟินใบมะขาม ข้าหลวงหลังลาย ชายผ้าสีดา ย่านลิเภา แหนแดง จอกหูหนู ผักแว่น
กูดเกี๊ยะ
ประโยชน์กลุ่มพืชเนื้อเยื่อลาเลียงที่ไม่มีเมล็ด
- ผักแว่น ทาสมุนไพร กูดแดง ยาแก้โรคผิวหนัง ย่านลิเภา เครื่องจักรสาน
- แหนแดง ใช้เพิ่มปริมาณไนโตรเจนในนาข้าว กูดเกี๊ยะ ใบแห้งนามามุงหลังคา
- เฟิน ใช้ทาไม้ประดับ เช่น เฟินใบมะขาม เฟินนาคราช ชายผ้าสีดา ข้าหลวงหลังลาย
เฟิน หญ้าถอดปล้อง
ชายผ้าสีดา หางสิงห์
ย่านลิเภา ผักแว่น
ช้องนางคลี่ ผักกูด
กลุ่มพืชมีเนื้อเยื่อลาเลียงที่มีเมล็ด
ลักษณะเด่น ละอองเรณูมีสเปิร์มอยู่ภายใน
เมื่ออับละอองเรณูแตกออกละอองเรณูจะกระจายไปตกที่ออวุล (เซลล์ไข่เจริญอยู่ในออวุล)
สืบพันธุ์โดยไม่อาศัยน้าแต่อาศัยลมและสัตว์เป็นพาหะ มีระยะสปอร์โรไฟต์ที่เด่นชัดและยาว
ส่วนระยะแกมีโตไฟต์จะมีขนาดเล็กและเท่ากับเฟิน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
 พืชมีเมล็ดเปลือย (Naket seed) จะมีโคน (Cone)
ซึ่งเป็นออวุลและละอองเรณูจะติดบนกิ่งหรือรวมกันที่ปลายกิ่ง
เมื่อปฏิสนธิออวุลจะเจริญป็นเมล็ดติดที่กิ่งหรือแผ่นใบ แบ่งเป็น 4 ไฟลัม
1.) ไฟลัมไซแคโดไฟตา (Phylum Cycadophita) ลาต้นเตี้ย ใบประกอบแบบนนก
โคนเพศผู้เพศเมียแยกจากกัน เช่น ปรง ปรงป่า ปรงเขา เป็นต้น
2.) ไฟลัมกิงโกไฟตา (Philum Gingophita ) ลาต้นใหญ่ มีใบเดี่ยวคล้ายพัด
ต้นเพศเมีสร้างออวุลที่ปลาย พบเพียงสปีชีส์เดียว คือ แป๊ ะก๊วย (Ginkgo biloba)
3.) ไฟลัมโคนิเฟอโรไฟตา (Phylum Coniferophyta)
โคนเพศผู้และเมียอาจอยู่ต้นเดียวกันหรือแยกต้นกัน เช่น สนสองใบ สนสามใบ สนสามพันปี
พญาใบไม้
4.) ไฟลัมนีโทไฟตา (Phylum Gnetophyta) ต่างจากชนิดอื่นที่พบเวสเซลล์ (Vassel member)
ในท่อลาเลียงน้า มีกลีบดอกใบเลี้ยงคล้ายพืชดอก
ประโยชน์ของพืชเมล็ดเปลือย
ปรง นิยมนามาจัดสวน แป๊ะก๊วย ทาอาหารและสมุนไพร
 พืชดอก (Angiosperm) หรือไฟลัมแอนโทไฟตา (Phylum Anthophyta)
พืชกลุ่มนี้มีดอกซึ่งเป็นกิ่งเปลี่ยนแปลงมาเป็นโครงสร้างสืบพันธุ์ มีออวุลเจริญในรังไข่
ออวุลของพืชดอกได้รับการปกป้ องได้มากกว่าพืชเมล็ดเปลือย (สนทะเล อยู่ไฟลัมนี้)
ซากดึกดาบรรพ์ของพืชดอกในกลุ่มแรกที่พบ คือ วงศ์แอมโบเรลลา (Amborellaceae)
สายวิวัฒนาการของพืชดอก ได้แก่ แอมโบเรลลา บัว พวงแก้วกุดั่น พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่
(ระวังพืชพวกนี้ชอบเอามาหลอก ได้แก่ จอก แหน ไข่น้า สนปฏิพัทธ์ สนทะเล สาหร่ายข้าวเหนียว
สาหร่ายหางกระรอก พวกนี้จัดเป็นพืชดอก)
ความแตกต่างระหว่างพืชใบเลี้ยงคู่กับใบเลี้ยงเดี่ยว
ใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู่
- ใบเลี้ยง 1 ใบ
- เส้นใบเรียงขนาน
- กลีบดอก 3 กลีบ
- ลาต้นท่อลาเลียงกระจายตัว
- รากฝอย
- ละอองเรณู 1 รู
- ใบเลี้ยง 2 ใบ
- เส้นใบร่างแห
- กลีบดอก 4-5 กลีบ
- ลาต้นท่อลาเลียงกระจายตัว
- รากแก้ว
- ละอองเรณูมี 3 รู
2.1.5 อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
1. มีแนวคิดว่าอาณาจักรสัตว์วิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษของแฟลเจลเลต
2. ซากดึกดาบรรพ์ที่ค้นพบเกี่ยวกับสัตว์เป็นไฟลัมไดนาเรียและมอลลัสกา
3. ซากดึกดาบรรพ์ของสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ ( Fossil Living ) ได้แก่ ลิ่นทะเล ปลาซีแคนท์ แมงดาทะเล
แมลงสาบ แมงปอ ต้นแป๊ ะก๊วย
4. เกณฑ์การจาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มต่างๆ พิจารณา
1.) เนื้อเยื่อ (เนื้อเยื่อไม่จริงกับเนื้อเยื่อจริง)
2.) ลักษณะสมมาตร แบ่งเป็นสมมาตรรัศมีกับสมมาตรด้านข้าง
3.) การเปลี่ยนแปลง บลาสโทพอร์ มี 2 แบบ
- โพสโทสโทเมีย (Protosmia ปากเกิดก่อนตูด) หนอนตัวแบน หอย หนอนกลม หนอนมี
ปล้อง แมลง
- ดิวเทอโรสโทเมีย (Deuterostomia ตูดเกิดก่อนปาก)ได้แก่ ดาวทะเล สัตว์มีกระดูกสันหลัง
4.) การเจริญในระยะตัวอ่อน โดยเฉพาะระยะโพสโทสโทเมีย (Protostomia ) 2 แบบ
- แบบโทรโคฟอร์ (Trochophore) ตัวอ่อนมีซีเลีย ทาให้เคลื่อนที่ได้ไม่มีการลอกคราบ พบใน
หนอนตัวแบน หนอนมีปล้อง หอย
- แบบเอคไดโซซัว (Ecdysozoa) เป็นกลุ่มที่ตัวอ่อนลอกคราบได้
พบในหนอนตัวกลมและแมลง
5.) ช่องลาตัว (Coelem) คือ ช่องระหว่างผนังลาตัวและผนังทางเดินอาหาร
ภายในมีของเหลวทาหน้าที่แทนระบบไหลเวียน เป็นพื้นที่ว่างให้อวัยวะภายในขยายตัว
และลดแรงกระแทกได้
- กลุ่มที่ไม่มีช่องลาตัวหรือไม่มีช่อง (Acoelomate) เป็นกลุ่มอัดแน่นไปด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
ไม่มีช่องว่างภายในพบในหนอนตัวแบน
- กลุ่มที่ไม่มีช่องตัวเทียม (Pseudocoelmate)
มีช่องว่างภายในลาตัวไม่มีเนื้อเยื่อบุกั้นเป็นขอบเขต อยู่ระหว่างเมโซเดิร์ม
พบในหนอนตัวกลม
- กลุ่มช่องตัวแท้จริง (Coelomate) มีช่องตัวแทรกอยู่ระหว่างทางเดินอาหาร (
เนื้อเยื่อที่พัฒนามาจากเอนโดรเดิร์ม) และกล้ามเนื้อ (เนื้อเยื่อที่พัฒนามาจากเอนโซเดิร์ม)
พบในไส้เดือนดิน แมลง สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ลักษณะเด่นของอาณาจักรสัตว์
- มีการเคลื่อนที่ตลอดชีวิตหรือบางช่วงชีวิต
- มีหลายเซลล์และพัฒนาเป็นเนื้อเยื่อ
- มีระยะเอ็มบริโอ (อาณาจักรอื่นไม่มี)
- ไม่มีผนังเซลล์และคลอโรฟิลล์ (สร้างอาหารเองไม่ได้)
- มีเยื่อหุ้มเซลล์ซึ่งโครงสร้างค้าจุนและเกี่ยวพัน
เป็นโปรตีนคลอลาเจนซึ่งพบเฉพาะในสัตว์เท่านั้น
- มีระบบประสาทและทางเดินอาหาร
1. ไฟลัมฟอริเฟอร่า (Phylum Porifera) Pori แปลว่า รู
ลักษณะเด่น คือ
- ไม่มีเนื้อเยื่อแท้จริง ไม่มีสมมาตร มีรูพรุนรอบตัว ช่องน้าเข้าด้านบนเรียกว่า Osulum
- ส่วนที่เรียกว่า โคเอนโนไซต์ (Coanoctye)
- มีแฟกเจลลาในการพัดโบกอาหาร เข้าสู่อะมีบอยด์เซลล์ (Amoebiod cell)
ดักจับเหยื่อและย่อย
- มีโครงสร้างค้าจุน เรียกว่า สปิคุล (Spicule)
- การจาแนกฟองน้าเป็นชนิดต่างอาศัยสปิคุล
- ตัวอ่อนเคลื่อนที่ได้โตเต็มวัยไม่เคลื่อนที่
- สืบพันธ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ
ฟอริเฟร่า แปลว่า รู สปิคุลคอยค้าจุน
พวกนี้มีรูพรุน โคแอนโนไซต์ ใช้พัดกิน
-
2. ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
ลักษณะเด่น คือ มีช่องว่างกลางลาตัว เนื้อเยื่อ 2 ชั้น มีรูปร่าง 2 แบบ ทรงกระบอก (Polyp)
และคล้ายร่ม ( Medusa ) เป็นพวกแรกที่มีระบบประสาท เรียกว่า Nerve net สืบพันธุ์แบบสลับ
ตัวอย่างสัตว์ในไฟลัมไนดาเรีย เช่น ดอกไม้ทะเล ปะการัง (ผสมพันธุ์ในน้าตัวอ่อน เรียกว่า พลานูล่า
(Planula)) กัลปังหา แส้ทะเล แมงกะพรุน ไฮดรา โอบิเลีย เป็นต้น
3. ไฟลัมเพลติเฮลมินเทส (Platyhelminthes)
ลักษณะเด่น คือ
- มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น จาพวกแรก ไม่มีช่องลาตัว (Acoelomait)
- มีการดารงชีวิตแบบ เป็น ปรสิต (พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้) และดารงชีวิตแบบอิสระ เช่น
พลานาเลีย
- มีระบบประสาทแบบ Nevre Cord (เส้นประสาท) อาศัยเฟรมเซลล์ (Flame Cell)
ในการกาจัดของเสีย
- มี 2 เพศในตัวเดียว (Hermaphodite)
- มีช่องอาหารภายในลาตัว (Gastrovascula cavity)
4. ไฟลัมนีมาโทดา (Nematoda) หนอนตัวกลมไม่มีปล้อง
ลักษณะเด่น คือ ทางเดินอาหารสมบูรณ์พวกแรก มี ช่องตัวเทียม (Psuedoceolum) ตัวอ่อนลอกคราบได้
มี (Cuticle) อาศัยการเคลื่อนที่โดยการบิดตัวของกล้ามเนื้อตามยาว แยกเพศ ได้แก่ พยาธิไส้เดือน ปากขอ
