SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  107
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือการพิมพวิทยานิพนธ
              ของ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร




สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
      ปรับปรุง พ.ศ. 2552
คูมือการพิมพวิทยานิพนธของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
ฉบับพิมพครั้งที่ 3 พ.ศ. 2552
จํานวน       เลม

ลิขสิทธิ์ของ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
สงวนลิขสิทธิ์

 ขอมูลการลงรายการในสิ่งพิมพ

 คูมือการพิมพวทยานิพนธของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร/
                ิ
              สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.—ฉบับพิมพครั้งที่ 3.—
              กรุงเทพฯ: สถาบัน, 2552.
              (7), 101 หนา : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
              ISBN 974-231-623-6

           1. วิทยานิพนธ—รายงาน. 2. การเขียนรายงาน.
 LB 2369 ค416                                        NIDACIP
                                                        2009

จัดพิมพโดย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ถนนเสรีไทย เขตบางกะป
            กรุงเทพมหานคร 10240
แบบปกโดย
สารบัญ

                                                                            หนา

คํานํา                                                                       (3)
สารบัญ                                                                       (4)
สารบัญภาคผนวก                                                                (6)

บทที่ 1 สวนประกอบของวิทยานิพนธ                                               1
        1.1 สวนประกอบตอนตน                                                   1
        1.2 สวนเนื้อเรื่อง                                                    2
        1.3 สวนอางอิงและสวนประกอบตอนทาย                                    3
บทที่ 2 การพิมพวิทยานิพนธ                                                    4
        2.1 หลักเกณฑทั่วไป                                                    4
        2.2 หลักเกณฑการพิมพสวนประกอบตาง ๆ                                  6
            2.2.1 การพิมพสวนประกอบตอนตน
                                                                              6
            2.2.2 การพิมพบทที่ หัวขอในบท และสวนเนื้อเรื่อง                 11
            2.2.3 การพิมพตาราง และภาพประกอบ                                  13
            2.2.4 การพิมพบรรณานุกรม                                          15
            2.2.5 การพิมพภาคผนวก                                             16
            2.2.6 การพิมพประวัติผูเขียน                                     17
บทที่ 3 การเขียนเอกสารอางอิง                                                 18
        3.1 หลักการเขียนรายการอางอิง                                         18
        3.2 วิธีการเขียนนามผูแตง                                            20
        3.3 วิธีการอางอิงโดยผูแตง                                          21
        3.4 วิธีการอางอิงเอกสารทุติยภูมิ หรือเอกสารที่ไมใชตนฉบับโดยตรง
                                                                             23
        3.5 วิธีการอางอิงโดยการคัดลอกขอความ                                 24
(5)

บทที่ 4 การเขียนบรรณานุกรม                                                         27
        4.1 หนังสือ                                                                27
            4.1.1 บรรณานุกรมหนังสือ                                                27
            4.1.2 บรรณานุกรมหนังสือแปล                                             29
            4.1.3 บรรณานุกรมหนังสือชุด                                             29
        4.2 บทความ                                                                 30
            4.2.1 บรรณานุกรมบทความในสารานุกรม                                      30
            4.2.2 บรรณานุกรมบทความในหนังสือ รายงานการประชุมทางวิชาการ              30
                    สัมมนาทางวิชาการ
            4.2.3 บรรณานุกรมบทความในวารสาร                                         31
            4.2.4 บรรณานุกรมบทความในวารสารรายสัปดาห                               31
            4.2.5 บรรณานุกรมขาวและบทความในหนังสือพิมพ                            32
        4.3 งานวิจย ั                                                              33
            4.3.1 บรรณานุกรมวิทยานิพนธ                                            33
            4.3.2 บรรณานุกรมภาคนิพนธ และสารนิพนธ                                 33
            4.3.3 บรรณานุกรมรายงานการวิจย และเอกสารวิจยทีเ่ สนอตอหนวยงานตาง ๆ
                                          ั            ั                           34
            4.3.4 บรรณานุกรมบทคัดยอวิทยานิพนธในสิ่งพิมพ                         34
        4.4 เอกสารพิเศษ                                                            35
            4.4.1 บรรณานุกรมสิ่งพิมพกฎหมาย                                        35
            4.4.2 บรรณานุกรมสิ่งพิมพรัฐบาล                                        35
            4.4.3 บรรณานุกรมเอกสารจดหมายเหตุ                                       36
        4.5 บรรณานุกรมเอกสารทุติยภูมหรือเอกสารที่ไมใชตนฉบับโดยตรง
                                      ิ                                            37
        4.6 บรรณานุกรมบทสัมภาษณ                                                   37
        4.7 บรรณานุกรมสื่อโสตทัศน                                                 37
        4.8 สื่ออิเล็กทรอนิกส                                                     39
            4.8.1 บรรณานุกรมเอกสารอิเล็กทรอนิกส                                   39
            4.8.2 บรรณานุกรมหนังสือพิมพออนไลน                                    41
            4.8.3 บรรณานุกรมขอมูลจากแหลงสารนิเทศสากล                             41
            4.8.4 บรรณานุกรมบทคัดยอวิทยานิพนธในฐานขอมูล                         42
ภาคผนวก                                                                            43
สารบัญภาคผนวก

                                                   หนา

ตัวอยางหนาปกใน                                     44
ตัวอยาง Title Page                                  45
ตัวอยางหนาอนุมติั                                  46
ตัวอยาง Approval Page                               47
ตัวอยางหนาบทคัดยอ                                 48
ตัวอยางหนา Abstract ปริญญาโท                       50
ตัวอยางหนา Abstract ปริญญาเอก                      52
ตัวอยางหนากิตติกรรมประกาศ                          54
ตัวอยางหนา Acknowledgements                        55
ตัวอยางหนาสารบัญ                                   56
ตัวอยางหนา Table of Contents                       58
ตัวอยางหนาสารบัญตาราง                              61
ตัวอยางหนา List of Tables                          63
ตัวอยางหนาสารบัญภาพ                                65
ตัวอยางหนา List of Figures                         66
ตัวอยางหนาสัญลักษณและคํายอ                       67
ตัวอยางหนา Abbreviations                           68
ตัวอยางการพิมพหัวขอ และบทที่                      69
ตัวอยางการพิมพ Chapters and Headings               70
ตัวอยางการพิมพตาราง                                71
ตัวอยางการพิมพตารางแนวนอน                          72
ตัวอยางการพิมพตารางที่มีชื่อยาว และการตอตาราง     73
ตัวอยางการพิมพตารางที่มีแหลงที่มา และหมายเหตุ     78
ตัวอยางการพิมพตารางที่มี Source และ Note           79
ตัวอยางการพิมพภาพประกอบ                            80
(7)

ตัวอยางการพิมพ Figures                                       81
ตัวอยางบรรณานุกรม                                             83
ตัวอยาง Bibliography                                          92
ตัวอยางหนาประวัติผูเขียน                                    94
ตัวอยางหนา Biography                                         95
ตัวอยางการลงชื่อสํานักพิมพในบรรณานุกรม                       96
ตัวอยางสันปก                                                  98
การสงตนฉบับวิทยานิพนธ                                      100
รายชื่อคณะกรรมการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธสํานักบรรณสารการพัฒนา   101
บทที่ 1

                            สวนประกอบของวิทยานิพนธ

       วิทยานิพนธประกอบดวยสวนตาง ๆ 3 สวน คือ
       1. สวนนําหรือสวนประกอบตอนตน (Preliminaries or Front Matters)
       2. สวนเนื้อเรื่อง (Text)
       3. สวนอางอิงและสวนประกอบตอนทาย (Reference and Supplementary Matters)
       ในแตละสวน ประกอบดวยสวนยอย ๆ ดังนี้

1.1 สวนนําหรือสวนประกอบตอนตน ประกอบดวย

        1.1.1 ปกนอก (Cover or Binding) คือ สวนที่เปนปกหุมวิทยานิพนธ ประกอบดวย ปก
                                                          
หนา ขอบสันปกและปกหลัง กระดาษที่ใชเปนกระดาษแข็ง วิทยานิพนธปริญญาเอกใชสีน้ําเงินเขม
วิทยานิพนธปริญญาโทใชสีดํา

         1.1.2 ใบรองปก (Fly Leaf or Blank Page) เปนกระดาษวางเปลา ขนาดเดียวกับกระดาษ
ที่ใชพิมพวิทยานิพนธ รองปกทั้งปกหนาและปกหลังดานละ 1 แผน

       1.1.3 หนาชื่อเรื่อง (Title Page) ใหมีขอความเหมือนกับปกหนา ทั้งตําแหนงขนาดและ
ชนิดของตัวอักษร

       1.1.4 หนาอนุมัติ (Approval Page) เปนหนาสําหรับคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธลง
นามอนุมัติวิทยานิพนธ โดยหนาอนุมัตใหใชภาษาเดียวกับภาษาทีใชเขียนวิทยานิพนธ
                                   ิ                       ่
2

        1.1.5 หนาบทคัดยอ (Abstract) เปนการยอเนื้อความวิทยานิพนธทั้งหมดใหครอบคลุม
วัตถุประสงคของการศึกษาวิจัย วิธีดําเนินการวิจย ผลการวิจัยและขอเสนอแนะ
                                              ั

       1.1.6 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) เปนขอความกลาวขอบคุณบุคคลหรือ
หนวยงานทีใหคําแนะนําหรือใหความชวยเหลือรวมมือในการทําวิทยานิพนธมีความยาวไมเกิน 1
          ่
หนา

        1.1.7 สารบัญ (Table of Contents) เปนรายการที่แสดงสวนประกอบที่สําคัญทั้งหมดของ
วิทยานิพนธ เรียงตามลําดับหมายเลขของหัวขอตาง ๆ ทีปรากฏอยูในวิทยานิพนธ
                                                   ่

      1.1.8 สารบัญตาราง (List of Tables) เปนรายการที่แสดงชื่อและหนาของตารางทั้งหมดที่
ปรากฏในวิทยานิพนธ โดยเรียงตามลําดับหนาเชนเดียวกับสารบัญ

       1.1.9 สารบัญภาพ (List of Figures) เปนรายการที่แสดงชื่อและหนาของภาพหรือแผนภูมิ
หรือแผนที่หรือกราฟทั้งหมดที่ปรากฏในวิทยานิพนธ โดยเรียงตามลําดับหนาเชนเดียวกับสารบัญ
ตาราง

       1.1.10 คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (Abbreviations and Symbols) เปนการอธิบาย
สัญลักษณและคํายอตาง ๆ ที่มีผูกําหนดไวแลวหรือผูเขียนกําหนดขึนใชในวิทยานิพนธ
                                                                  ้


1.2 สวนเนือเรื่อง
           ้

        โดยทั่วไปแลวในสวนของเนือเรื่องอยางนอยจะตองประกอบดวย บทนํา (Introduction)
                                   ้
กรอบแนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) วิธีการวิจย (Methodology)
                                                                         ั
การวิเคราะหและผลการวิจัย (Finding and Result) สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ (Conclusion,
Discussion and Recommendation)
        ในสวนของเนื้อเรื่องอาจเปลี่ยนแปลงการเรียงลําดับเนื้อหาไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้
ใหอยูในดุลยพินิจของอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ
      
3

1.3 สวนอางอิงและสวนประกอบตอนทาย ประกอบดวย

          1.3.1 บรรณานุกรม (Bibliography) เปนสวนแสดงรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร
สิ่งพิมพ โสตทัศนวัสดุ หรือบุคคลที่ผูเขียนใชอางถึงในการวิจัย เพื่อใหวิทยานิพนธมีความ
นาเชื่อถือทางวิชาการ และเปนประโยชนตอผูอานที่ประสงคจะคนควาเพิ่มเติมในเรืองนั้น ๆ ตอไป
                                                                                ่
บรรณานุกรมใหอยูตอจากสวนเนื้อเรื่องและกอนภาคผนวก การเขียนบรรณานุกรมจะตองถูกตอง
ตามหลักเกณฑสากล

        1.3.2 ภาคผนวก (Appendix) เปนสวนเพิมเติมเพื่อใหวทยานิพนธมีความสมบูรณยงขึ้น
                                                 ่           ิ                        ิ่
หรือเปนสวนเสริมใหเกิดความเขาใจชัดเจนขึ้น ภาคผนวกเปนขอมูลที่ใชในการเขียนวิทยานิพนธ
แตไมไดอางอิงโดยตรง ไดแก
                1.3.2.1 แบบสอบถาม
                1.3.2.2 แบบสัมภาษณ
                1.3.2.3 ผลการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ ที่นอกเหนือจากที่ระบุไวในผลการวิจัย
                1.3.2.4 การสรางเครื่องมือหรืออุปกรณทใชในการวิจย
                                                      ี่         ั
                1.3.2.5 ภาพประกอบตาง ๆ ฯลฯ

        1.3.3 ประวัตผูเขียน (Biography) คือประวัติการศึกษาและการทํางานโดยยอของผูเขียน
                    ิ
วิทยานิพนธ มีความยาวไมเกิน 2 หนา จัดเรียงไวหนาสุดทายของวิทยานิพนธ
บทที่ 2

                                 การพิมพวิทยานิพนธ

2.1 หลักเกณฑทั่วไป

      2.1.1 กระดาษที่ใชพิมพ
      ใหใชกระดาษสีขาวไมมีบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 ชนิด 80 แกรม ตองเปนกระดาษที่มี
คุณภาพดี มีผิวเรียบ ไมเคลือบผิว ปราศจากรอยทะลุหรือฉีกขาด ริมกระดาษตองเรียบและไดฉาก
กัน

          2.1.2 การพิมพ
          ใหพิมพหนาเดียว โดยใชโปรแกรม เชน Microsoft Word for Windows และใชเครื่องพิมพ
คุณภาพคมชัด หรือเครื่องพิมพเลเซอร หรือเครื่องพิมพแบบฉีดหมึก ไมใชวิธีพิมพแบบราง (Draft)
ดวยเครื่องพิมพแบบจุด (Dot-Matrix Printer)
                 2.1.2.1 ตัวพิมพ และขนาดของตัวพิมพ (Font)
                 การใชตัวพิมพใหใชตวอักษรสีดํา คมชัด และเปนแบบเดียวกันตลอดทังเลม
                                      ั                                         ้
                         1) วิทยานิพนธภาษาไทย ใหใชตวพิมพแบบใดแบบหนึง ดังนี้ Angsana,
                                                         ั                 ่
Browallia, Cordia, Eucrosia หรือ Freesia โดยใชตวอักษรธรรมดา ขนาด 16 points สําหรับการ
                                                    ั
พิมพเนื้อหาทัวไป
               ่
                         2) วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใหใชตวพิมพแบบ Courier หรือ Times New
                                                           ั
Roman ใชตัวอักษรธรรมดา ขนาด 12 points สําหรับการพิมพเนื้อหาทั่วไป
                 2.1.2.2 การเวนระยะการพิมพ
                 ความกวางระหวางบรรทัดใหใชระบบ 1 บรรทัดพิมพ สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย
และใชระบบ 1.5 Space สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
5

          2.1.3 การเวนที่วางริมขอบกระดาษ
                2.1.3.1 หนาแรกของสวนประกอบตอนตน สวนเนื้อหา และสวนประกอบตอนทาย
                ไดแก หนาปก หนาอนุมติ หนากิตติกรรมประกาศ และหนาแรกของบทคัดยอ
                                          ั
สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สัญลักษณและคํายอ หนาที่ขึ้นบทใหมของแตละบท
บรรณานุกรม ภาคผนวก ดัชนี และประวัติผูเขียน เวนหางจากขอบบน 2 นิว ขอบซาย 1.5 นิ้ว ขอบ
                                                                    ้
ขวาและขอบลาง 1 นิ้ว
                2.1.3.2 หนาที่ 2 ของสวนประกอบตอนตน สวนเนื้อหา และสวนประกอบตอนทาย
                ไดแก หนาที่ 2 เปนตนไป ของบทคัดยอ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ
สัญลักษณและคํายอ เนื้อหา บรรณานุกรม ภาคผนวก ดัชนี และประวัติผูเขียน เวนหางจากขอบบน
1.5 นิ้ว ขอบซาย 1.5 นิ้ว ขอบขวาและขอบลาง 1 นิ้ว

            2.1.4 การพิมพเลขหนา
            หนาแรกของแตละสวน และบทที่ ไมตองพิมพเลขหนา พิมพเลขหนาตั้งแตหนาที่ 2 เปน
ตนไปของหนาบทคัดยอ หนาสารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ หนาสัญลักษณและคํายอ หนา
เนื้อหา หนาบรรณานุกรม หนาภาคผนวก หนาดัชนี และหนาประวัติผูเขียน โดยพิมพไวที่กลาง
หนากระดาษหางจากขอบบน 1 นิ้ว และนับเลขหนาตอเนื่องกัน แบงเลขหนาเปน 2 สวน ดังนี้
                  2.1.4.1 สวนประกอบตอนตน
                  เริ่มนับหนาแรกที่หนาชื่อเรื่อง (Title Page) วิทยานิพนธภาษาไทย พิมพตัวเลข
อารบิก ในเครื่องหมายวงเล็บ (1) (2) (3) . . . วิทยานิพนธภาษาอังกฤษ พิมพตัวเลขโรมันตัวเล็ก i
ii iii . . . ตามลําดับ
                  2.1.4.2 สวนเนื้อเรื่อง สวนอางอิง และสวนประกอบตอนทาย
                  เริ่มนับหนาแรกของบทที่ 1 เปนตนไป โดยพิมพเลขหนา 1 2 3 . . . ตามลําดับ ทั้ง
วิทยานิพนธภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

        2.1.5 การสะกดคํา
        การสะกดคําภาษาไทยที่ใชในวิทยานิพนธ ใหใชพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ฉบับลาสุด เปนเกณฑ การสะกดคําภาษาตางประเทศเปนภาษาไทย ซึงไมปรากฏในพจนานุกรม
                                                                    ่
ฉบับราชบัณฑิตยสถานฉบับลาสุดใหตรวจสอบการสะกดคําในประกาศของราชบัณฑิตยสถาน
หรือแหลงอางอิงซึ่งเปนที่ยอมรับและเชื่อถือได ในกรณีที่เปนชื่อชาวตางประเทศใหเขียนตาม
ตนฉบับเดิม โดยไมตองเขียนแปลเปนภาษาไทย
6

       การสะกดคําภาษาอังกฤษที่ใชในวิทยานิพนธ ใหใชพจนานุกรมของเว็บสเตอร ฉบับ
Webster’s New Twentieth Century Dictionary of the English Language หรือ Webster’s Seventh
New Collegiate Dictionary เปนเกณฑ กรณีที่คาบางคําสามารถสะกดไดอยางถูกตองมากกวา 1
                                             ํ
แบบ ใหเลือกใชแบบใดแบบหนึ่งและใหใชเปนแบบเดียวกันตลอดเลม สวนการสะกดคํา
ภาษาตางประเทศภาษาอื่น ใหใชพจนานุกรมฉบับมาตรฐานในภาษานัน ๆ เปนเกณฑ
                                                                ้

        2.1.6 การใชตวยอ
                      ั
        โดยทั่วไปใหพยายามหลีกเลี่ยงการใชตวยอในเนื้อเรื่องและผลงานวิจยที่เกียวของ ยกเวน
                                             ั                          ั ่
บางกรณีอาจจะใชไดแตตองมีคําอธิบายกํากับ ในการเขียนครั้งแรกใหเขียนคําเต็ม และเขียนคํายอ
ไวในวงเล็บ เขียนครั้งตอไปใชคํายอได กรณีตารางหรือรูปภาพ อาจใชตัวยอได เพื่อประหยัดพื้นที่
และควรมีคําอธิบายไวใตตารางและรูปภาพ หามใชตวยอในบทคัดยอเพราะอาจทําใหเขาใจผิด
                                                 ั
หรือไมเขาใจได

2.2 หลักเกณฑการพิมพสวนประกอบตาง ๆ

         2.2.1 การพิมพสวนประกอบตอนตน
               2.2.1.1 สันปก
                       1) ตัวอักษร
                       ขนาดตัวอักษรใหมีสัดสวนเหมาะสมกับขนาดสันปก ถาสันปกมีความหนา
ไมพอและชื่อวิทยานิพนธมความยาวมาก อนุโลมไมตองใส ชื่อ ชื่อสกุลผูเขียน
                              ี
                       2) การเวนระยะการพิมพ
                       ชื่อวิทยานิพนธ พิมพอักษรตัวแรกของชื่อวิทยานิพนธ หางจากขอบบน
ของสันปกประมาณ 1.5 นิ้ว
                       ชื่อ ชื่อสกุลผูเขียน ใสเฉพาะชื่อ และชื่อสกุล ถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทิน
นาม สมณศักดิ์ ใหระบุไวดวย พิมพตอจากชื่อวิทยานิพนธตามแนวนอน
                            