เส้นด้าย แส้ม้า ตัวจี๊ด ไส้เดือนฝอย พยาธิโรคเท้าช้าง หนอนในน้าส้มสายชู
5. ไฟลัมแอนนิลิดา (Annelida) หนอนตัวกลมมีปล้อง
ลักษณะเด่น คือ มีเยื่อกั้นระหว่างปล้อง มีระบบเลือดพวกแรก ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง
ตัวสงกรานต์หนอนดอกไม้ทากดูดเลือด ปลิง
(ปลิงและทากจะมีสารที่ป้ องกันการแข็งตัวของเลือดที่มาจากปลิงและทาก คือ ฮิรูดิน (Hirudin)
6. ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Arthropoda)
ลักษณะเด่น ตัวอ่อนลอกคราบได้ลาตัวเป็นปล้อง มีรยางค์ เปลือกแข็ง (ไคติน)
ระบบเลือดแบบเปิดมี (Haemocyabin) เป็นไฟลัมที่มากที่สุดในโลก ระยะตัวอ่อนถูกล่า เมื่อเจริญเติบโต
จะกลายเป็นผู้ล่า ได้แก่ แมลง เพรียงหิน
- Class Merostomata ส่วนหัวกับส่วนอกรวมกัน ได้แก่ แมงดา
- Class Arachnida ส่วนหัวกับส่วนอกรวมกัน มีขา 4 คู่ เช่น แมงป่อง แมงมุม เห็บ ไร
- Class Diplopoda เป็นพวกแรกที่วิวัฒนาการอยู่บนบก เช่น กิ้งกือ
- Class Chilopoda ตะขาบ
- Class Crustacea กุ้ง กั้ง ปู ไรน้า (ลักษณะเด่นมีหนวด 2 คู่)
- Class Insecta แมลง จากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์เชื่อว่าวิวัฒนาการก่อนพืชดอก
7. ไฟลัมมอลลัสกา ( Mollusca ) Mollusca แปลว่า นิ่ม
ลักษณะเด่น คือ อาจมีเปลือกหรือไม่มีก็ได้ (หมึกยักษ์ไม่มี) มีเมนเทิล (Mantle) ในการสร้างเปลือก
ซึ่งเป็นหินปูน (CaCo3) อยู่ในน้าหายใจด้วยเหงือก (ยกเว้นอยู่บนบก เช่น หอยทากหายใจด้วยปอด)
มีอวัยวะขับถ่ายด้วยไต (Kidney) การเคลื่อนที่อาศัยโดยท่อ Siphon มีระบบหมุนเวียนโลหิตแบบเปิด
ระบบปมประสาท 3 คู่ ได้แก่ หอย หมึก เม่นทะเล
8. ไฟลัมเอไคโนเอร์มาตา (Echinodermata)
Echino แปลว่า หนาม derma แปลว่า ผิว
ลักษณะเด่น พบในทะเลเท่านั้น ใช้ชีวิตแบบผู้ล่า ตัวเป็นหนามผิวขรุขระ มีสมมาตรสองแบบ
ระยะตัวอ่อนเป็นแบบครึ่งซีก พอโตเต็มวัยเป็นแบบรัศมี ไม่มีเลือด ทางเดินอาหารสมบูรณ์
มีระบบประสาทวงแหวน (Nerve ring)
รอบๆปากมีประสาทแยกออกไปการเคลื่อนที่ใช้ระบบหมุนเวียนนาส่งไปยัง ทิวป์ ฟีท (Tube feet)
โดยใช้แรงดันน้า ได้แก่ ดาวทะเล อีแปะทะเล ดาวขนนก ปลิงทะเล หอยเม่น พลับพลึงทะเล
มอลลัสกา แปลว่านิ่ม เอาไม้จิ้มหอยออกมา
เมนเทิลสร้างเปลือกหนา ปลิงทะเลอยู่ด้วยกัน
9. ไฟลัมคอร์ดาตา (Chordata) Chordate กระดูกสันหลัง
ลักษณะเด่น มี Notochord ช่วงใดช่วงหนึ่ง หรือตลอดชีวิต มี gill slits (อยู่บริเวณคอหอย)
เห็นได้ชัดในระยะเอ็มบริโอ มีท่อประสาทเป็นท่อกลางหนึ่งเส้นกลางหลัง มีหางถัดจากทวารหนัก
 ไฟลัมคอร์ดาตาที่ไม่มีกระดูกสันหลัง
 ยูโรคอร์เดต (Urochordate) มีถุงหุ้มตัว ตัวอ่อนมีไนโตคอร์ดและหาง
ตัวเมื่อโตเต็มวัยจะหดหายไป เช่น เพรียงหัวหอม
เอไคโนเดอร์มาตา เป็นผู้ล่าท้องทะเล
จาไว้อย่าไขว่คว้า ปลิงทะเลอยู่ด้วยกัน
 เซฟาโรคอร์เดต (Cephalochordat ) : มีโนโตคอร์ดตลอดชีวิต มีช่องเหงือกที่คอหอย และมีหาง
สัตว์กลุ่มนี้ ได้แก่ แอมฟิออกซัส
 ไฟลัมคอร์ดาตาที่มีกระดูกสันหลัง
 มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร ปลาปากกลม
ลักษณะเด่น คือ ไม่มีขากรรไกร ลาตัวยาวคล้ายปลาไหล มีฟันเล็กๆ แหลมคมมากมาย ลาตัวนิ่ม
ไม่มีเกล็ด ไม่มีครีบคู่เหมือนปลาทั่วไป มีเหงือก (Gill Slit) ข้างลาตัวไม่มีครีบปิด ได้แก่ ปลาแฮกพิช
(Hagfish) และปลาแลมแพรย์(lamprey)
 มีกระดูกสันหลังที่มีกรรไกร
A. Class Chondrichtyes ปลากระดูกอ่อน
ช่องเหงือกไม่มีแผ่นปิด มีครีบคู่หรือครีบเดี่ยว มีโครงร่างกระดูกที่ยืดหยุ่นตัวดี ไม่มีกระเพาะลม
ปฏิสนธิภายในแล้วออกลูกเป็นตัว เช่น ปลาฉลาม ฉนาก โรนัน กระเบน
B. Class Osteicthyea ปลากระดูกแข็ง
หายใจโดยใช้เหงือกมีแผ่นปิดเหงือก มีถุงลมช่วยควบคุมการลอยตัวในน้า ปฏิสนธิภายนอก
(ปลาที่มีครีบเนื้อและปลาปอดสามารถหายใจจากอากาศได้ในช่วงเวลาสั้นๆ) เช่น ม้าน้า ปลาทู
C. Class Amphibia สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
มี 4 ขา เท้าแต่ละข้างมี 5 นิ้ว ปลายนิ้วไม่มีเล็บ ผิวหนังไม่มีเกร็ดชื้นทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส
ปฏิสนธิภายนอก ตัวอ่อนอยู่ในน้าหายใจโดยเหงือก ตัวเต็มวัยอาศัยบนบกและใช้ปอด ออกไข่ในน้า มีหัวใจ
3 ห้อง เช่น กบ คางคก (ซาลาเมนเดอร์อาศัยในน้าตลอดชีวิต) งูดินอยู่ในคลาสนี้
D. Class Reptilia สัตว์เลื้อยคลาน
เป็นสัตว์เลือดเย็น ปลายนิ้วมีเล็บ มีผิวหนังเปลือกแข็งแห้งปกคลุมด้วยเคราทิน (Keratin)
ป้ องกันการสูญเสียน้าจากร่าง หายใจด้วยปอด มีหัวใจ 4 ห้องไม่สมบูรณ์ (ยกเว้นจระเข้)
กาจัดของเสียในรูปกรดยูริก เช่น จิ้งจก เต่า จระเข้ตุ๊กแก จิ้งเหลน งู กิ้งก่า
E. Class Aves สัตว์ปีก
มีกระดูกพรุนเป็นโพรง ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ ไม่มีต่อมเหงื่อ ไม่มีต่อมน้านม ปฏิสนธิภายใน
ตัวเมียมีรังไข่ข้างเดียว ไข่มีถุงอัลแลนทอยส์ ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซและ กาจัดของเสียในรูปกรดยูริก
มีไข่แดงปริมาณมาก เชื่อว่า วิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลานที่พบซากดึกดาบรรพ์ของอาร์คีออพเทริกซ์
(Archaeopteryx) ซึ่งมีลักษณะเหมือนสัตว์เลื้อยคลานแต่มีขนเหมือนนก
F. Class Mammalia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เพศเมียมีต่อมน้านม มีขนปกคลุมลาตัว
ปฏิสนธิภายในตัวอ่อนเจริญในมดลูก ได้รับอาหารผ่านรก แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
- กลุ่ม Monotremes ตุ่นปากเป็ดและตัวกินมดมีหนาม ลักษณะออกลูกเป็นไข่
มีขนแข็งคล้ายเม่น และมีต่อมน้านมพบเฉพาะในออสเตรเลียและนิวกีนีเท่ากัน
- กลุ่ม Marsupial ตั้งท้องในระยะเวลาใกล้มาก
ทาให้ตัวอ่อนที่คลอดออกมามีขนาดเล็กและคลานเข้าไปในถุงหน้าท้องของแม่
ภายในมีต่อมน้านมที่มีหัวนมสาหรับเลี้ยงตัวอ่อน เช่น จิงโจ้โอโพสซัมและโคอาล่า
- กลุ่ม Eutherians สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีรก ตัวอ่อนเจริญเติบโตในมดลูก เช่น ลิง สุนัข สุกร
ปลา วาฬ โลมา แมวน้า สิงโตทะเล คน
2.1 การตัดต่อวิดีโอด้วยโปรแกรม Ulead VideoStudio 11
1 . ถ่ายวิดีโอแล้วเตรียมวิดีโอที่จะทาการตัดต่อ
2. เปิดโปรแกรม Ulead VideoStudio 11 แล้วเลือก Video Studio Editor
3. จากนั้นคลิก Open File ตามรูป เพื่อเลือกไฟล์
4. เลือกไฟล์ที่เราต้องการ จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Open
5.จะได้ไฟล์ที่เราต้องการ ซึ่งแสดงดังภาพ
6.จากนั้นนาไฟล์ที่เราอยากจะตัดต่อลากไปใส่ที่แถวแรกที่เป็นรูปฟิล์ม ดังรูป
7. หากต้องการใส่ส่วนประกอบอื่นๆ เช่น Audio ให้คลิกดังรูป
8. จากนั้นก็ลากไฟล์ที่เราต้องการไปที่แถวล่างสุดที่เป็นรูปโน๊ตดนตรี
9. หากต้องการตัดวิดีโอเป็น 2 ส่วนแบ่งสัดส่วนตามความพอใจ จากนั้นกดที่รูปกรรไกร
10. หากต้องการใส่ Effect ให้กับรูปภาพหรือวิดีโอ ให้คลิกท่าปุ่ม Effect ดังรูป
11. สามาเลือก Effect ที่ต้องการได้ตามใจชอบ
12. เมื่อได้ Effect ตามที่ต้องการแล้ว ให้ลากมาใส่ในบริเวณที่เราต้องการ ดังรูป
13. เมื่อทาเสร็จแล้วให้ตรวจสอบรายละเอียดให้ครบเพื่อจะได้ไม่เสียเวลากลับมาแก้ไขงาน
14. เมื่อตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม Share ดังรูป เพื่อทาการบันทึกไฟล์งาน