                       ปการศึกษาพิมพเฉพาะตัวเลข วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชปคริสตศักราช
(ค.ศ.) วิทยานิพนธภาษาไทยใชปพุทธศักราช (พ.ศ.) โดยพิมพหางจากขอบลางประมาณ 1 นิว           ้
               2.2.1.2 หนาปกนอก และหนาชื่อเรื่อง
               หนาปกนอก และหนาชื่อเรื่อง มีรายละเอียดการพิมพเหมือนกัน ดังนี้
7

                           1) ตัวอักษร
                           วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points วิทยานิพนธ
ภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 points
                           2) การพิมพ
                           ชื่อวิทยานิพนธ พิมพไวกลางหนากระดาษหางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
ถาชื่อเรื่องมีความยาวเกิน 1 บรรทัด ใหพิมพเปนรูปสามเหลี่ยมหัวกลับ และไมควรเกิน 3 บรรทัด
                           ชื่อ ชื่อสกุลผูเขียนวิทยานิพนธ พิมพเฉพาะชื่อและชื่อสกุล ไวกลาง
หนากระดาษ หางจากขอบบนไมนอยกวา 4.5 นิ้ว ถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม สมณศักดิให          ์
ระบุไวดวย
                           สวนลาง ประกอบดวย รายละเอียดของชือปริญญา ชื่อคณะ ชื่อสถาบัน
                                                                     ่
ปการศึกษาพิมพเฉพาะตัวเลข วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชปคริสตศักราช (ค.ศ.) วิทยานิพนธ
ภาษาไทยใชปพุทธศักราช (พ.ศ.) โดยพิมพหางจากขอบลางประมาณ 1 นิ้ว
                 
                   2.2.1.3 หนาอนุมัติ
                           1) สวนรายละเอียดของวิทยานิพนธ
                           พิมพชื่อวิทยานิพนธ ชื่อ ชือสกุลผูเขียน และชื่อคณะ เรียงตามลําดับ หาง
                                                        ่
จากขอบบนประมาณ 2 นิว วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points วิทยานิพนธ
                              ้
ภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 point
                           2) สวนขอความและคณะกรรมการ
                           พิมพเสนกัน เวนหางจากสวนบน 2 บรรทัดพิมพ
                                        ้
                           พิมพขอความและสวนคณะกรรมการลงนามหางจากเสนกั้น 2 บรรทัดพิมพ
วิทยานิพนธภาษาไทยใชตัวอักษร 16 points วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชตัวอักษร 12 points
                           พิมพชื่อคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ โดยระบุตําแหนงทางวิชาการ ถา
ไมมีตําแหนงทางวิชาการใหเวนวางไว พิมพเสนประสําหรับลงนาม ระบุตําแหนงของกรรมการ
ตอทาย ใตเสนประใหวงเล็บ ชื่อ ชื่อสกุล ของกรรมการ พรอมระบุชื่อยอปริญญาที่แสดงวุฒิ
การศึกษาสูงสุดไวหนาชื่อสําหรับภาษาไทย สวนภาษาอังกฤษใหระบุชอยอปริญญาที่แสดงวุฒิ
                                                                           ื่
การศึกษาสูงสุดไวหลังชื่อสกุล ถาไมมีชื่อยอปริญญาใหใสคํานําหนานาม (นาย นาง นางสาว Mr.,
Miss, Mrs.) ไวหนาชื่อกรรมการทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
                           สําหรับคณะ/สํานัก ที่กําหนดใหคณบดีหรือผูอํานวยการสํานักลงนาม
กํากับในหนาอนุมัติ ใหคณบดีหรือผูอํานวยการสํานักลงนามตามขอกําหนดของคณะ
8

             2.2.1.4 หนาบทคัดยอ
             วิทยานิพนธภาษาไทย ตองมีบทคัดยอทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยจัดเรียง
บทคัดยอภาษาไทยไวกอนภาษาอังกฤษ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษมีเฉพาะบทคัดยอภาษาอังกฤษ
การเขียนบทคัดยอแตละภาษามีความยาวไมเกิน 2 หนา มีรายละเอียดการพิมพ ดังนี้
                     1) หัวขอ
                     วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา
บทคัดยอ สําหรับบทคัดยอภาษาไทยและพิมพคําวา ABSTRACT สําหรับบทคัดยอ
ภาษาอังกฤษ โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
                        วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา
ABSTRACT โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
                        2) สวนรายละเอียดของวิทยานิพนธ
                        เวนหางจากหัวขอ 2 บรรทัดพิมพ พิมพดวยอักษรตัวหนา (Bold) 16 points
                                                               
เฉพาะคําวา ชือวิทยานิพนธ ชื่อผูเขียน ชื่อปริญญา ปการศึกษา Title of Thesis, Author, Degree,
              ่
Year สําหรับวิทยานิพนธปริญญาโท และพิมพคําวา Title of Dissertation, Author, Degree,
Year สําหรับวิทยานิพนธปริญญาเอก สวนรายละเอียดของชื่อไมตองพิมพตัวหนา
                        3) สวนเนื้อหาบทคัดยอ
                        พิมพเสนกัน เวนหางจากสวนรายละเอียดของวิทยานิพนธ 2 บรรทัดพิมพ
                                    ้
                        พิมพเนื้อหาของบทคัดยอ เวนหางจากเสนกั้น 2 บรรทัดพิมพ ใชตวอักษร
                                                                                       ั
ขนาด 16 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และ 12 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
                2.2.1.5 หนากิตติกรรมประกาศ
                การเขียนกิตติกรรมประกาศทั้งวิทยานิพนธภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีความยาว
ไมเกิน 1 หนา มีรายละเอียดการพิมพ ดังนี้
                        1) หัวขอ
                        วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา
กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอกษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา
                                         ั
ACKNOWLEDGEMENTS โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2
นิ้ว
9

                          2) สวนเนื้อหาของกิตติกรรมประกาศ
                          เขียนดวยภาษาราชการ พิมพหางจากหัวขอ 2 บรรทัดพิมพ วิทยานิพนธ
ภาษาไทยใชตวอักษร 16 points วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชตัวอักษร 12 points
                ั
                          3) สวนทายของกิตติกรรมประกาศ
                          พิมพชื่อ ชื่อสกุลผูเขียน หางจากบรรทัดสุดทายของเนื้อหา 2 บรรทัดพิมพ
ใหระบุเพียงชือ ชื่อสกุล หากมียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม สมณศักดิ์ใหระบุไวดวย บรรทัด
              ่                                                                      
ตอมาพิมพเดือน ปที่เขียนกิตติกรรมประกาศ
                  2.2.1.6 หนาสารบัญ
                          1) หัวขอ
                          วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา
สารบัญ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา TABLE OF
CONTENTS โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
                       เวนหางจากหัวขอบรรทัดแรก 2 บรรทัดพิมพ และหางจากขอบขวา
ประมาณ 1 นิว พิมพคําวา หนา ดวยอักษรตัวหนา (Bold) 18 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย
             ้
และพิมพคําวา Page ดวยตัวหนา (Bold) 13 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
                       2) สวนรายละเอียด
                       พิมพเนื้อหาของสารบัญบรรทัดแรกหางคําวา หนา หรือ Page 2 บรรทัด
พิมพ แสดงรายการสวนประกอบที่สําคัญของวิทยานิพนธ (ยกเวนหนาปกในและหนาอนุมัติ)
เรียงลําดับตามหมายเลขของหัวขอใหญ หรืออาจลงรายการหัวขอรองลําดับถัดไปไดตามความ
เหมาะสม พรอมทั้งระบุเลขหนา ตามที่ปรากฏในวิทยานิพนธ
                       สารบัญที่ยาวมากกวา 1 หนา ใหขึ้นหนาใหมพิมพรายการแรกหางจากขอบ
บนประมาณ 1.5 นิ้ว
               2.2.1.7 หนาสารบัญตาราง
                       1) หัวขอ
                       วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา
สารบัญตาราง วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา LIST
OF TABLES โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
                         เวนหางจากหัวขอบรรทัดแรก 2 บรรทัดพิมพ หางจากขอบซายประมาณ
1.5 นิ้ว พิมพคําวา ตารางที่ และหางจากขอบขวาประมาณ 1 นิ้ว พิมพคําวา หนา ดวยอักษรตัวหนา
10

(Bold) 18 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และพิมพคําวา Tables และ Page ดวยอักษร
ตัวหนา (Bold) 13 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
                       2) สวนรายละเอียด
                       เวนหางจากบรรทัดบน 2 บรรทัดพิมพ ยอหนาประมาณ 0.5 นิ้ว พิมพ
หมายเลขตาราง ชื่อตาราง และเลขหนาของตารางทั้งหมด เรียงลําดับกอนหลังตามทีปรากฏใน
                                                                               ่
วิทยานิพนธ
                       สารบัญตารางที่ยาวมากกวา 1 หนา ใหขึ้นหนาใหมพิมพรายการแรกหาง
จากขอบบนประมาณ 1.5 นิว     ้
              2.2.1.8 หนาสารบัญภาพ
                       1) หัวขอ
                       วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา
สารบัญภาพ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา LIST
OF FIGURES            โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
                           เวนหางจากหัวขอบรรทัดแรก 2 บรรทัดพิมพ หางจากขอบซายประมาณ
1.5 นิ้ว พิมพคาวา ภาพที่ และหางจากขอบขวาประมาณ 1 นิว พิมพคําวา หนา ดวยอักษรตัวหนา
               ํ                                            ้
(Bold) 18 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และพิมพคําวา Figures และ Page ดวยอักษร
ตัวหนา (Bold) 13 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
                           2) สวนรายละเอียด
                           เวนหางจากบรรทัดบน 2 บรรทัดพิมพ ยอหนาประมาณ 0.5 นิ้ว พิมพ
หมายเลขภาพ ชื่อภาพ และเลขหนาของของภาพ (รวมกราฟ แผนภูมิ แผนที่ ฯลฯ) เรียงลําดับ
กอนหลังตามที่ปรากฏในวิทยานิพนธ
                           สารบัญภาพที่ยาวมากกวา 1 หนา ใหขึ้นหนาใหมพิมพรายการแรกหางจาก
ขอบบนประมาณ 1.5 นิว      ้
                 2.2.1.9 หนาคําอธิบายสัญลักษณและคํายอ
                           1) หัวขอ
                           วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา
คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points
พิมพคําวา SYMBOLS AND ABBREVIATIONS โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ
หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
11

                      เวนหางจากหัวขอบรรทัดแรก 2 บรรทัดพิมพ หางจากขอบซายประมาณ
1.5 นิ้ว พิมพคาวา สัญลักษณ หรือ คํายอ และหางจากขอบขวาประมาณ 1 นิว พิมพคําวา หนา
               ํ                                                            ้
ดวยอักษรตัวหนา (Bold) 18 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และพิมพคําวา Symbols หรือ
Abbreviations และ Page ดวยอักษรตัวหนา (Bold) 13 points สําหรับวิทยานิพนธ
ภาษาอังกฤษ
                        2) สวนรายละเอียด
                        เวนหางจากบรรทัดบน 2 บรรทัดพิมพ ยอหนาประมาณ 0.5 นิ้ว พิมพ
สัญลักษณหรือคํายอ เรียงลําดับตามตัวอักษร
                        ถามีสัญลักษณหรือคํายอมากกวา 1 หนา ใหขึ้นหนาใหมพิมพรายการแรก
หางจากขอบบนประมาณ 1.5 นิ้ว

        2.2.2 การพิมพบทที่ หัวขอในบท และสวนเนื้อเรื่อง
              2.2.2.1 บทที่ และชื่อบท (Chapters and Name of Chapters)
                      1) บทที่
                      เมื่อขึ้นบทใหม ใหขึ้นหนาใหม โดยพิมพลําดับที่ดวยเลขอารบิก
วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา บทที่ และวิทยานิพนธ
ภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา CHAPTER ไวกลางหนากระดาษ
หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
                    2) ชื่อบท
                         พิมพกลางหนากระดาษหางจากคําวา บทที่ 2 บรรทัดพิมพ ชื่อบทที่ยาวเกิน
1 บรรทัด ใหขนบรรทัดใหมโดยพิมพเรียงลงมาเปนลักษณะสามเหลี่ยมหัวกลับ ใชอักษรตัวหนา
              ึ้
(Bold) 20 Points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และใชตวอักษรตัวใหญทุกตัวอักษร ตัวหนา (Bold)
                                                    ั
14 Points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
                 2.2.2.2 หัวขอใหญ (Main Headings)
                 หัวขอใหญในแตละบท หมายถึง หัวขอซึ่งมิใชเปนชื่อเรื่องประจําบท ใหพิมพชดิ
ซายหางจากบรรทัดบน 2 บรรทัดพิมพ ใชอักษรตัวหนา (Bold) 18 Points สําหรับภาษาไทย และ
อักษรตัวหนา (Bold) 13 Points สําหรับภาษาอังกฤษ โดยเลขที่ของหัวขอใหญใหขึ้นตนดวยเลขที่
ของบทแลวตามดวยลําดับหมายเลขของหัวขอ ดังนี้ 1.1 1.2 1.3 . . .
12

               สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของทุก ๆ คําตองพิมพดวยอักษรตัว
ใหญเสมอ ยกเวนคําบุพบท (Preposition) คําสันธาน (Conjunction) และคํานําหนานาม (Article) ไม
ตองพิมพดวยอักษรตัวใหญ เวนแตคําบุพบท คําสันธาน และคํานําหนานามดังกลาวเปนคําแรกของ
            
หัวขอ
               2.2.2.3 หัวขอรอง (Sub-headings)
                           1) หัวขอรองลําดับที่ 1
                           ใช อั ก ษรตั ว หนา (Bold) 16 points สํ า หรั บ ภาษาไทย และอั ก ษรตั ว หนา
(Bold) 12 points สําหรับภาษาอังกฤษ พิมพหัวขอรองโดยเวน หา งจากหัว ขอ ใหญ 2 บรรทัด พิมพ
ยอหนา 0.5 นิ้ว เลขที่ของหัวขอรองใหขึ้นดวยเลขที่ของบท แลวตามดวยเลขที่ของหัวขอใหญและ
หมายเลขของหัวขอรองลําดับที่ 1 ตามลําดับ ดังนี้ 1.1.1 1.1.2 1.1.3 …
                           2) หัวขอรองลําดับที่ 2
                           ใชตัวอักษร 16 points สําหรับภาษาไทย และ 12 points สําหรับภาษาอังกฤษ
พิมพตรงกับอักษรตัวแรกของหัวขอรองลําดับที่ 1 พิมพเลขที่ของบท ตามดวยเลขที่ของหัวขอใหญ
หัวขอรองลําดับที่ 1 และหมายเลขของหัวขอรองลําดับที่ 2 ตามลําดับ ดังนี้ 1.1.1.1 1.1.1.2
1.1.1.3 ...
                           3) หัวขอรองลําดับที่ 3
                           ใชตัวอักษร 16 points สําหรับภาษาไทย และ 12 points สําหรับภาษาอังกฤษ
พิมพตรงกับอักษรตัวแรกของหัวขอรองลําดับที่ 2 พิมพตัวเลข และตามดวยวงเล็บเดียว ดังนี้ 1) 2)
                                                                                     ่
3) ...
                           4) หัวขอรองลําดับที่ 4
                           ใชตัวอักษร 16 points สําหรับภาษาไทย และ 12 points สําหรับภาษาอังกฤษ
พิมพตรงกับอักษรตัวแรกของหัวขอรองลําดับที่ 3 พิมพตัวเลขในวงเล็บคู ดังนี้ (1) (2) (3) …
               2.2.2.4 ขอแนะนําสําหรับการพิมพบทและหัวขอในบท
               ในกรณีที่ขนหัวขอใหม แตมีบรรทัดเหลือที่จะพิมพบรรทัดเนื้อความเพียง 1 บรรทัด
                             ึ้
ใหขนหัวขอใหมนนในหนาถัดไป
      ึ้           ั้
               การพิมพบท ชื่อบท หัวขอในบท และ/หรือหัวขอรองลําดับที่ 1 ใหใชอักษรตัวหนา
หามขีดเสนใต หามใชตวเอียง
                         ั
               ถาเรื่องที่ตองการเขียนบางบท ไมสามารถจัดพิมพตามแบบแผนที่กําหนดไดครบอาจ
ปรับไดตามความจําเปน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความเห็นของอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ หรือกรรมการ
วิทยานิพนธ
13

              2.2.2.5 การพิมพขอความทีคัดลอกมาโดยตรง (Direct Quotations)
                                            ่
                       1) ขอความทีคัดลอกมาไมเกิน 3 บรรทัด
                                        ่
                       พิมพขอความในเนื้อหาวิทยานิพนธโดยไมตองขึ้นบรรทัดใหม แตใหใส
ขอความในเครื่องหมายอัญประกาศ (Quotation Marks) “. . . ”
                       กรณีที่ตองการใชเครื่องหมายอัญประกาศซอนในขอความที่อยูใน
อัญประกาศคูอยูแลวใหเปลียนเปนเครื่องหมายอัญประกาศเดียว ‘. . . ’
                           ่                              ่
                       2) ขอความทีคัดลอกมาเกิน 3 บรรทัดพิมพ
                                      ่
                       พิมพขอความโดยขึ้นบรรทัดใหม เวนหางระหวางเนื้อหากับขอความที่
คัดลอกมาทั้งดานบนและดานลาง 2 บรรทัดพิมพ และเวนหางจากขอบซายและขอบขวา 0.5 นิ้ว
                       ถาขอความที่คัดลอกมามีการยอหนาภายในขอความนั้นใหยอหนาเพิ่มอีก
0.5 นิ้ว
                       3) ขอความทีคัดลอกมาไมตอเนื่อง
                                          ่
                       ขอความที่คัดลอกมามีการเวนหรือตัดขอความมาบางสวนใหพิมพ
เครื่องหมายจุด (Ellipsis Points) จํานวน 3 จุด โดยเวนระยะ 1 ชวงตัวอักษรระหวางจุด “. . .”
แทนขอความที่ตัดหรือเวนไว กรณีท่ผูเขียนวิทยานิพนธตองการเพิ่มเติมความคิดเห็น หรือ
                                    ี
ขอความของตนเองลงไป ใหทําเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] กํากับ เพื่อใหแตกตางจากขอความที่
คัดลอกมาโดยตรง

          2.2.3 การพิมพตาราง และภาพประกอบ
          สวนประกอบของตาราง และภาพประกอบ ไดแก เลขที่ตารางหรือภาพ ชื่อตารางหรือ
ชื่อภาพ ขอความในตาราง ภาพ แหลงที่มา หมายเหตุ
          การอางถึงตาราง และภาพประกอบใหเขียนเลขที่ตารางหรือภาพ เชน ตามตารางที่ ...
ดังตารางที่ ... ตามตารางที่ ... ดังภาพที่ ... ไมควรเขียนวา ตามตารางขางบน ตามตารางขางลาง
ตามตารางหนา ... ตามภาพขางบน ตามภาพขางลาง ตามภาพหนา ...
                2.2.3.1 ตาราง (Tables)
                        1) การพิมพเลขที่ตาราง และชื่อตาราง
                        เลขที่ตาราง ใหพิมพชิดซาย เหนือตาราง เลขที่ตารางใหใชเลขที่บทตามดวย
ลําดับที่ของตาราง วิทยานิพนธภาษาไทย พิมพคําวา ตารางที่ เวน 1 ระยะตัวอักษร พิมพเลขที่ของ
ตารางดวยอักษรตัวหนา (Bold) 16 points เชน ตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.3 วิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
14

พิมพ คําวา Table เวน 1 ระยะตัวอักษร พิมพเลขที่ของตารางดวยอักษรตัวหนา (Bold) 12 points
เชน Table 1.2 Table 1.3
                         ชื่อตาราง พิมพดวยตัวอักษรธรรมดา เวนหางจากเลขทีตาราง 2 ตัวอักษร ถา
                                                                              ่
เปนวิทยานิพนธภาษาอังกฤษใหพิมพอักษรตัวแรกตัวใหญทุกคํา ยกเวนคําบุพบท คําสันธาน และ
คํานําหนานาม ถาชื่อตารางยาวมากกวา 1 บรรทัด ขึ้นบรรทัดใหมพิมพตรงกับอักษรตัวแรกของชือ           ่
ตารางบรรทัดแรก
                         2) การพิมพขอความในตาราง
                                       