15. จากนั้นคลิกที่ Create Video File จะได้แถบรายการขึ้นมา ดังรูป
16. จากนั้นคลิกที่ HDV แล้วเลือก HDV 1080i – 60i (for pc) หรืออื่นๆตามความประสงค์
17. จากนั้นจะมีหน้าต่างดังรูปขึ้นมา ให้ตั้งชื่อไฟล์แล้วกด Save
18. โปรแกรมจะทางานประมวลผลวีดีโอที่เราตัดต่อ รอจนเสร็จสิ้น
19. เมื่อโปรแกรมประมวลผลเสร็จ ก็ได้วิดีโอที่เราตัดต่อขึ้นมาดังรูป
20. จากนั้นนาวิดีโอที่ได้ อัพโหลดขึ้น YouTubeเพื่อนาไปปรับใช้กับโครงงาน
2.3 การทาเว็บไซต์โดยผ่าน Google Site
การเริ่มต้นสร้าง Site
 สมัครเข้าใช้งาน โดยเข้าไปที่ URL: www.google.com/sites แล้วลงชื่อเข้าใช้ Gmail โดยกรอก
Email และ Password คลิกปุ่ม “ลงชื่อเข้าใช้งาน”
 เลือกปุ่ม “สร้าง”
 เลือกเทมเพลตที่จะใช้ หากต้องการเลือกดูเทมเพลตอื่นๆ ให้คลิกที่ “เลือกดูเพิ่มเติมในแกลเลอรี่”
ซึ่งในที่นี้จะเลือกเป็นแบบ แม่แบบว่างเปล่า
 ตั้งชื่อไซต์ (title) ของคุณ สาหรับส่วนของตาแหน่งไซต์ google sites จะทาการตั้งให้โดยอัติโนมัติ
 เลือกธีมแสดงในเว็บไซต์ ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนในภายหลังได้
 ตัวเลือกเพิ่มเติม ส่วนนี้จะให้ใส่คาอธิบายเว็บไซต์
และมีให้เลือกว่าเนื้อหาภายในเว็บไซต์เหมาะสาหรับผู้ใหญ่เท่านั้น
 พิมพ์รหัสตามที่ปรากฏเพื่อยืนยันว่าเป็นมนุษย์ไม่ใช่ Bot ของ Google หรือ Spam จากเว็บต่างๆ
 คลิปปุ่ม “สร้าง”
 เมื่อสร้างไซต์เสร็จแล้วจะปรากฏหน้าตาเว็บไซต์ดังภาพ จากนั้นเริ่มตกแต่งเว็บไซต์
การใช้งาน Theme
 ตกแต่งเว็บไซต์ โดยการเปลี่ยน Theme เพื่อให้เว็บไซต์มีรูปแบบแสดงที่สวยงาม โดยคลิกเลือก
“เพิ่มเติม”
การเพิ่มรูปภาพ
 คลิกปุ่ม “แก้ไขหน้าเว็บ” แล้วเลือกปุ่ม “แทรก” แล้วเลือกเมนู “รูปภาพ”
 จะปรากฏ Dialog box เพิ่มภาพ จากนั้นให้อัพโหลดภาพโดยเลือก “เลือกไฟล์”
แล้วคลิกที่ไฟล์ภาพที่ต้องการ
การเพิ่มลิงค์
 การเชื่อมโยงลิงค์ภายในเว็บไซต์ ให้คลิกปุ่ม “แก้ไขหน้าเว็บ” เลือกปุ่ม “แทรก” แล้วเลือกเมนู
“ลิงค์”
 จะปรากฏ Dialog box สร้างลิงค์ เลือกหน้าเว็บไซต์ที่ต้องการจะเชื่อมโยง ซึ่งสามารถดูได้จาก
แผนผังไซต์ และ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลล่าสุดบนเว็บไซต์ เสร็จแล้วเลือกปุ่ม “ตกลง”
 การเชื่อมโยงลิงค์จากภายนอก จะปรากฏ Dialog box สร้างลิงค์ ซึ่งในที่นี้จะเลือกใช้แบบ
“ที่อยู่เว็บ”
 โดยใส่ข้อความที่ช่อง “ข้อความที่จะแสดง” และ ใส่ URL ที่ช่อง ลิงค์ไปที่ URL นี้
หากต้องการให้ลิงค์เปิดในหน้าต่างใหม่ ให้ทาเครื่องหมายที่ checkbox
“เปิดลิงค์นี้ในหน้าต่างใหม่”
 เสร็จแล้วคลิกปุ่ม “ตกลง”
การเพิ่มหน้าเพจเว็บไซต์
 เริ่มต้นสร้างหน้าเพจ โดยคลิกที่ปุ่ม ด้านบนขวาของหน้าจอ
 เมื่อเปิดหน้าสร้างเพจใหม่ขึ้นมาแล้ว กรอกชื่อ ตั้งชื่อหน้าเว็บ
การสร้างวิดีโอ
 คลิกปุ่ม “แก้ไขหน้าเว็บ” เลือกปุ่ม “แทรก” แล้วเลือกเมนู “วิดีโอ”
 นา URL วิดีโอจาก youtube มาวางในช่อง “วาง URL วิดีโอ YouTube ของคุณ” แล้วคลิกปุ่ม
“บันทึก”
2.4 การทาแบบทดสอบโดนผ่าน Google Docs
 ขั้นตอนการสร้างข้อสอบออนไลน์ ไปที่ http://docs.google.com การสร้างข้อสอบออนไลน์ด้วย Google
Docs
 จากนั้น คลิกที่ “ไดร์ฟ”
 จากนั้นจะขึ้นหน้าเว็บดังรูป แล้วคลิกที่ “สร้าง”
 จากนั้นกรอกชื่อแบบทดสอบในช่องด้านบน
 กรอกรายละเอียดแบบทดสอบที่เตรียมไว้ลงในช่องที่ให้กรอกข้อมูล
 จากนั้นกดส่งฟอร์มข้อมูล เพื่อบันทึกการทารายการ
 เมื่อเสร็จสิ้นแล้วให้ย้อนกลับไปดูที่แบบตอบกลับการส่งข้อมูล
เพื่อคานวณคะแนนของผู้ที่มาทาแบบทดสอบ
 แบบทดสอบที่ได้เมื่อนาไปใส่ใน Google Site จะปรากฏดังรูป เสร็จสิ้นการทางาน

Contenu connexe

Tendances

อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันAomiko Wipaporn
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 

Tendances (20)

Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 

Similaire à Kingdom for knowledge บทที่ 2

Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตmahachaisomdet
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมSumalee Khvamsuk
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 

Similaire à Kingdom for knowledge บทที่ 2 (20)

Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Diver plantae
Diver plantaeDiver plantae
Diver plantae
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
monera-new.pptx
monera-new.pptxmonera-new.pptx
monera-new.pptx
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 

Kingdom for knowledge บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่อง Kingdom for knowledge อาณาจักรน่ารู้ นี้ ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาข้อมูลต่างๆ จากหนังสือชีวะระยะประชิด ในเรื่องอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต โดยมีเนื้อหาดังนี้ 2.1 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต 2.1.1 อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 2.1.2 อาณาจักรโปรติสตา (Kingdom Protista) 2.1.3 อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) 2.1.4 อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) 2.1.5 อาณาจักรสัตว์(Kingdom Animalia) 2.2 การตัดต่อวิดีโอด้วยโปรแกรม Ulead VideoStudio 11 2.3 การทาเว็บไซต์โดยผ่าน Google Site 2.4 การทาแบบทดสอบโดนผ่าน Google Docs 2.1 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ 1. หลักเกณฑ์สาคัญในระบบการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตอาศัย สายวิวัฒนาการ (phylogeny) 2. อนุกรมวิธาน (Taxonomy) คือ กฎเกณฑ์การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
  • 2. 3. การจาแนก (Classification) สิ่งมีชีวิตโดยการจัดหมวดหมู่ใหญ่แล้วแบ่งเป็นหมวดหมู่ย่อย Kingdom → Phylum → Class → Order → Family → Genus→ Species 4. ไดโคโตมัสคีย์(Dichotomous Key) คือ เครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ในการระบุชนิดหรือกลุ่มของ สิ่งมีชีวิต โดยระดับความแตกต่างจะเริ่มน้อยลงเมื่อจัดเป็นกลุ่มย่อยมากขึ้น 5. บิดาแห่งอนุกรมวิธาน คือ คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) 6. ความหลากหลายทางชีวภาพมีองค์ประกอบ 3 อย่าง ได้แก่ - ความหลากหลายของสปีชีส์ สิ่งมีชีวิตมีมากจนนับไม่ได้ - ความหลากหลายพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตมีหลากหลายสายพันธุ์ - ความหลากหลายระบบนิเวศ แหล่งที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตแตกต่างกันทั้งทางกายภาพและชีวภาพ 7. หลักเกณฑ์การจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต ได้แก่ ลักษณะภายนอกและภายใน การเจริญของตัวอ่อน กระบวนการทางสรีรวิทยา ซากดึกดาบรรพ์ การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์และความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม 8. หลักสาคัญในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตในปัจจุบันนี้ก็คือ สิ่งมีชีวิตจะจัดไว้กลุ่มเดียวกันนั้น ต้องมีความสัมพันธ์กันทางด้านวิวัฒนาการ 9. การจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตในโลก โดยปัจจุบันแบ่งออกเป็น 3 โดนเมนจัดตามลาดับเบสบน DNA ได้แก่ อาร์เคียแบคทีเรีย และยูคาริโอต 10. Species หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มีความใกล้ชิดทางบรรพบุรุษ (gene pool) มีโครงสร้างของอวัยวะและหน้าที่เหมือนกัน มีโครโมโซมเท่ากันสิ่งมีชีวิตที่เป็น Species เดียวกันควรจะต้อง มีลูกหลานที่ไม่เป็นหมัน
  • 3. สิ่งมีชีวิตในโลกมนุษย์ 2.1.1 อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 1. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอรา เรียกว่า แบคทีเรีย แบคทีเรียมีรูปร่างลักษณะเซลล์เดียว มีขนาด 1-5ไมโครเมตร ผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน มีสารพันธุกรรม แต่ไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรม เรียกว่า นิวคลีออยด์ (Nucleiod) พบไรโบโซมแต่ไม่พบออร์แกเนลล์อื่น มีรูปร่างทรงกลม (Cocuss) รูปท่อน (Bacillus) และทรงเกลียว (Spirilum) ● พลาสมิด (Plasmid) เป็นดีเอ็นเอที่มีลักษณะเป็นวงแหวนอยู่นอกโครโมโซม พบในแบคทีเรียหลายชนิดมีขนาดตั้งแต่ 1,000 – 200,000 คู่เบส โดยในแบคทีเรียหนึ่งเซลล์อาจมีพลาสมิด 1 - 300 ชุด Animalia (สัตว์) Fungi (เชื้อรา)Plantae (พืช) Protista Eukarya Eubacteria Archaebacteria
  • 4. 2. แบคทีเรียแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ อาร์เคียแบคทีเรียและยูแบคทีเรีย Proteobacteria Chlamydias Euryarchaeota Gram-Negative Spirochetes Crenarchaeota Gram-Positive Bacillus Streptococcus Lactobacillus Cyanobactaria Anabaena Nostoc Oscillatoria Monera Kingdom Archaebacteria Eubacteria
  • 5. 1.) อาร์เคียแบคทีเรีย (Archaebacteria) เป็นผนังเซลล์ที่ไม่มีเพปทิโดไกลแคน สามารถดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสาหรับสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น น้าพุร้อน ทะเลเค็มจัด บริเวณที่เป็นกรดสูง อาร์เคียแบคทีเรียแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ● กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) สร้างมีเทนและชอบความเค็มจัด ● กลุ่มครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota) คาว่า Cren แปลว่า น้าพุร้อน ชอบที่อุณหภูมิสูงและกรดจัด 2.) ยูแบคทีเรีย (Eubacteria) เป็นแบคทีเรียที่พบในดิน น้า อากาศ อาหาร นมและร่างกายสิ่งมีชีวิต รวมทั้งมีบทบาทสาคัญต่อระบบนิเวศ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ● แบคทีเรียแกมลบ (Gram - Negative bacteria) เพปทิโดไกลแคนจะบาง ย้อมติดสีแดงของซาฟรานีน - กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย ( Proteobacteria) เป็นแบคทีเรียแกรมลบ บางกลุ่มสามารถสังเคราะห์แสงคล้ายพืช บางกลุ่มสามารถดารงชีวิตโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) บางกลุ่มสามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนในอากาศเป็นประโยชน์ต่อพืช เช่น ไรโซเบียม (RhiZobium sp.) ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว - กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias): แบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในสัตว์ทาให้เกิดโรคเพศสัมพันธ์ เช่น หนองใน - กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes): แกรมลบรูปเกลียว ดารงชีวิตแบบอิสระและปรสิต เช่นโรคฉี่หนู ซิฟิลิส ● แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive bacteria) เพปติโดไกลแคนจะหนา ย้อมติดสีม่วงคริสตัลไวโอเลตพบทั่วไปในดิน อากาศ - Lactobacillus sp: สามารถผลิตกรดแลคติก ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น ทาเนย ผักดอง โยเกิร์ต - Streptomyces sp: ใช้ทายาปฏิชีวนะ เช่น สเตปโตมัยซิน เตตราไซคลิน - Bacillus sp: สร้างเอนโดรสปอร์ (Endospore ) ทาให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์ (วัวบ้า)
  • 6. - Mycoplasma: เป็นแบคทีเรียที่เล็กที่สุด ขนาด 0.1- 600 ไมโครเมตร ไม่มีผนังเซลล์ มีเพียงเยื่อเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมัน สามารถเจริญนอกโฮสต์ เป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคปอดบวม - Clostridium botulinum: นามาใช้ BOTOX - Actinomyces: ทาให้เกิดวัณโรคและเรื้อน ● ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobactaria) หรือสาหร่ายสีเขียวแกรมน้าเงิน (Blue – Green algae) สามารถสังเคราะห์แสงได้โดยอาศัยสารสี เช่น คลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์และไฟโคบิลิน แต่ไม่มีคลอ- โรพลาสต์ ผนังเซลล์เป็นเซลลูโลสและแพ็คตินเป็นผู้ผลิตที่สาคัญสามารถตรึงแก๊สไนรโตรเจนในอากาศโดยอาศัย heterocyte เช่น นอสตอก (Nostoc) และออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria) Spirulina หรือทองสาหร่ายเกลียวทอง มีโปรตีนสูง ● อาณาจักรมอเนอรา กลุ่มนี้หนาแบคทีเรีย นาโดยพวกอาร์เคีย แบคทีเรียยุคโบราณ หนึ่งสิ่งที่ใช้แยก แบ่งจาแนกมาเนิ่นนาน พวกนี้มันทนทาน ผนังไซร้ไร้เพปทิโด ● พวกแกรมเนกกาทีฟ ตัวมันลีบเพราะเพปบาง ซาฟรารีนมาเจือจาง ป้ายบางๆติดสีแดง คลาไมเดียเชื้อหนองใน พวกส่วนใหญ่ปรสิต ฉี่หนูซิฟิลิส สไปโรคีทกลุ่มเดียวกัน ● พวกแกรมโพซิทิฟ ตัวไม่ลีบเพราะเพปหนา สเตปโซใช้ทายา มัย พลาสม่าพาปอดบวม บาซิรัสเชื้อวัวบ้า แอนาบีนา นอสตอก กลอน อาณาจักรมอเนอรา
  • 7. พวกนี้เขาแยกออก ออสซิลลา ไซยาโน 2.1.2 อาณาจักรโปรติสตา (Kingdom Protista) 1. สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรโปรติสตา เรียกว่า โปรติสต์ เซลล์เป็นแบบยูคาริโอต เหตุที่ตองแยก โปรติสต์ออกจากสัตว์และลักษณะพืช เนื่องจากอาณาจักรโปรติสต์ ไม่มีระยะเอ็มบริโอ (ต่างจากพืชและสัตว์) 2. ลักษณะเป็นเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ แต่ยังไม่พัฒนาเป็นเนื้อเยื่อ มีการเคลื่อนที่หลายแบบ ได้แก่ ซีเลีย แฟลเจลลัม ซูโดโพเดียม non motile (มีซีเลียที่เคลื่อนที่ไม่ได้) Plasmodium แหล่งที่พบ บนบก (ดารงชีวิตทั้งผู้บริโภค) น้า (พึ่งพา) ร่างกายสัตว์(ปรสิต) 3. ดารงชีวิตแบบภาวะพึ่งพากัน (Mutualism) และแบบปรสิต (Parasitism) 4. อาณาจักรโปรติสตา แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ พวกคล้ายสัตว์(โปรโตซัว) คล้ายพืช (สาหร่าย ) คล้ายรา (ราเมือก) แบ่งเป็น 7 กลุ่มหลักๆ Diplomonadida Euglenozoa Alveolata Stramenopilla Rhodophyata Chlorophyta MycetoZo Parabasala 1.) ดิโพลโมนาดินา (Diplomonadida) และพาราบาซาลา (Parabasala) เป็นโปรติสต์ที่ไม่มีออร์แกแนลล์ (ยกเว้นไรโบโซม)  ดีโพลโมเนด (Diplomonadida) ลักษณะเด่นมี 2 นิวเคลียส มีเเฟลเจลลัมหลายเส้น Mitosome (คล้ายไมโทคอนเดรียแต่ทางานไม่ได้) เช่น Giardia Lamblia (อยู่ในลาไส้คนและน้าไม่สะอาด) ยับยั้งการทางานของลาไส้ เป็นสาเหตุทาให้เกิดอาการปวดท้อง โปรติสตา