                         ขนาดความกวางของตาราง ไมควรเกินกรอบของหนาวิทยานิพนธ สําหรับ
ตารางขนาดใหญ ใหพยายามลดขนาดของตารางลงโดยใชการถายยอสวน หรืออาจใชตัวพิมพขนาด
เล็กลงไดตามความเหมาะสม สวนตารางที่กวางเกินกวาหนาของวิทยานิพนธก็อาจจัดพิมพตามแนว
ขวางของหนาได
                         ตารางควรพิมพอยูในหนาเดียวกัน ถาตารางสั้นมาก อาจพิมพอยูในเนือเรื่อง
                                                                                              ้
ถาตารางที่มีความยาวเกิน 1 หนา ใหขึ้นหนาใหม โดยระบุเลขที่ตาราง และคําวา (ตอ) หรือ (Continued)
ในเครื่องหมายวงเล็บ เชน ตารางที่ 1.1 (ตอ) หรือ Table 1.1 (Continued)
                2.2.3.2 ภาพประกอบ (Figures)
                ภาพประกอบ ไดแก กราฟ แผนภูมิ แผนที่ ภาพเขียน ภาพถาย
                ภาพถายที่อางอิงมาจากที่อื่น ใหใชการถายสําเนา ถาเปนผลการวิจัย ใหใชภาพจริง
ทั้งหมดและติดดวยกาวที่มีคณภาพดี
                              ุ
                การพิมพใหพมพชิดซาย ใตภาพ หางจากภาพ 2 บรรทัดพิมพ เลขทีภาพใหใชเลขที่
                                ิ                                                    ่
บทตามดวยลําดับที่ของภาพ วิทยานิพนธภาษาไทยพิมพคําวา ภาพที่ เวน 1 ระยะตัวอักษร พิมพ
เลขที่ภาพดวยอักษรตัวหนา (Bold) 16 points เชน ภาพที่ 3.5 วิทยานิพนธภาษาอังกฤษพิมพคําวา
Figure เวน 1 ระยะตัวอักษร พิมพเลขที่ภาพ ดวยอักษรตัวหนา (Bold) 12 points เชน Figure
2.3 รายละเอียดของภาพ พิมพดวยตัวอักษรปกติ
                2.2.3.3 แหลงที่มา (Source)
                การพิมพแหลงที่มาของตารางใหพิมพชดซาย ใตตาราง หางจากตาราง 2 บรรทัด
                                                        ิ
พิมพ
                การพิมพแหลงที่มาของภาพประกอบใหพมพชิดซาย ใตภาพ หางจากคําวา ภาพที่ ...
                                                           ิ
1 บรรทัดพิมพ
15

               วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 16 points พิมพคําวา แหลงที่มา:
วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 12 points พิมพคําวา Source: และเวน 1 ระยะ
ตัวอักษร จึงบอกแหลงที่มา
               การเขียน แหลงที่มา ใหเขียนในลักษณะเดียวกับการเขียนเอกสารอางอิง
               ถามีทั้ง แหลงที่มา และ หมายเหตุ ใหระบุ แหลงที่มา กอน หมายเหตุ
               2.2.3.4 หมายเหตุ (Note)
               พิมพชิดซาย ใตภาพหรือใตตาราง หางจากตารางหรือภาพ 2 บรรทัดพิมพ ถามี
แหลงที่มา ใหพิมพหาง 1 บรรทัดพิมพ
               วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 16 points พิมพคําวา หมายเหตุ:
วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 12 points พิมพคําวา Note: และเวน 1 ระยะ
ตัวอักษร จึงพิมพขอความดวยตัวอักษรปกติ

       2.2.4 การพิมพบรรณานุกรม
             2.2.4.1 หัวขอ
             ใหพิมพคําวา บรรณานุกรม หรือ BIBLIOGRAPHY โดยใชอักษรตัวหนา
(Bold) 20 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และ 14 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
โดยพิมพไวกลางหนากระดาษหางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
             2.2.4.2 รายละเอียด
             ใหเริ่มพิมพรายการบรรณานุกรมรายการแรกหางจากหัวขอบรรณานุกรม 2 บรรทัด
พิมพ จัดรูปแบบการพิมพชดซาย และใหพิมพขอความบรรทัดถัดไป โดยเวนระยะยอหนาเขาไป
                           ิ
0.75 นิ้ว
                 ตั้งแตหนาที่ 2 ของบรรณานุกรมไมตองพิมพคําวา บรรณานุกรม พิมพเลขหนา
ตอเนื่องจากเนือเรื่อง เริ่มพิมพรายการแรกหางจากขอบบนประมาณ 1.5 นิ้ว
               ้
                 วิทยานิพนธภาษาไทยที่มีบรรณานุกรมภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใหพิมพ
บรรณานุกรมภาษาไทยกอน แลวจึงพิมพบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ โดยพิมพตอเนื่องกันไปไมตอง
เวนระยะหาง ไมตองมีหัวขอคั่น
                 2.2.4.3 การจัดเรียง
                 บรรณานุกรมแตละภาษาใหเรียงลําดับตามอักษรชื่อผูแตง/ชื่อหนวยงาน สําหรับ
บรรณานุกรมภาษาอังกฤษจัดเรียงตามอักษรชื่อสกุล
16

               กรณีเปนชื่อหนวยงานที่ขึ้นตนวา A An The คําเหลานี้ไมใชในการจัดเรียง ใหเรียง
ดวยคําถัดไป เชน The Institute of Accreditation ใหจดเรียงที่อักษร I = Institute
                                                     ั
               ถาผูเขียนคนเดียวกันเขียนเอกสารหลายรายการ ปพิมพตางกัน ชื่อเอกสารตางกัน ให
เรียงลําดับตามปที่พิมพ จากปเกาไปหาปใหม แลวจึงเรียงตามชื่อเอกสาร
               ถาผูเขียนคนเดียวกัน พิมพปเดียวกัน ใหเรียงตามชื่อเรื่อง และใสอักษร ก ข ค
สําหรับภาษาไทย หรือ a, b, c สําหรับภาษาอังกฤษ กํากับตอจากป เชน 2543ก 2543ข
               บรรณานุกรมรายการเดียวกันใหพมพอยูในหนาเดียวกัน ถาพิมพไมหมดรายการให
                                                 ิ      
ยกไปพิมพหนาถัดไป
               กรณีที่มีบรรณานุกรมหลายรายการ มีผูแตงคนเดียวกัน หรือผูแตงมากกวา 1 คน
เหมือนกัน ใหพิมพผูแตงซ้ําใหมทุกคน
               การพิมพรายการบรรณานุกรมแตละรายการ ใหพิมพหางจากเครื่องหมายมหัพภาค
(.) 2 ตัวอักษร สวนการพิมพหลังเครื่องหมายอื่น ๆ เชน จุลภาค (,) อัฒภาค (;) มหัพภาคคู (:)ใหเวน
1 ตัวอักษร
               ชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร ชื่อวิทยานิพนธ สารนิพนธ ภาคนิพนธ เอกสารที่ไมไดมีการ
ตีพิมพเผยแพร เอกสารประเภทอัดสําเนา ถายเอกสารหรือจุลสาร ใหพิมพดวยอักษรตัวหนา (Bold)

        2.2.5 การพิมพภาคผนวก
              2.2.5.1 หนานํา
              พิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนไมนอยกวา 4.5 นิ้ว วิทยานิพนธ
ภาษาไทยใชอกษรตัวหนา (Bold) 20 Points พิมพคําวา ภาคผนวก วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใช
            ั
อักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา APPENDIX กรณีมีหนึ่งภาคผนวก และพิมพคําวา
APPENDICES กรณีมีมากกวาหนึ่งภาคผนวก
              2.2.5.2 สวนเนื้อหา
              ถามีหนึ่งภาคผนวก ใหพมพหนาแรกหางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
                                     ิ
              ถามีมากกวาหนึ่งภาคผนวก ใหแบงเปน ภาคผนวก ก          ภาคผนวก ข
ภาคผนวก ค… หรือ Appendix A                 Appendix B Appendix C… ตามลําดับ
พิมพโดยขึ้นหนาใหมทกครั้งเมื่อขึ้นภาคผนวกใหม และพิมพเปนหนานําภาคผนวกยอยหรือไม
                     ุ
พิมพก็ได
             ถามีการอางอิงใหพิมพไวทหนานําภาคผนวกยอย หรือไวทายภาคผนวกก็ได
                                        ี่
17

        2.2.6 การพิมพประวัตผูเขียน
                               ิ
        การเขียนประวัติผูเขียนทั้งวิทยานิพนธภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีความยาวไมเกิน 2
หนา มีรายละเอียดการพิมพ ดังนี้
              2.2.6.1 หัวขอ
             วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา ประวัติ
ผูเขียน วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา
BIOGRAPHY โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
              2.2.6.2 สวนรายละเอียด
              ชื่อ ชื่อสกุล (NAME) พรอมคํานําหนานาม ถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม
สมณศักดิ์ หรือตําแหนงทางวิชาการ ใหใสไวดวย   
              ประวัติการศึกษา (ACADEMIC BACKGROUND) ใหระบุวฒิการศึกษา       ุ
สถานศึกษา ปที่สําเร็จการศึกษา เริ่มตั้งแตระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทาขึ้นไป
              ตําแหนงและสถานที่ทํางาน (POSITION AND OFFICE) (ถามี)
              ประสบการณทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการ รางวัลหรือทุนการศึกษา
(EXPERIENCE) เฉพาะที่สําคัญ (ถามี)
บทที่ 3

                                     การเขียนเอกสารอางอิง

         การทําวิทยานิพนธ จะตองมีการระบุแหลงที่มาของขอมูลประเภทตาง ๆ เพื่อเปนการให
เกียรติแกเจาของความคิดและถือเปนจรรยาบรรณของผูเขียนดวย นอกจากนี้ ยังเปนประโยชนใน
การใหผูอานไดพิจารณาความถูกตอง ความนาเชื่อถือของวิทยานิพนธ และสามารถนําไปศึกษา
คนควาเพิ่มเติมตอไป
         การทําวิทยานิพนธของสถาบันกําหนดใหใชการอางอิงระบบนาม ป (Author Year System)
เปนการอางอิงโดยการแทรกเอกสารที่อางอิงไวในเนื้อเรื่องวิทยานิพนธ ดวยการระบุชื่อ ชื่อสกุล
ของผูแตงและปที่พิมพ พรอมทั้งเลขหนาที่อางอิงในเอกสารนั้น โดยใหใสไวในวงเล็บแทรกอยู
กับเนื้อหาวิทยานิพนธกอนหรือหลังขอความที่ตองการอางอิงเปนการอางอิงเพียงยอ ๆ สวนขอมูล
อื่น ๆ ของเอกสารที่อางอิง เชน ชื่อเอกสาร สถานที่พิมพและสํานักพิมพจะตองมีปรากฏอยูใน
บรรณานุกรมทายเลมของวิทยานิพนธดวย 

3.1 หลักการเขียนรายการอางอิง

         3.1.1 การเขียนชื่อ ชื่อสกุลผูแตง คนไทยเขียนชื่อ ชื่อสกุล สวนคนตางชาติเขียนเฉพาะชื่อ
                                            