  • 8.  พาราบาซาลิด ( Parabasalids) มีเเฟลเจลลัมเป็นคู่และผิวเยื่อหุ้มเซลล์มีลักษณะเป็นรอยหยัก คล้ายคลื่น เช่น ไตโคนิมฟา (Trichonympha) พบในลาไส้ปลวกย่อยเซลลูโลส ไตรโคโมแนส (Trichomonas) ทาให้เกิดการคันในช่องคลอด 2.) ยูกลีโนซัว ( Euglenozoa ) ดารงชีวิตแบบปรสิต ผู้ผลิตและผู้ล่า เคลื่อนที่โดยใช้แฟลเจลลา ลักษณะเด่นๆกลุ่มนี้คือ ภายในแฟลเจลล่าจะมีโครงสร้าง Crytalline rod แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ Euglenids และ Kinetoplastids  กลุ่มยูกลีนา Euglena ยูกลีนา (Euglena) ดารงชีวิตได้ 2 แบบ เรียกว่า mixtroph คือเมื่ออยู่ในสภาวะมีแสงจะสามารถสังเคราะห์แสงได้โดยอาศัยสารสี แคโรทีนและโคโรฟิลล์ในการสังเคราะห์แสง มีอายสปอต (Eye Sport) ในการตอบสนองต่อแสง เมื่ออยู่ในสภาวะที่ไม่มีแสงจะเป็นผู้บริโภค กินเหยื่อด้วยวิธีฟาโกไซโตซีส มีคอลแทร็กไทล์แวคิวโอล  กลุ่ม Kinetopastids ได้แก่ ทริปพาโนโซม (Trypanosome) เป็นปรสิตที่พบในเลือดสัตว์มี กระดูกสันหลัง สาเหตุโรคเหงาหลับโดยมีพาหะคือแมลงดูดเลือด ผู้ป่วยโรคนี้จะทาให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว 3.) แอลวีโอลาตา (Alveolata) มีลักษณะเซลล์เดียว ภายในมีถุงแอลวีโอไล (alveoli) ลักษณะเป็นช่องว่างเล็กๆ ใต้เยื่อหุ้มเซลล์ เชื่อว่าทาหน้าที่รักษาน้าและคงรูปเซลล์ มี 3 กลุ่ม  ไดโนแฟลเจลเลต (Dinoflagellate) (Dinos แปลว่า หมุน) มีเซลล์เดียวมีลักษณะเด่นๆ เเฟลเจลลัมหมุนรอบตัว ทาให้เคลื่อนที่หมุนคล้ายลูกข่าง ผนังเซลล์เรียงตัวคล้ายกระเบื้อง มีพลาสติดภายในมี สารสีแคโรทีนและคลอโรฟิลล์สามารถสังเคราะห์แสงได้เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปรากฏการณ์ ขี้ปลาวาฬ (Red tide) เป็นอันตรายต่อสัตว์น้า  เอพิคอมเพลซ่า (Apicomplexa) ดารงชีวิตแบบปรสิต ไม่มีโครงสร้างในการเคลื่อนที่ ยกเว้น ในเซลล์สืบพันธ์เพศผู้ได้แก่ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ทาให้เกิดโรคมาลาเรีย
  • 9. เมื่อเข้าสู่คนจะเรียกSporozites มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ (เจริญได้ดีอยู่ในตับ และเมื่อเซลล์ตับถูกทาลายจะเข้าสู้กระแสเลือด)  ซิลิเอต (Ciliates) ใช้ซิเลียในการเคลื่อนที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีน้า หรือมีความชื้น สูง เช่น พารามีเซียม วอร์ติเซลลา (Vorticlla) 4.) สตรามีโนฟิลา (Stramenopilla) เป็นพวกสาหร่าย (Algae) สามารถสังเคราะห์แสงได้ มีลักษณะร่วมกันคือเซลล์สืบพันธุ์ มีเเฟลเจลล่าที่มีขนและไม่มีขน  สาหร่ายสีน้าตาล (Phaeophyta) ลักษณะเด่น มีหลายเซลล์ มีรงควัตถุสีน้าตาลคือ ฟิวโคแซนทีน (flucoxantin) พบเฉพาะในน้าเค็มอยู่ในกระแสน้าเย็น เช่น เคล์ปยักษ์ ใช้ทาปุ๋ ย) หรือสาหร่ายกัมบุ สาหร่ายทุ่น หรือซาร์กัสซัม (อาหารไอโอดีนสูง)  ไดอะตอม (Diatom) สาหร่ายสีน้าตาลแกมเหลือง ลักษณะเด่นมีเซลล์เดียว ผนังเซลล์ประกอบด้วยแก้วซิลิกา มีรงควัตถุ (คลอโรฟิลล์เอ, ซีแคโรทีนอยด์) เช่นไดอะตอม (แพลงก์ตอน) ประโยชน์ทายาสีฟัน ยาขัดโลหะฉนวนความร้อน ไดอะตอมเอิร์ท (Diatommaceous Earth) เกิดจากซากของ ไดอะตอม ทับถมกันนานๆ 5.) โรโดไฟตา (Rhodophyta) สาหร่ายสีแดง ลักษณะเด่น คือมีหลายเซลล์ มีรงควัตถุสีแดง คือ ไฟโออีรีทรีน (Phycoerythrin) ต่างจากสาหร่ายกลุ่มอื่น คือ ไม่มีระยะแฟลเจลล่า 6.) คลอโรไฟตา (Chlorophyta) สาหร่ายสีเขียว ลักษณะเด่น มีเซลล์เดียวและหลายเซลล์ มีรงควัตถุ (คลอโรฟิลล์เอ, บี, แคโรทีนอยด์) ส่วนใหญ่พบในแหล่งน้าจืด ใช้ทาอาหาร
  • 10. 7.) ไมซีโทซัว (Mycetozoa) ราเมือก มีลักษณะคล้ายอะมีบาและรา พบในพื้นที่ชื้นแฉะ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ราเมือกชนิดพลาสโมเดียม (มีหลายนิวเคลียส) และราเมือกชนิดเซลล์ลูลาร์ ตัวอย่าง เช่น สเตโมนิทิส ไฟซาลัม ● อาณาจักรโปรติสตา แบบพึ่งพาปรสิต อะมีบาไม่เป็นมิตร พืชใกล้ชิดสาหร่ายไฟ Mixtrop ยูกลีนา ซิลิกาไดอะตอม ราเมือกอยู่เป็นหย่อม บนที่ชื้น ยื่นขาดกิน ● ไดโนแฟตเจลเลต เป็นต้นเหตุขี้ปลาวาฬ สาหร่ายสีน้าตาล เคลป์ยักษ์มีฟิวโคแซน สาหร่ายโรไฟตา พวกนี้หนามีสีแดง จีฉ่ายใช้ทาแกง ไตรโคโมแนสแซดจริงๆ ● ทริปพา พาเหงาหลับ อยู่ในตับพลาสโมเดียม ทาปุ๋ ยโพแทสเซียม พาไดนา สตรามีโน กลอน โปรติสตา
  • 11. 2.1.3 อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) 1. ไมคอร์ไรซา (Micorrhizae) คือ ฟังใจที่อยู่ร่วมแบบพึ่งพากับรากพืช ช่วยในการดูดซึมแร่ธาตุ พบในซากดึกดาบรรพ์ของฟังไจในยุคซิลูเรียน 2. ลักษณะของฟังไจ - มีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ที่ยังไม่พัฒนาเป็นเนื้อเยื่อ สืบพันธ์ทั้งแบบอาศัยเพศ มีเส้นใยเรียกว่า ไฮฟา (Hipha) ผนังเซลล์ของพวกเชื้อราจัดเป็นสารพวกไคติน โครงสร้างของไฮฟา แบ่งออกเป็น 2 แบบ  ไม่มีเยื่อกั้นเซลล์ (Septate hypha)  แบบมีเยื่อกั้นเซลล์ (Coencytic hypha) - ไมซีเลียม (Mycelium) คือกลุ่มของเส้นใยไฮฟา ที่ทาหน้าที่ยึดเกาะอาหาร และส่งเอ็นไซม์ไปย่อยอาหาร สามารถพัฒนาเป็นฟรุตติงบอดี้ (Fruiting body) ซึ่งทาหน้าที่สร้างสปอร์ที่ได้จากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ - สปอร์ของเชื้อรา แบ่งออกเป็น ไซโกสปอร์ (Zygospore), แอสโคสปอร์ (Ascospore) และ เบสิดิโอสปร์ (Basidiospore)
  • 12. Phylum Chytridiomycota Phylum Zygomycota Phylum Ascomycota Phylum Basidiomycota ฟังไจมี 4 ไฟลัม 1.) ไฟลัมไคทริดิโอไมโคตา (Phylum Chytridiomycota) หรือ ไคทริด ลักษณะเด่นเป็นกลุ่มแรกที่มีวิวัฒนาการมาจากพวกโปรติสต์ มีสปอร์ที่มีการเคลื่อนที่โดยใช้แฟลเจลลา (เหมือนอสุจิ) ส่วนใหญ่อาศัยในน้า เป็นปรสิตในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า 2.) ไฟลัมไซโกไมโครไฟตา (Phylum Zygomycota) เป็นฟังไจที่ดารงชีวิตบนบก เช่น ราดา (Rhizopus sp.) เป็นราที่ขึ้นในขนมปัง ไฮฟาไม่มีเยื่อกั้นเซลล์ ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม สืบพันธุ์โดยสร้างไซโกสปอร์ (Zygospore) 3.) ไฟลัมแอสโคไมโครตา (Phylum Ascomycota) พบมาในทะเล ทั้งบนบก และน้าจืด สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยสร้าง แอสโคสปอร์ (Ascosporic) เช่น ยีสต์ เห็ดโมเรล ราแดง กลากเกลื้อนและทรัฟเฟิล (เห็ดเผาะ) 4.) เบสิดิโอไมโคตา (Phylum Basidiomycota) มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยสร้างเบสิดีโอสปอร์ (Basidiospore) อยู่ข้างล่างของฟรุตติงบอดี เช่น เห็ดหอม เห็ดฟาง เห็ดต่าง ราสนิม ราเขม่าดา รวมทั้งไมคอร์ไรซา  ฟังไจอิมเพอร์เฟคไท (Fungi imperect) คือฟังไจที่ไม่พบระยะสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มใดได้เช่น ราเพนนิซิเลียม (Penicillium sp) นามาพัฒนาสาหรับปฏิชีวนะ (เพนนิซิลิน) - ประโยชน์เชื้อรา ได้แก่ อาหาร (เห็ด) แอลกอฮอล์ (ยีสต์) ยา (เพนนิซิลิน) - โรคที่เกิดจากเชื้อรา ได้แก่ กลาก เกลื้อน เท้าเปื่อย Fungi kingdom
  • 13. - อะฟลาท๊อกซิน (Aflatoxin) เป็นสารก่อมะเร็งในตับ สร้างจาก ราแอสเพจิสลัส (Aspergilus flavus)  ฟังไจ พวกเชื้อรา มีไฮฟาเป็นเส้นใย แบ่งปันเป็นสี่กลุ่มใหญ่ ไคทริคไซร์เกิดก่อนมา  ตามด้วยไซโกไมโคตา อยู่แน่นหนาขนมปัง เบสิดิโอกลุ่มนี้ดัง เห็ดส่วนใหญ่และไมคอร์ซา  ส่วนพวกแอสโคไมด์ รู้จักใน ยีสต์ราแดง เพนนิซิลินอยากแอบแฝง แต่อยู่ในฟังไจไม่สมบูรณ์ กลอน ฟังไจ
  • 14. 2.1.4 อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) 1. พืชมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันทางวิวัฒนาการกับ สาหร่ายไฟในกลุ่มคาโรไฟตา (Chlorophyta) 2. สารที่ใช้การสังเคราะห์แสงพืชคือ คลอโรฟิลล์เอ และคลอโรฟิลล์บี 3. พืชที่มีการปรับตัวเพื่อดารงชีวิต ● การปรับตัวด้านโครงสร้าง (รากที่สามารถดูดน้า, เนื้อเยื่อในการลาเลียง มีปากใบเป็นทางผ่านเข้าออกของแก๊สต่างๆ) ● การปรับตัวด้านองค์ประกอบเคมี (ลิกนินทาให้พืชแข็งแรง, คิวทินปกคลุมผิวใบและลาต้นป้ องกันสูญเสียน้า) ● การปรับตัวด้านการสืบพันธ์ (เซลล์สืบพันธ์เพศเพศเมียมีเนื้อเยื่อป้ องกันเซลล์สืบพันธุ์, เจริญเป็นเอ็มบริโอและเป็นต้นสปอร์โรไฟต์ต่อไป, ละอองเรณูมีการป้ องกันน้าน้อย หรือไม่ต้องอาศัยน้าเป็นตัวกลางในการผสมพันธุ์) 4. ประเภทของพืช แบ่งเป็น I. พืชไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง (Nonvascular Plant) II.พืชมีเนื้อเยื่อลาเลียง (Vascula Plant) a) พืชไม่มีเมล็ด b) พืชมีเมล็ด : เมล็ดเปลือย และพืชดอก กลุ่มพืชที่มีเนื้อเยื่อลาเลียง ลักษณะสาคัญ คือ มีไรซอยด์ (Rhizoid) ช่วยในการลาเลียงดูดซึมแร่ธาตุในดิน แผ่นคล้ายใบมีคิวติ- เคิลเคลือบปฏิสนธิโดนใช้น้าเป็นตัวกลาง สปอร์โรไฟต์อาศัยบนแกมีโทไฟต์
  • 15. พืชที่ไม่มีท่อลาเลียง (Non-vascular Plant) Hornwort Liverwort Moss (Anthocerophyta) (Hepatophyta) (Bryophyta)  ไฟลัมไบรโอไฟตา (Phylum Bryophytta) คาว่า Bryo แปลว่า Moss แกมีโทไฟต์มีลักษณะคล้าย ใบเวียนรอบแกนกลาง สปอร์โรไฟต์มีอับสปอร์ช่วยในการกระจายสปอร์ เช่น มอส ข้าวตอกฤๅษี  ไฟลัมเฮปาโทไฟตา (Phylum Hepatophyta ) Hepato = Liver แปลว่า ตับ พืชชนิดนี้สมัยโบราณนามารักษาโรคตับมีแกมีโทไฟต์เป็นต้นและส่วนคล้ายใบ ภายในเซลล์มีหยดน้ามัน สปอร์โรไฟต์มีอับสปอร์เมื่อแก่จะแตกออกเช่น ลิเวอร์เวิร์ท (Liver wort)  ไฟลัมแอนโทซโรไฟตา (Phylum Anthocrophyta) Anthocer ตรงกับคาว่า Horn แปลว่า เขาสัตว์ ต้นมีแกโทไฟต์เป็นแผ่น มีรอยหยัก มีคลอโรพลาสต์เพียง 1 คลอโรพลาสต์เวลล์ สปอร์โรไฟต์ลักษณะเรียวยาวอยู่บนแกมีโทไฟต์ เช่น (Horn wort) ประโยชน์ของกลุ่มพืชไม่มีเนื้อเยื่อลาเลียง ข้าวตอกฤๅษีหรือสแฟกนัมมอส (Sphagnum sp.) ทนต่อการสูญเสียน้าได้ดีจึงนามา รักษาสภาพความชื้นในดิน ถ้าพบในบึงเมื่อตายและมีการทับถม ทาให้เกสภาพดินเป็นกรด ย่อยสลายยากเกิดเป็นเชื้อเพลิง เรียกว่า พิท (Peat)
  • 16. พืชที่มีท่อลาเลียง ไม่มีเมล็ด มีเมล็ด Lycophyta Pterophyta เมล็ดเปลือย พืชดอก -สามร้อยยอด หวายทะนอย หญ้าถอดปล้อง -Cycadophyta ปรง Anthophyta -หวายทะนอย เฟิน ชายผ้าสีดา แหนแดง -Gingkophyta แป๊ ะก๊วย -ตีนตุ๊กแก กระเทียมน้า จอก กูดเกี๊ยะ ผักแว่น -Coniferophyta สนสองใบ -Gnetophyta มะเมื่อย กลุ่มพืชมีเนื้อเยื่อลาลียงที่ไม่มีเมล็ด ลักษณะเด่น มีท่อลาเลียงที่รากและลาต้น สปอร์โรไฟต์ (ช่วงชีวิตยาว) แยกจากแกมีโทไฟต์ (ช่วงชีวิตสั้น) หรืออยู่ร่วมกันช่วงสั้นๆ แบ่งออกเป็น 2 ไฟลัม 1.) ไฟลัมไลโคไฟตา (Phylum Lycophyta) ใบมีขนาดเล็ก มีเส้นใบ 1 เส้น ไม่แตกแขนง ที่ปลายกิ่งของใบ สร้างอับสปอร์ได้แก่ สามร้อยยอด หางสิงห์ ตีนตุ๊กแก กระเทียมน้า ช้องนางคลี่ (มีสปอร์ขนาดใหญ่และเล็ก สร้างอับสปอร์ที่โคนใบ) 2.) ไฟลัมเทอโรไฟตา (Phylum Pterophyta) ได้แก่ หวายทะนอย หญ้าถอดปล้องและเฟิน - หวายทะนอย (Psilotum sp.) ไม่มีใบ ไม่มีราก แต่มีไรซอยด์ อับสปอร์มีขนาดเล็กติดที่กิ่ง หากมีใบจะมีใบขนาดเล็ก - หญ้าถอดปล้อง (Equsistum spp.) มีลาต้นมีข้อปล้องชัดเจน มีลาต้นบนดินและใต้ดิน เรียกว่าไรโซม (Rhizome) ที่ปลายกิ่งจะมีอับสปอร์กระจุกตัวกัน เรียกว่า สโตรบิลัส (Stobilus) - เฟิน (Fern) มีรากมีลาต้นและใบที่แท้จริง (เส้นใบแตกแขนง) ใบอ่อนจะม้วนสร้างอับสปอร์รวมกันเรียกว่า ซอรัส (Sorus) สร้างสปอร์ขนาดเดียวมีโปรทัลลัส (Prothallus) ลักษณะต้นจะมีรูปร่างคล้ายหัวใจทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ (ยกเว้น เฟินน้ามีหลายขนาด)
  • 17. ได้แก่ เฟินใบมะขาม ข้าหลวงหลังลาย ชายผ้าสีดา ย่านลิเภา แหนแดง จอกหูหนู ผักแว่น กูดเกี๊ยะ ประโยชน์กลุ่มพืชเนื้อเยื่อลาเลียงที่ไม่มีเมล็ด - ผักแว่น ทาสมุนไพร กูดแดง ยาแก้โรคผิวหนัง ย่านลิเภา เครื่องจักรสาน - แหนแดง ใช้เพิ่มปริมาณไนโตรเจนในนาข้าว กูดเกี๊ยะ ใบแห้งนามามุงหลังคา - เฟิน ใช้ทาไม้ประดับ เช่น เฟินใบมะขาม เฟินนาคราช ชายผ้าสีดา ข้าหลวงหลังลาย เฟิน หญ้าถอดปล้อง ชายผ้าสีดา หางสิงห์ ย่านลิเภา ผักแว่น
  • 18. ช้องนางคลี่ ผักกูด กลุ่มพืชมีเนื้อเยื่อลาเลียงที่มีเมล็ด ลักษณะเด่น ละอองเรณูมีสเปิร์มอยู่ภายใน เมื่ออับละอองเรณูแตกออกละอองเรณูจะกระจายไปตกที่ออวุล (เซลล์ไข่เจริญอยู่ในออวุล) สืบพันธุ์โดยไม่อาศัยน้าแต่อาศัยลมและสัตว์เป็นพาหะ มีระยะสปอร์โรไฟต์ที่เด่นชัดและยาว ส่วนระยะแกมีโตไฟต์จะมีขนาดเล็กและเท่ากับเฟิน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม  พืชมีเมล็ดเปลือย (Naket seed) จะมีโคน (Cone) ซึ่งเป็นออวุลและละอองเรณูจะติดบนกิ่งหรือรวมกันที่ปลายกิ่ง เมื่อปฏิสนธิออวุลจะเจริญป็นเมล็ดติดที่กิ่งหรือแผ่นใบ แบ่งเป็น 4 ไฟลัม 1.) ไฟลัมไซแคโดไฟตา (Phylum Cycadophita) ลาต้นเตี้ย ใบประกอบแบบนนก โคนเพศผู้เพศเมียแยกจากกัน เช่น ปรง ปรงป่า ปรงเขา เป็นต้น 2.) ไฟลัมกิงโกไฟตา (Philum Gingophita ) ลาต้นใหญ่ มีใบเดี่ยวคล้ายพัด ต้นเพศเมีสร้างออวุลที่ปลาย พบเพียงสปีชีส์เดียว คือ แป๊ ะก๊วย (Ginkgo biloba) 3.) ไฟลัมโคนิเฟอโรไฟตา (Phylum Coniferophyta) โคนเพศผู้และเมียอาจอยู่ต้นเดียวกันหรือแยกต้นกัน เช่น สนสองใบ สนสามใบ สนสามพันปี พญาใบไม้ 4.) ไฟลัมนีโทไฟตา (Phylum Gnetophyta) ต่างจากชนิดอื่นที่พบเวสเซลล์ (Vassel member) ในท่อลาเลียงน้า มีกลีบดอกใบเลี้ยงคล้ายพืชดอก ประโยชน์ของพืชเมล็ดเปลือย
  • 19. ปรง นิยมนามาจัดสวน แป๊ะก๊วย ทาอาหารและสมุนไพร  พืชดอก (Angiosperm) หรือไฟลัมแอนโทไฟตา (Phylum Anthophyta) พืชกลุ่มนี้มีดอกซึ่งเป็นกิ่งเปลี่ยนแปลงมาเป็นโครงสร้างสืบพันธุ์ มีออวุลเจริญในรังไข่ ออวุลของพืชดอกได้รับการปกป้ องได้มากกว่าพืชเมล็ดเปลือย (สนทะเล อยู่ไฟลัมนี้) ซากดึกดาบรรพ์ของพืชดอกในกลุ่มแรกที่พบ คือ วงศ์แอมโบเรลลา (Amborellaceae) สายวิวัฒนาการของพืชดอก ได้แก่ แอมโบเรลลา บัว พวงแก้วกุดั่น พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่ (ระวังพืชพวกนี้ชอบเอามาหลอก ได้แก่ จอก แหน ไข่น้า สนปฏิพัทธ์ สนทะเล สาหร่ายข้าวเหนียว สาหร่ายหางกระรอก พวกนี้จัดเป็นพืชดอก) ความแตกต่างระหว่างพืชใบเลี้ยงคู่กับใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู่ - ใบเลี้ยง 1 ใบ - เส้นใบเรียงขนาน - กลีบดอก 3 กลีบ - ลาต้นท่อลาเลียงกระจายตัว - รากฝอย - ละอองเรณู 1 รู - ใบเลี้ยง 2 ใบ - เส้นใบร่างแห - กลีบดอก 4-5 กลีบ - ลาต้นท่อลาเลียงกระจายตัว - รากแก้ว - ละอองเรณูมี 3 รู