สกุล ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) ปที่พิมพ เครื่องหมายมหัพภาคคู (:) เลขหนาที่อางอิง ทั้งนี้ ปที่พิมพ
ใหใชป พ.ศ. สําหรับเอกสารภาษาไทย และป ค.ศ. สําหรับเอกสารภาษาอังกฤษ ดังนี้
รูปแบบ           (ชื่อผูแตง,/ปที่พิมพ:/หนาที่อางอิง)
                                                   
ตัวอยาง         (เสาวนีย เหลืองขมิ้น, 2546: 13)
                 (กฤช เพิ่มทันจิตต, 2545: บทคัดยอ)
                 (วรเดช จันทรศร และไพโรจน ภัทรนรากุล, 2541: 52)
                 (Garvey and Williamson, 2002: 13)
19

         3.1.2 เอกสารอางอิงที่ไมปรากฏชื่อผูแตง
               3.1.2.1 เอกสารออกในนามหนวยงานของรัฐ หรือภาคเอกชน หรือองคการระหวาง
ประเทศ ใหระบุชื่อผูแตงเปนชื่อหนวยงาน และใหเขียนอางอิงหนวยงานระดับสูงกอน (ระดับกรม)
แลวตามดวยหนวยงานระดับรองลงมาเพียงระดับเดียว
ตัวอยาง       (กรมราชทัณฑ, 2545: 20)
               (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร, 2545: 10)
               (บริษัทศูนยวจยกสิกรไทย จํากัด, 2546: 10)
                               ิั
               (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ, 2546: 9)
               (United Nations (UN). Asian Development Institute, 1975: 3-5)
               3.1.2.2 เอกสารที่อางอิงไมปรากฏชื่อผูแตง แตมีชื่อบรรณาธิการ ผูรวบรวม หรือผู
วิจารณใหระบุชื่อเหลานี้แทน
ตัวอยาง       (เจิมศักดิ์ ปนทอง, บรรณาธิการ, 2547: 12)
               (เจตนา นาควัชระ, ผูวิจารณ, 2535: 5)
               (Hirono, ed., 2003: 51)
               (Wulf and Kokol, eds., 2004: 33-35)
               3.1.2.3 เอกสารที่อางอิงไมปรากฏชื่อผูแตง ใหระบุชื่อเรื่องหรือชื่อเอกสารแทน
ตัวอยาง       (กรุงเทพธุรกิจ 2547, 12 และ 23 เมษายน: 2)
               (ฐานเศรษฐกิจ 2545, 23-26 มิถุนายน: 38)
               (สิ่งแวดลอมกับการพัฒนา, 2535: 9-12)
               (Sustainable Transport, 1996: 8)

         3.1.3 การอางอิงเอกสารหลายเรื่องพรอม ๆ กัน ใหเขียนอางอิงตามลําดับปที่พิมพจากปเกา
ไปหาปใหม โดยใชเครื่องหมายอัฒภาค (;) คั่นระหวางรายการ
ตัวอยาง       (อัจฉรา จันทรฉาย, 2546: 18; วีรเดช เชื้อนาม, 2547: 16)
               (Bosman, 1970: 2; Cherlin, 1988: 3-9; Hellrieqel, 2004: 17)

         3.1.4 การอางอิงเอกสารที่ไมปรากฏปที่พิมพ ใหระบุคําวา “ม.ป.ป.” หรือ “n.d.” แทนปทพิมพ
                                                                                              ี่
ตัวอยาง       (เดชา แกวชาญศิลป, ม.ป.ป.: 19)
               (ศรีสมบูรณ อังคสิงห, ม.ป.ป.: 9)
               (Ministry of Education. Office of the Higher Education Commission, n.d.: 7)
20

3.2 วิธีการเขียนนามผูแตง

         3.2.1 กรณีผูแตงเปนคนธรรมดา ไมตองใสคํานําหนาชือ ถาเปนคนไทยใหใสชื่อ และชื่อ
                                                             ่
สกุล ถาเปนคนตางชาติใหใสเฉพาะชื่อสกุลเทานั้น
ตัวอยาง       (สิปปนนท เกตุทัต, 2541: 30)
               (อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา, 2540: 10)
               (Purachai Piumsombun, 1985: 50)
               (Suchitra Punyaratabandhu, 1992: 10)
               (Porter, 2000: 65)
               (Wadsworth, 2001: 5)

         3.2.2 กรณีผูแตงมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ ใหใสฐานันดรศักดิ์ หรือบรรดาศักดิ์ ไวขาง
ทาย โดยนําหนาดวยเครื่องหมาย “,”
ตัวอยาง       (เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ, 2546: 22)
               (เสนีย ปราโมช, ม.ร.ว., 2515: 7)
               (ประดิษฐมนูธรรม, หลวง, 2542: 8-17)
               (พระเสด็จสุเรนทราธิบดี, เจาพระยา, 2541: 14)

         3.2.3 กรณีผูแตงมียศ ตําแหนง ไมตองใสยศทางทหาร ตํารวจ หรือตําแหนงทางวิชาการ
หรือคําเรียกทางวิชาชีพนัน เชน นายแพทย ทันตแพทย
                           ้
ตัวอยาง       (เจิมศักดิ์ ปนทอง, 2547: 19)
               (ทักษิณ ชินวัตร, 2545: 9)
               (ประเวศ วะสี , 2547: 21)
               (เสรี เตมียเวส, 2539: 79)

         3.2.4 หนังสือแปล ใหลงชื่อผูแตงเดิม ถาไมทราบชื่อผูแตง จึงระบุชื่อผูแปล
ตัวอยาง       (เกิรสตเนอร, 2547: 90)
               (Shimomura, tr., 2003: 65-66)
               (กอปรเชษฐ ตยัคคานนท, ผูแปล, 2547: 20)
21

3.3 วิธีการอางอิงโดยผูแตง

          3.3.1 ผูแตงคนเดียว
                3.3.1.1 ระบุชื่อผูแตงแลววงเล็บปที่พิมพและเลขหนาไวกอนขอความที่อางอิง
ตัวอยาง การอางอิงเอกสารสิ่งพิมพ
          กวี วงศพุฒ (2539: 107) คุณลักษณะของความเปนผูนํา คือ ลักษณะอันมีคุณคาอยางยิ่งซึ่ง
นับเปนปจจัยสําคัญในการปฏิบัติหนาที่ เพื่อใหผูใตบังคับบัญชาเกิดความเชื่อถือ เชื่อมั่น เชื่อฟง
และใหความรวมมืออยางจริงใจ
ตัวอยาง การอางอิงเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่ไมระบุเลขหนา
Blue (1996: ยอหนาที่ 11) ใหขอคิดวา การเรียนเพื่อใหรเู รื่องใดเรื่องหนึ่งอยางแทจริงตองใชเวลา
ตลอดภาคการศึกษานัน การอานหนังสือกอนสอบเพียงไมกี่ชั่วโมงจะไมกอใหเกิดความรูอยาง
                        ้
แทจริง
                3.3.1.2 ระบุชื่อผูแตง ปที่พิมพ เลขหนาไวในวงเล็บทายขอความที่อางอิง
ตัวอยาง การอางอิงเอกสารสิ่งพิมพ
“ผลประโยชนของประชาชนนั้นนับเปนสิ่งที่รัฐบาลจะตองกอใหเกิดขึ้น สําหรับผลที่จะเกิดขึ้น
ตอรัฐบาลเองนั้น จะตองมีความสําคัญนอยกวาเสมอ” (ไพศาล ชัยมงคล, 2517: 15-16) . . .
. . .In economic terms the state is part of problem , not the solution. . .(Green, 1995: 245)
ตัวอยาง การอางเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่ไมระบุเลขหนา
เนื่องจากการเรียนเพื่อใหรูเรืองใดเรื่องหนึงอยางแทจริงตองใชเวลาตลอดภาคการศึกษานั้น การอาน
                               ่              ่
หนังสือกอนสอบเพียงไมกี่ชวโมงจะไมกอใหเกิดความรูอยางแทจริง (Blue, 1996: ยอหนาที่ 11)
                                 ั่                        
                3.3.1.3 ผูแตงคนเดียวเขียนเอกสารหลายเลม พิมพปตางกัน แตตองการอางถึง
พรอม ๆ กัน ใหเรียงลําดับปที่พิมพ
ตัวอยาง                  (สมพงษ เฟองอารมย, 2531: 7, 2545: 39)
                          (Kotler, 2003: 40, 2004: 19)
ตัวอยาง
การบริการขาวสารเชิงกลยุทธ เปนวิธีการประชาสัมพันธที่คอนขางใหม และยังไมคอยใชกนอยาง     ั
แพรหลายนัก กลาวคือเปนการบริหารขาวสารที่เกี่ยวของกับองคการหรือสินคาอยางเปนระบบ มี
การวางแผนลวงหนา เพื่อใหเกิดประโยชนกับองคการมากที่สุด (เสรี วงษมณฑา, 2540: 94, 2542:
175)
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17
Thesis 1006jun17

Contenu connexe

En vedette

Facebook case study
Facebook case studyFacebook case study
Facebook case studysorayajf
 
Continuity Magazine, Oct 2010, page25-27
Continuity Magazine, Oct 2010, page25-27Continuity Magazine, Oct 2010, page25-27
Continuity Magazine, Oct 2010, page25-27Pierre Wettergren
 
แผนบริหารงานฝ่ายวางแผน Georgeinter1
แผนบริหารงานฝ่ายวางแผน Georgeinter1แผนบริหารงานฝ่ายวางแผน Georgeinter1
แผนบริหารงานฝ่ายวางแผน Georgeinter1Chucshwal's MK
 
Butyle tape planning process
Butyle tape planning processButyle tape planning process
Butyle tape planning processChucshwal's MK
 
Adb swot marketing plan-final-1201071514114303-4
Adb swot marketing plan-final-1201071514114303-4Adb swot marketing plan-final-1201071514114303-4
Adb swot marketing plan-final-1201071514114303-4Chucshwal's MK
 
Hiv health status questionnaire
Hiv health status questionnaireHiv health status questionnaire
Hiv health status questionnaireChucshwal's MK
 
DIFICULTADES EN LOS MÉTODOS DE ELIMINACIÓN Y TÉCNICAS PARA SOLUCIONARLOS
DIFICULTADES EN LOS MÉTODOS DE ELIMINACIÓN Y TÉCNICAS PARA SOLUCIONARLOSDIFICULTADES EN LOS MÉTODOS DE ELIMINACIÓN Y TÉCNICAS PARA SOLUCIONARLOS
DIFICULTADES EN LOS MÉTODOS DE ELIMINACIÓN Y TÉCNICAS PARA SOLUCIONARLOSAlexis Quiel
 