  • 20. 2.1.5 อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia) 1. มีแนวคิดว่าอาณาจักรสัตว์วิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษของแฟลเจลเลต 2. ซากดึกดาบรรพ์ที่ค้นพบเกี่ยวกับสัตว์เป็นไฟลัมไดนาเรียและมอลลัสกา 3. ซากดึกดาบรรพ์ของสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ ( Fossil Living ) ได้แก่ ลิ่นทะเล ปลาซีแคนท์ แมงดาทะเล แมลงสาบ แมงปอ ต้นแป๊ ะก๊วย 4. เกณฑ์การจาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มต่างๆ พิจารณา 1.) เนื้อเยื่อ (เนื้อเยื่อไม่จริงกับเนื้อเยื่อจริง) 2.) ลักษณะสมมาตร แบ่งเป็นสมมาตรรัศมีกับสมมาตรด้านข้าง 3.) การเปลี่ยนแปลง บลาสโทพอร์ มี 2 แบบ - โพสโทสโทเมีย (Protosmia ปากเกิดก่อนตูด) หนอนตัวแบน หอย หนอนกลม หนอนมี ปล้อง แมลง - ดิวเทอโรสโทเมีย (Deuterostomia ตูดเกิดก่อนปาก)ได้แก่ ดาวทะเล สัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 21. 4.) การเจริญในระยะตัวอ่อน โดยเฉพาะระยะโพสโทสโทเมีย (Protostomia ) 2 แบบ - แบบโทรโคฟอร์ (Trochophore) ตัวอ่อนมีซีเลีย ทาให้เคลื่อนที่ได้ไม่มีการลอกคราบ พบใน หนอนตัวแบน หนอนมีปล้อง หอย
  • 22. - แบบเอคไดโซซัว (Ecdysozoa) เป็นกลุ่มที่ตัวอ่อนลอกคราบได้ พบในหนอนตัวกลมและแมลง 5.) ช่องลาตัว (Coelem) คือ ช่องระหว่างผนังลาตัวและผนังทางเดินอาหาร ภายในมีของเหลวทาหน้าที่แทนระบบไหลเวียน เป็นพื้นที่ว่างให้อวัยวะภายในขยายตัว และลดแรงกระแทกได้ - กลุ่มที่ไม่มีช่องลาตัวหรือไม่มีช่อง (Acoelomate) เป็นกลุ่มอัดแน่นไปด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ไม่มีช่องว่างภายในพบในหนอนตัวแบน - กลุ่มที่ไม่มีช่องตัวเทียม (Pseudocoelmate) มีช่องว่างภายในลาตัวไม่มีเนื้อเยื่อบุกั้นเป็นขอบเขต อยู่ระหว่างเมโซเดิร์ม พบในหนอนตัวกลม - กลุ่มช่องตัวแท้จริง (Coelomate) มีช่องตัวแทรกอยู่ระหว่างทางเดินอาหาร ( เนื้อเยื่อที่พัฒนามาจากเอนโดรเดิร์ม) และกล้ามเนื้อ (เนื้อเยื่อที่พัฒนามาจากเอนโซเดิร์ม) พบในไส้เดือนดิน แมลง สัตว์มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเด่นของอาณาจักรสัตว์
  • 23. - มีการเคลื่อนที่ตลอดชีวิตหรือบางช่วงชีวิต - มีหลายเซลล์และพัฒนาเป็นเนื้อเยื่อ - มีระยะเอ็มบริโอ (อาณาจักรอื่นไม่มี) - ไม่มีผนังเซลล์และคลอโรฟิลล์ (สร้างอาหารเองไม่ได้) - มีเยื่อหุ้มเซลล์ซึ่งโครงสร้างค้าจุนและเกี่ยวพัน เป็นโปรตีนคลอลาเจนซึ่งพบเฉพาะในสัตว์เท่านั้น - มีระบบประสาทและทางเดินอาหาร 1. ไฟลัมฟอริเฟอร่า (Phylum Porifera) Pori แปลว่า รู ลักษณะเด่น คือ - ไม่มีเนื้อเยื่อแท้จริง ไม่มีสมมาตร มีรูพรุนรอบตัว ช่องน้าเข้าด้านบนเรียกว่า Osulum - ส่วนที่เรียกว่า โคเอนโนไซต์ (Coanoctye) - มีแฟกเจลลาในการพัดโบกอาหาร เข้าสู่อะมีบอยด์เซลล์ (Amoebiod cell) ดักจับเหยื่อและย่อย - มีโครงสร้างค้าจุน เรียกว่า สปิคุล (Spicule) - การจาแนกฟองน้าเป็นชนิดต่างอาศัยสปิคุล - ตัวอ่อนเคลื่อนที่ได้โตเต็มวัยไม่เคลื่อนที่ - สืบพันธ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ ฟอริเฟร่า แปลว่า รู สปิคุลคอยค้าจุน พวกนี้มีรูพรุน โคแอนโนไซต์ ใช้พัดกิน
  • 24. - 2. ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) ลักษณะเด่น คือ มีช่องว่างกลางลาตัว เนื้อเยื่อ 2 ชั้น มีรูปร่าง 2 แบบ ทรงกระบอก (Polyp) และคล้ายร่ม ( Medusa ) เป็นพวกแรกที่มีระบบประสาท เรียกว่า Nerve net สืบพันธุ์แบบสลับ ตัวอย่างสัตว์ในไฟลัมไนดาเรีย เช่น ดอกไม้ทะเล ปะการัง (ผสมพันธุ์ในน้าตัวอ่อน เรียกว่า พลานูล่า (Planula)) กัลปังหา แส้ทะเล แมงกะพรุน ไฮดรา โอบิเลีย เป็นต้น
  • 25. 3. ไฟลัมเพลติเฮลมินเทส (Platyhelminthes) ลักษณะเด่น คือ - มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น จาพวกแรก ไม่มีช่องลาตัว (Acoelomait) - มีการดารงชีวิตแบบ เป็น ปรสิต (พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้) และดารงชีวิตแบบอิสระ เช่น พลานาเลีย
  • 26. - มีระบบประสาทแบบ Nevre Cord (เส้นประสาท) อาศัยเฟรมเซลล์ (Flame Cell) ในการกาจัดของเสีย - มี 2 เพศในตัวเดียว (Hermaphodite) - มีช่องอาหารภายในลาตัว (Gastrovascula cavity) 4. ไฟลัมนีมาโทดา (Nematoda) หนอนตัวกลมไม่มีปล้อง ลักษณะเด่น คือ ทางเดินอาหารสมบูรณ์พวกแรก มี ช่องตัวเทียม (Psuedoceolum) ตัวอ่อนลอกคราบได้ มี (Cuticle) อาศัยการเคลื่อนที่โดยการบิดตัวของกล้ามเนื้อตามยาว แยกเพศ ได้แก่ พยาธิไส้เดือน ปากขอ เส้นด้าย แส้ม้า ตัวจี๊ด ไส้เดือนฝอย พยาธิโรคเท้าช้าง หนอนในน้าส้มสายชู
  • 27. 5. ไฟลัมแอนนิลิดา (Annelida) หนอนตัวกลมมีปล้อง ลักษณะเด่น คือ มีเยื่อกั้นระหว่างปล้อง มีระบบเลือดพวกแรก ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ตัวสงกรานต์หนอนดอกไม้ทากดูดเลือด ปลิง (ปลิงและทากจะมีสารที่ป้ องกันการแข็งตัวของเลือดที่มาจากปลิงและทาก คือ ฮิรูดิน (Hirudin)
  • 28. 6. ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Arthropoda) ลักษณะเด่น ตัวอ่อนลอกคราบได้ลาตัวเป็นปล้อง มีรยางค์ เปลือกแข็ง (ไคติน) ระบบเลือดแบบเปิดมี (Haemocyabin) เป็นไฟลัมที่มากที่สุดในโลก ระยะตัวอ่อนถูกล่า เมื่อเจริญเติบโต จะกลายเป็นผู้ล่า ได้แก่ แมลง เพรียงหิน
  • 29. - Class Merostomata ส่วนหัวกับส่วนอกรวมกัน ได้แก่ แมงดา - Class Arachnida ส่วนหัวกับส่วนอกรวมกัน มีขา 4 คู่ เช่น แมงป่อง แมงมุม เห็บ ไร - Class Diplopoda เป็นพวกแรกที่วิวัฒนาการอยู่บนบก เช่น กิ้งกือ - Class Chilopoda ตะขาบ - Class Crustacea กุ้ง กั้ง ปู ไรน้า (ลักษณะเด่นมีหนวด 2 คู่) - Class Insecta แมลง จากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์เชื่อว่าวิวัฒนาการก่อนพืชดอก 7. ไฟลัมมอลลัสกา ( Mollusca ) Mollusca แปลว่า นิ่ม
  • 30. ลักษณะเด่น คือ อาจมีเปลือกหรือไม่มีก็ได้ (หมึกยักษ์ไม่มี) มีเมนเทิล (Mantle) ในการสร้างเปลือก ซึ่งเป็นหินปูน (CaCo3) อยู่ในน้าหายใจด้วยเหงือก (ยกเว้นอยู่บนบก เช่น หอยทากหายใจด้วยปอด) มีอวัยวะขับถ่ายด้วยไต (Kidney) การเคลื่อนที่อาศัยโดยท่อ Siphon มีระบบหมุนเวียนโลหิตแบบเปิด ระบบปมประสาท 3 คู่ ได้แก่ หอย หมึก เม่นทะเล 8. ไฟลัมเอไคโนเอร์มาตา (Echinodermata) Echino แปลว่า หนาม derma แปลว่า ผิว ลักษณะเด่น พบในทะเลเท่านั้น ใช้ชีวิตแบบผู้ล่า ตัวเป็นหนามผิวขรุขระ มีสมมาตรสองแบบ ระยะตัวอ่อนเป็นแบบครึ่งซีก พอโตเต็มวัยเป็นแบบรัศมี ไม่มีเลือด ทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีระบบประสาทวงแหวน (Nerve ring) รอบๆปากมีประสาทแยกออกไปการเคลื่อนที่ใช้ระบบหมุนเวียนนาส่งไปยัง ทิวป์ ฟีท (Tube feet) โดยใช้แรงดันน้า ได้แก่ ดาวทะเล อีแปะทะเล ดาวขนนก ปลิงทะเล หอยเม่น พลับพลึงทะเล มอลลัสกา แปลว่านิ่ม เอาไม้จิ้มหอยออกมา เมนเทิลสร้างเปลือกหนา ปลิงทะเลอยู่ด้วยกัน
  • 31. 9. ไฟลัมคอร์ดาตา (Chordata) Chordate กระดูกสันหลัง ลักษณะเด่น มี Notochord ช่วงใดช่วงหนึ่ง หรือตลอดชีวิต มี gill slits (อยู่บริเวณคอหอย) เห็นได้ชัดในระยะเอ็มบริโอ มีท่อประสาทเป็นท่อกลางหนึ่งเส้นกลางหลัง มีหางถัดจากทวารหนัก  ไฟลัมคอร์ดาตาที่ไม่มีกระดูกสันหลัง  ยูโรคอร์เดต (Urochordate) มีถุงหุ้มตัว ตัวอ่อนมีไนโตคอร์ดและหาง ตัวเมื่อโตเต็มวัยจะหดหายไป เช่น เพรียงหัวหอม เอไคโนเดอร์มาตา เป็นผู้ล่าท้องทะเล จาไว้อย่าไขว่คว้า ปลิงทะเลอยู่ด้วยกัน