Το Κάστρο της Χίου παρουσίαση Αγροτουρισμός
Το Κάστρο της Χίου παρουσίαση ΑγροτουρισμόςΤο Κάστρο της Χίου παρουσίαση Αγροτουρισμός
Το Κάστρο της Χίου παρουσίαση ΑγροτουρισμόςGiorgos Sgoutas
 

En vedette (9)

Facebook case study
Facebook case studyFacebook case study
Facebook case study
 
Continuity Magazine, Oct 2010, page25-27
Continuity Magazine, Oct 2010, page25-27Continuity Magazine, Oct 2010, page25-27
Continuity Magazine, Oct 2010, page25-27
 
แผนบริหารงานฝ่ายวางแผน Georgeinter1
แผนบริหารงานฝ่ายวางแผน Georgeinter1แผนบริหารงานฝ่ายวางแผน Georgeinter1
แผนบริหารงานฝ่ายวางแผน Georgeinter1
 
Butyle tape planning process
Butyle tape planning processButyle tape planning process
Butyle tape planning process
 
Adb swot marketing plan-final-1201071514114303-4
Adb swot marketing plan-final-1201071514114303-4Adb swot marketing plan-final-1201071514114303-4
Adb swot marketing plan-final-1201071514114303-4
 
Hiv health status questionnaire
Hiv health status questionnaireHiv health status questionnaire
Hiv health status questionnaire
 
DIFICULTADES EN LOS MÉTODOS DE ELIMINACIÓN Y TÉCNICAS PARA SOLUCIONARLOS
DIFICULTADES EN LOS MÉTODOS DE ELIMINACIÓN Y TÉCNICAS PARA SOLUCIONARLOSDIFICULTADES EN LOS MÉTODOS DE ELIMINACIÓN Y TÉCNICAS PARA SOLUCIONARLOS
DIFICULTADES EN LOS MÉTODOS DE ELIMINACIÓN Y TÉCNICAS PARA SOLUCIONARLOS
 
Marketing+research.2
Marketing+research.2Marketing+research.2
Marketing+research.2
 
Το Κάστρο της Χίου παρουσίαση Αγροτουρισμός
Το Κάστρο της Χίου παρουσίαση ΑγροτουρισμόςΤο Κάστρο της Χίου παρουσίαση Αγροτουρισμός
Το Κάστρο της Χίου παρουσίαση Αγροτουρισμός
 

Plus de Chucshwal's MK

ใบสั่งงาน
ใบสั่งงานใบสั่งงาน
ใบสั่งงานChucshwal's MK
 
Jd marketing executive
Jd   marketing executiveJd   marketing executive
Jd marketing executiveChucshwal's MK
 
แผนการตลาด1.2
แผนการตลาด1.2แผนการตลาด1.2
แผนการตลาด1.2Chucshwal's MK
 
แปลไทยโดยนายชัชวาลย์ แสงมหาไชย
แปลไทยโดยนายชัชวาลย์ แสงมหาไชยแปลไทยโดยนายชัชวาลย์ แสงมหาไชย
แปลไทยโดยนายชัชวาลย์ แสงมหาไชยChucshwal's MK
 
แบบฟอร์ม สง.1
แบบฟอร์ม สง.1แบบฟอร์ม สง.1
แบบฟอร์ม สง.1Chucshwal's MK
 
05oct11presentation.4 update.2
05oct11presentation.4 update.205oct11presentation.4 update.2
05oct11presentation.4 update.2Chucshwal's MK
 
บทที่ 8 สถิติวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 8 สถิติวิเคราะห์ข้อมูลบทที่ 8 สถิติวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 8 สถิติวิเคราะห์ข้อมูลChucshwal's MK
 
ผลสรุปความพึงพอใจ 53
ผลสรุปความพึงพอใจ 53ผลสรุปความพึงพอใจ 53
ผลสรุปความพึงพอใจ 53Chucshwal's MK
 

Plus de Chucshwal's MK (20)

Link1
Link1Link1
Link1
 
Doc4
Doc4Doc4
Doc4
 
W200753 53
W200753 53W200753 53
W200753 53
 
ถึงปชส100
ถึงปชส100ถึงปชส100
ถึงปชส100
 
ใบสั่งงาน
ใบสั่งงานใบสั่งงาน
ใบสั่งงาน
 
Jd stock control
Jd   stock controlJd   stock control
Jd stock control
 
Jd hr
Jd   hrJd   hr
Jd hr
 
Jd asst.director
Jd   asst.directorJd   asst.director
Jd asst.director
 
Jd marketing executive
Jd   marketing executiveJd   marketing executive
Jd marketing executive
 
แผนการตลาด1.2
แผนการตลาด1.2แผนการตลาด1.2
แผนการตลาด1.2
 
แปลไทยโดยนายชัชวาลย์ แสงมหาไชย
แปลไทยโดยนายชัชวาลย์ แสงมหาไชยแปลไทยโดยนายชัชวาลย์ แสงมหาไชย
แปลไทยโดยนายชัชวาลย์ แสงมหาไชย
 
แบบฟอร์ม สง.1
แบบฟอร์ม สง.1แบบฟอร์ม สง.1
แบบฟอร์ม สง.1
 
Doc1 chucshwal
Doc1 chucshwalDoc1 chucshwal
Doc1 chucshwal
 
Doc3 chucshwal
Doc3 chucshwalDoc3 chucshwal
Doc3 chucshwal
 
Doc3 chucshwal
Doc3 chucshwalDoc3 chucshwal
Doc3 chucshwal
 
05oct11presentation.4 update.2
05oct11presentation.4 update.205oct11presentation.4 update.2
05oct11presentation.4 update.2
 
บทที่ 8 สถิติวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 8 สถิติวิเคราะห์ข้อมูลบทที่ 8 สถิติวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 8 สถิติวิเคราะห์ข้อมูล
 
ผลสรุปความพึงพอใจ 53
ผลสรุปความพึงพอใจ 53ผลสรุปความพึงพอใจ 53
ผลสรุปความพึงพอใจ 53
 
Planning new product
Planning new productPlanning new product
Planning new product
 
Marketing+research.2
Marketing+research.2Marketing+research.2
Marketing+research.2
 