  • 32.  เซฟาโรคอร์เดต (Cephalochordat ) : มีโนโตคอร์ดตลอดชีวิต มีช่องเหงือกที่คอหอย และมีหาง สัตว์กลุ่มนี้ ได้แก่ แอมฟิออกซัส  ไฟลัมคอร์ดาตาที่มีกระดูกสันหลัง  มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร ปลาปากกลม ลักษณะเด่น คือ ไม่มีขากรรไกร ลาตัวยาวคล้ายปลาไหล มีฟันเล็กๆ แหลมคมมากมาย ลาตัวนิ่ม ไม่มีเกล็ด ไม่มีครีบคู่เหมือนปลาทั่วไป มีเหงือก (Gill Slit) ข้างลาตัวไม่มีครีบปิด ได้แก่ ปลาแฮกพิช (Hagfish) และปลาแลมแพรย์(lamprey)  มีกระดูกสันหลังที่มีกรรไกร
  • 33. A. Class Chondrichtyes ปลากระดูกอ่อน ช่องเหงือกไม่มีแผ่นปิด มีครีบคู่หรือครีบเดี่ยว มีโครงร่างกระดูกที่ยืดหยุ่นตัวดี ไม่มีกระเพาะลม ปฏิสนธิภายในแล้วออกลูกเป็นตัว เช่น ปลาฉลาม ฉนาก โรนัน กระเบน B. Class Osteicthyea ปลากระดูกแข็ง หายใจโดยใช้เหงือกมีแผ่นปิดเหงือก มีถุงลมช่วยควบคุมการลอยตัวในน้า ปฏิสนธิภายนอก (ปลาที่มีครีบเนื้อและปลาปอดสามารถหายใจจากอากาศได้ในช่วงเวลาสั้นๆ) เช่น ม้าน้า ปลาทู C. Class Amphibia สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า มี 4 ขา เท้าแต่ละข้างมี 5 นิ้ว ปลายนิ้วไม่มีเล็บ ผิวหนังไม่มีเกร็ดชื้นทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส ปฏิสนธิภายนอก ตัวอ่อนอยู่ในน้าหายใจโดยเหงือก ตัวเต็มวัยอาศัยบนบกและใช้ปอด ออกไข่ในน้า มีหัวใจ 3 ห้อง เช่น กบ คางคก (ซาลาเมนเดอร์อาศัยในน้าตลอดชีวิต) งูดินอยู่ในคลาสนี้ D. Class Reptilia สัตว์เลื้อยคลาน เป็นสัตว์เลือดเย็น ปลายนิ้วมีเล็บ มีผิวหนังเปลือกแข็งแห้งปกคลุมด้วยเคราทิน (Keratin) ป้ องกันการสูญเสียน้าจากร่าง หายใจด้วยปอด มีหัวใจ 4 ห้องไม่สมบูรณ์ (ยกเว้นจระเข้) กาจัดของเสียในรูปกรดยูริก เช่น จิ้งจก เต่า จระเข้ตุ๊กแก จิ้งเหลน งู กิ้งก่า E. Class Aves สัตว์ปีก มีกระดูกพรุนเป็นโพรง ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ ไม่มีต่อมเหงื่อ ไม่มีต่อมน้านม ปฏิสนธิภายใน ตัวเมียมีรังไข่ข้างเดียว ไข่มีถุงอัลแลนทอยส์ ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซและ กาจัดของเสียในรูปกรดยูริก มีไข่แดงปริมาณมาก เชื่อว่า วิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลานที่พบซากดึกดาบรรพ์ของอาร์คีออพเทริกซ์ (Archaeopteryx) ซึ่งมีลักษณะเหมือนสัตว์เลื้อยคลานแต่มีขนเหมือนนก F. Class Mammalia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เพศเมียมีต่อมน้านม มีขนปกคลุมลาตัว ปฏิสนธิภายในตัวอ่อนเจริญในมดลูก ได้รับอาหารผ่านรก แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม - กลุ่ม Monotremes ตุ่นปากเป็ดและตัวกินมดมีหนาม ลักษณะออกลูกเป็นไข่ มีขนแข็งคล้ายเม่น และมีต่อมน้านมพบเฉพาะในออสเตรเลียและนิวกีนีเท่ากัน
  • 34. - กลุ่ม Marsupial ตั้งท้องในระยะเวลาใกล้มาก ทาให้ตัวอ่อนที่คลอดออกมามีขนาดเล็กและคลานเข้าไปในถุงหน้าท้องของแม่ ภายในมีต่อมน้านมที่มีหัวนมสาหรับเลี้ยงตัวอ่อน เช่น จิงโจ้โอโพสซัมและโคอาล่า - กลุ่ม Eutherians สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีรก ตัวอ่อนเจริญเติบโตในมดลูก เช่น ลิง สุนัข สุกร ปลา วาฬ โลมา แมวน้า สิงโตทะเล คน 2.1 การตัดต่อวิดีโอด้วยโปรแกรม Ulead VideoStudio 11 1 . ถ่ายวิดีโอแล้วเตรียมวิดีโอที่จะทาการตัดต่อ
  • 35. 2. เปิดโปรแกรม Ulead VideoStudio 11 แล้วเลือก Video Studio Editor 3. จากนั้นคลิก Open File ตามรูป เพื่อเลือกไฟล์
  • 36. 4. เลือกไฟล์ที่เราต้องการ จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Open 5.จะได้ไฟล์ที่เราต้องการ ซึ่งแสดงดังภาพ
  • 39. 10. หากต้องการใส่ Effect ให้กับรูปภาพหรือวิดีโอ ให้คลิกท่าปุ่ม Effect ดังรูป 11. สามาเลือก Effect ที่ต้องการได้ตามใจชอบ
  • 40. 12. เมื่อได้ Effect ตามที่ต้องการแล้ว ให้ลากมาใส่ในบริเวณที่เราต้องการ ดังรูป 13. เมื่อทาเสร็จแล้วให้ตรวจสอบรายละเอียดให้ครบเพื่อจะได้ไม่เสียเวลากลับมาแก้ไขงาน
  • 41. 14. เมื่อตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม Share ดังรูป เพื่อทาการบันทึกไฟล์งาน 15. จากนั้นคลิกที่ Create Video File จะได้แถบรายการขึ้นมา ดังรูป
  • 42. 16. จากนั้นคลิกที่ HDV แล้วเลือก HDV 1080i – 60i (for pc) หรืออื่นๆตามความประสงค์ 17. จากนั้นจะมีหน้าต่างดังรูปขึ้นมา ให้ตั้งชื่อไฟล์แล้วกด Save
  • 43. 18. โปรแกรมจะทางานประมวลผลวีดีโอที่เราตัดต่อ รอจนเสร็จสิ้น 19. เมื่อโปรแกรมประมวลผลเสร็จ ก็ได้วิดีโอที่เราตัดต่อขึ้นมาดังรูป
  • 44. 20. จากนั้นนาวิดีโอที่ได้ อัพโหลดขึ้น YouTubeเพื่อนาไปปรับใช้กับโครงงาน 2.3 การทาเว็บไซต์โดยผ่าน Google Site
  • 45. การเริ่มต้นสร้าง Site  สมัครเข้าใช้งาน โดยเข้าไปที่ URL: www.google.com/sites แล้วลงชื่อเข้าใช้ Gmail โดยกรอก Email และ Password คลิกปุ่ม “ลงชื่อเข้าใช้งาน”  เลือกปุ่ม “สร้าง”  เลือกเทมเพลตที่จะใช้ หากต้องการเลือกดูเทมเพลตอื่นๆ ให้คลิกที่ “เลือกดูเพิ่มเติมในแกลเลอรี่” ซึ่งในที่นี้จะเลือกเป็นแบบ แม่แบบว่างเปล่า  ตั้งชื่อไซต์ (title) ของคุณ สาหรับส่วนของตาแหน่งไซต์ google sites จะทาการตั้งให้โดยอัติโนมัติ  เลือกธีมแสดงในเว็บไซต์ ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนในภายหลังได้  ตัวเลือกเพิ่มเติม ส่วนนี้จะให้ใส่คาอธิบายเว็บไซต์ และมีให้เลือกว่าเนื้อหาภายในเว็บไซต์เหมาะสาหรับผู้ใหญ่เท่านั้น  พิมพ์รหัสตามที่ปรากฏเพื่อยืนยันว่าเป็นมนุษย์ไม่ใช่ Bot ของ Google หรือ Spam จากเว็บต่างๆ
  • 46.  คลิปปุ่ม “สร้าง”  เมื่อสร้างไซต์เสร็จแล้วจะปรากฏหน้าตาเว็บไซต์ดังภาพ จากนั้นเริ่มตกแต่งเว็บไซต์
  • 47. การใช้งาน Theme  ตกแต่งเว็บไซต์ โดยการเปลี่ยน Theme เพื่อให้เว็บไซต์มีรูปแบบแสดงที่สวยงาม โดยคลิกเลือก “เพิ่มเติม” การเพิ่มรูปภาพ
  • 48.  คลิกปุ่ม “แก้ไขหน้าเว็บ” แล้วเลือกปุ่ม “แทรก” แล้วเลือกเมนู “รูปภาพ”  จะปรากฏ Dialog box เพิ่มภาพ จากนั้นให้อัพโหลดภาพโดยเลือก “เลือกไฟล์” แล้วคลิกที่ไฟล์ภาพที่ต้องการ การเพิ่มลิงค์
  • 49.  การเชื่อมโยงลิงค์ภายในเว็บไซต์ ให้คลิกปุ่ม “แก้ไขหน้าเว็บ” เลือกปุ่ม “แทรก” แล้วเลือกเมนู “ลิงค์”  จะปรากฏ Dialog box สร้างลิงค์ เลือกหน้าเว็บไซต์ที่ต้องการจะเชื่อมโยง ซึ่งสามารถดูได้จาก แผนผังไซต์ และ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลล่าสุดบนเว็บไซต์ เสร็จแล้วเลือกปุ่ม “ตกลง”  การเชื่อมโยงลิงค์จากภายนอก จะปรากฏ Dialog box สร้างลิงค์ ซึ่งในที่นี้จะเลือกใช้แบบ “ที่อยู่เว็บ”
  • 50.  โดยใส่ข้อความที่ช่อง “ข้อความที่จะแสดง” และ ใส่ URL ที่ช่อง ลิงค์ไปที่ URL นี้ หากต้องการให้ลิงค์เปิดในหน้าต่างใหม่ ให้ทาเครื่องหมายที่ checkbox “เปิดลิงค์นี้ในหน้าต่างใหม่”  เสร็จแล้วคลิกปุ่ม “ตกลง” การเพิ่มหน้าเพจเว็บไซต์  เริ่มต้นสร้างหน้าเพจ โดยคลิกที่ปุ่ม ด้านบนขวาของหน้าจอ  เมื่อเปิดหน้าสร้างเพจใหม่ขึ้นมาแล้ว กรอกชื่อ ตั้งชื่อหน้าเว็บ การสร้างวิดีโอ
  • 51.  คลิกปุ่ม “แก้ไขหน้าเว็บ” เลือกปุ่ม “แทรก” แล้วเลือกเมนู “วิดีโอ”  นา URL วิดีโอจาก youtube มาวางในช่อง “วาง URL วิดีโอ YouTube ของคุณ” แล้วคลิกปุ่ม “บันทึก”
  • 52. 2.4 การทาแบบทดสอบโดนผ่าน Google Docs  ขั้นตอนการสร้างข้อสอบออนไลน์ ไปที่ http://docs.google.com การสร้างข้อสอบออนไลน์ด้วย Google Docs  จากนั้น คลิกที่ “ไดร์ฟ”
  • 53.  จากนั้นจะขึ้นหน้าเว็บดังรูป แล้วคลิกที่ “สร้าง”  จากนั้นกรอกชื่อแบบทดสอบในช่องด้านบน