Thesis 1006jun17

  • 1. คูมือการพิมพวิทยานิพนธ ของ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ปรับปรุง พ.ศ. 2552
  • 2. คูมือการพิมพวิทยานิพนธของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ฉบับพิมพครั้งที่ 3 พ.ศ. 2552 จํานวน เลม ลิขสิทธิ์ของ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร สงวนลิขสิทธิ์ ขอมูลการลงรายการในสิ่งพิมพ คูมือการพิมพวทยานิพนธของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร/ ิ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.—ฉบับพิมพครั้งที่ 3.— กรุงเทพฯ: สถาบัน, 2552. (7), 101 หนา : ภาพประกอบ ; 30 ซม. ISBN 974-231-623-6 1. วิทยานิพนธ—รายงาน. 2. การเขียนรายงาน. LB 2369 ค416 NIDACIP 2009 จัดพิมพโดย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ถนนเสรีไทย เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 แบบปกโดย
  • 3. สารบัญ หนา คํานํา (3) สารบัญ (4) สารบัญภาคผนวก (6) บทที่ 1 สวนประกอบของวิทยานิพนธ 1 1.1 สวนประกอบตอนตน 1 1.2 สวนเนื้อเรื่อง 2 1.3 สวนอางอิงและสวนประกอบตอนทาย 3 บทที่ 2 การพิมพวิทยานิพนธ 4 2.1 หลักเกณฑทั่วไป 4 2.2 หลักเกณฑการพิมพสวนประกอบตาง ๆ 6 2.2.1 การพิมพสวนประกอบตอนตน  6 2.2.2 การพิมพบทที่ หัวขอในบท และสวนเนื้อเรื่อง 11 2.2.3 การพิมพตาราง และภาพประกอบ 13 2.2.4 การพิมพบรรณานุกรม 15 2.2.5 การพิมพภาคผนวก 16 2.2.6 การพิมพประวัติผูเขียน 17 บทที่ 3 การเขียนเอกสารอางอิง 18 3.1 หลักการเขียนรายการอางอิง 18 3.2 วิธีการเขียนนามผูแตง 20 3.3 วิธีการอางอิงโดยผูแตง 21 3.4 วิธีการอางอิงเอกสารทุติยภูมิ หรือเอกสารที่ไมใชตนฉบับโดยตรง  23 3.5 วิธีการอางอิงโดยการคัดลอกขอความ 24
  • 4. (5) บทที่ 4 การเขียนบรรณานุกรม 27 4.1 หนังสือ 27 4.1.1 บรรณานุกรมหนังสือ 27 4.1.2 บรรณานุกรมหนังสือแปล 29 4.1.3 บรรณานุกรมหนังสือชุด 29 4.2 บทความ 30 4.2.1 บรรณานุกรมบทความในสารานุกรม 30 4.2.2 บรรณานุกรมบทความในหนังสือ รายงานการประชุมทางวิชาการ 30 สัมมนาทางวิชาการ 4.2.3 บรรณานุกรมบทความในวารสาร 31 4.2.4 บรรณานุกรมบทความในวารสารรายสัปดาห 31 4.2.5 บรรณานุกรมขาวและบทความในหนังสือพิมพ 32 4.3 งานวิจย ั 33 4.3.1 บรรณานุกรมวิทยานิพนธ 33 4.3.2 บรรณานุกรมภาคนิพนธ และสารนิพนธ 33 4.3.3 บรรณานุกรมรายงานการวิจย และเอกสารวิจยทีเ่ สนอตอหนวยงานตาง ๆ ั ั 34 4.3.4 บรรณานุกรมบทคัดยอวิทยานิพนธในสิ่งพิมพ 34 4.4 เอกสารพิเศษ 35 4.4.1 บรรณานุกรมสิ่งพิมพกฎหมาย 35 4.4.2 บรรณานุกรมสิ่งพิมพรัฐบาล 35 4.4.3 บรรณานุกรมเอกสารจดหมายเหตุ 36 4.5 บรรณานุกรมเอกสารทุติยภูมหรือเอกสารที่ไมใชตนฉบับโดยตรง ิ 37 4.6 บรรณานุกรมบทสัมภาษณ 37 4.7 บรรณานุกรมสื่อโสตทัศน 37 4.8 สื่ออิเล็กทรอนิกส 39 4.8.1 บรรณานุกรมเอกสารอิเล็กทรอนิกส 39 4.8.2 บรรณานุกรมหนังสือพิมพออนไลน 41 4.8.3 บรรณานุกรมขอมูลจากแหลงสารนิเทศสากล 41 4.8.4 บรรณานุกรมบทคัดยอวิทยานิพนธในฐานขอมูล 42 ภาคผนวก 43
  • 5. สารบัญภาคผนวก หนา ตัวอยางหนาปกใน 44 ตัวอยาง Title Page 45 ตัวอยางหนาอนุมติั 46 ตัวอยาง Approval Page 47 ตัวอยางหนาบทคัดยอ 48 ตัวอยางหนา Abstract ปริญญาโท 50 ตัวอยางหนา Abstract ปริญญาเอก 52 ตัวอยางหนากิตติกรรมประกาศ 54 ตัวอยางหนา Acknowledgements 55 ตัวอยางหนาสารบัญ 56 ตัวอยางหนา Table of Contents 58 ตัวอยางหนาสารบัญตาราง 61 ตัวอยางหนา List of Tables 63 ตัวอยางหนาสารบัญภาพ 65 ตัวอยางหนา List of Figures 66 ตัวอยางหนาสัญลักษณและคํายอ 67 ตัวอยางหนา Abbreviations 68 ตัวอยางการพิมพหัวขอ และบทที่ 69 ตัวอยางการพิมพ Chapters and Headings 70 ตัวอยางการพิมพตาราง 71 ตัวอยางการพิมพตารางแนวนอน 72 ตัวอยางการพิมพตารางที่มีชื่อยาว และการตอตาราง 73 ตัวอยางการพิมพตารางที่มีแหลงที่มา และหมายเหตุ 78 ตัวอยางการพิมพตารางที่มี Source และ Note 79 ตัวอยางการพิมพภาพประกอบ 80
  • 6. (7) ตัวอยางการพิมพ Figures 81 ตัวอยางบรรณานุกรม 83 ตัวอยาง Bibliography 92 ตัวอยางหนาประวัติผูเขียน 94 ตัวอยางหนา Biography 95 ตัวอยางการลงชื่อสํานักพิมพในบรรณานุกรม 96 ตัวอยางสันปก 98 การสงตนฉบับวิทยานิพนธ 100 รายชื่อคณะกรรมการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธสํานักบรรณสารการพัฒนา 101
  • 7. บทที่ 1 สวนประกอบของวิทยานิพนธ วิทยานิพนธประกอบดวยสวนตาง ๆ 3 สวน คือ 1. สวนนําหรือสวนประกอบตอนตน (Preliminaries or Front Matters) 2. สวนเนื้อเรื่อง (Text) 3. สวนอางอิงและสวนประกอบตอนทาย (Reference and Supplementary Matters) ในแตละสวน ประกอบดวยสวนยอย ๆ ดังนี้ 1.1 สวนนําหรือสวนประกอบตอนตน ประกอบดวย 1.1.1 ปกนอก (Cover or Binding) คือ สวนที่เปนปกหุมวิทยานิพนธ ประกอบดวย ปก  หนา ขอบสันปกและปกหลัง กระดาษที่ใชเปนกระดาษแข็ง วิทยานิพนธปริญญาเอกใชสีน้ําเงินเขม วิทยานิพนธปริญญาโทใชสีดํา 1.1.2 ใบรองปก (Fly Leaf or Blank Page) เปนกระดาษวางเปลา ขนาดเดียวกับกระดาษ ที่ใชพิมพวิทยานิพนธ รองปกทั้งปกหนาและปกหลังดานละ 1 แผน 1.1.3 หนาชื่อเรื่อง (Title Page) ใหมีขอความเหมือนกับปกหนา ทั้งตําแหนงขนาดและ ชนิดของตัวอักษร 1.1.4 หนาอนุมัติ (Approval Page) เปนหนาสําหรับคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธลง นามอนุมัติวิทยานิพนธ โดยหนาอนุมัตใหใชภาษาเดียวกับภาษาทีใชเขียนวิทยานิพนธ ิ ่
  • 8. 2 1.1.5 หนาบทคัดยอ (Abstract) เปนการยอเนื้อความวิทยานิพนธทั้งหมดใหครอบคลุม วัตถุประสงคของการศึกษาวิจัย วิธีดําเนินการวิจย ผลการวิจัยและขอเสนอแนะ ั 1.1.6 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) เปนขอความกลาวขอบคุณบุคคลหรือ หนวยงานทีใหคําแนะนําหรือใหความชวยเหลือรวมมือในการทําวิทยานิพนธมีความยาวไมเกิน 1 ่ หนา 1.1.7 สารบัญ (Table of Contents) เปนรายการที่แสดงสวนประกอบที่สําคัญทั้งหมดของ วิทยานิพนธ เรียงตามลําดับหมายเลขของหัวขอตาง ๆ ทีปรากฏอยูในวิทยานิพนธ ่ 1.1.8 สารบัญตาราง (List of Tables) เปนรายการที่แสดงชื่อและหนาของตารางทั้งหมดที่ ปรากฏในวิทยานิพนธ โดยเรียงตามลําดับหนาเชนเดียวกับสารบัญ 1.1.9 สารบัญภาพ (List of Figures) เปนรายการที่แสดงชื่อและหนาของภาพหรือแผนภูมิ หรือแผนที่หรือกราฟทั้งหมดที่ปรากฏในวิทยานิพนธ โดยเรียงตามลําดับหนาเชนเดียวกับสารบัญ ตาราง 1.1.10 คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (Abbreviations and Symbols) เปนการอธิบาย สัญลักษณและคํายอตาง ๆ ที่มีผูกําหนดไวแลวหรือผูเขียนกําหนดขึนใชในวิทยานิพนธ ้ 1.2 สวนเนือเรื่อง ้ โดยทั่วไปแลวในสวนของเนือเรื่องอยางนอยจะตองประกอบดวย บทนํา (Introduction) ้ กรอบแนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) วิธีการวิจย (Methodology) ั การวิเคราะหและผลการวิจัย (Finding and Result) สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ (Conclusion, Discussion and Recommendation) ในสวนของเนื้อเรื่องอาจเปลี่ยนแปลงการเรียงลําดับเนื้อหาไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ 
  • 9. 3 1.3 สวนอางอิงและสวนประกอบตอนทาย ประกอบดวย 1.3.1 บรรณานุกรม (Bibliography) เปนสวนแสดงรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร สิ่งพิมพ โสตทัศนวัสดุ หรือบุคคลที่ผูเขียนใชอางถึงในการวิจัย เพื่อใหวิทยานิพนธมีความ นาเชื่อถือทางวิชาการ และเปนประโยชนตอผูอานที่ประสงคจะคนควาเพิ่มเติมในเรืองนั้น ๆ ตอไป ่ บรรณานุกรมใหอยูตอจากสวนเนื้อเรื่องและกอนภาคผนวก การเขียนบรรณานุกรมจะตองถูกตอง ตามหลักเกณฑสากล 1.3.2 ภาคผนวก (Appendix) เปนสวนเพิมเติมเพื่อใหวทยานิพนธมีความสมบูรณยงขึ้น ่ ิ ิ่ หรือเปนสวนเสริมใหเกิดความเขาใจชัดเจนขึ้น ภาคผนวกเปนขอมูลที่ใชในการเขียนวิทยานิพนธ แตไมไดอางอิงโดยตรง ไดแก 1.3.2.1 แบบสอบถาม 1.3.2.2 แบบสัมภาษณ 1.3.2.3 ผลการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ ที่นอกเหนือจากที่ระบุไวในผลการวิจัย 1.3.2.4 การสรางเครื่องมือหรืออุปกรณทใชในการวิจย ี่ ั 1.3.2.5 ภาพประกอบตาง ๆ ฯลฯ 1.3.3 ประวัตผูเขียน (Biography) คือประวัติการศึกษาและการทํางานโดยยอของผูเขียน ิ วิทยานิพนธ มีความยาวไมเกิน 2 หนา จัดเรียงไวหนาสุดทายของวิทยานิพนธ
  • 10. บทที่ 2 การพิมพวิทยานิพนธ 2.1 หลักเกณฑทั่วไป 2.1.1 กระดาษที่ใชพิมพ ใหใชกระดาษสีขาวไมมีบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 ชนิด 80 แกรม ตองเปนกระดาษที่มี คุณภาพดี มีผิวเรียบ ไมเคลือบผิว ปราศจากรอยทะลุหรือฉีกขาด ริมกระดาษตองเรียบและไดฉาก กัน 2.1.2 การพิมพ ใหพิมพหนาเดียว โดยใชโปรแกรม เชน Microsoft Word for Windows และใชเครื่องพิมพ คุณภาพคมชัด หรือเครื่องพิมพเลเซอร หรือเครื่องพิมพแบบฉีดหมึก ไมใชวิธีพิมพแบบราง (Draft) ดวยเครื่องพิมพแบบจุด (Dot-Matrix Printer) 2.1.2.1 ตัวพิมพ และขนาดของตัวพิมพ (Font) การใชตัวพิมพใหใชตวอักษรสีดํา คมชัด และเปนแบบเดียวกันตลอดทังเลม ั ้ 1) วิทยานิพนธภาษาไทย ใหใชตวพิมพแบบใดแบบหนึง ดังนี้ Angsana, ั ่ Browallia, Cordia, Eucrosia หรือ Freesia โดยใชตวอักษรธรรมดา ขนาด 16 points สําหรับการ ั พิมพเนื้อหาทัวไป ่ 2) วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใหใชตวพิมพแบบ Courier หรือ Times New ั Roman ใชตัวอักษรธรรมดา ขนาด 12 points สําหรับการพิมพเนื้อหาทั่วไป 2.1.2.2 การเวนระยะการพิมพ ความกวางระหวางบรรทัดใหใชระบบ 1 บรรทัดพิมพ สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และใชระบบ 1.5 Space สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
  • 11. 5 2.1.3 การเวนที่วางริมขอบกระดาษ 2.1.3.1 หนาแรกของสวนประกอบตอนตน สวนเนื้อหา และสวนประกอบตอนทาย ไดแก หนาปก หนาอนุมติ หนากิตติกรรมประกาศ และหนาแรกของบทคัดยอ ั สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สัญลักษณและคํายอ หนาที่ขึ้นบทใหมของแตละบท บรรณานุกรม ภาคผนวก ดัชนี และประวัติผูเขียน เวนหางจากขอบบน 2 นิว ขอบซาย 1.5 นิ้ว ขอบ ้ ขวาและขอบลาง 1 นิ้ว 2.1.3.2 หนาที่ 2 ของสวนประกอบตอนตน สวนเนื้อหา และสวนประกอบตอนทาย ไดแก หนาที่ 2 เปนตนไป ของบทคัดยอ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สัญลักษณและคํายอ เนื้อหา บรรณานุกรม ภาคผนวก ดัชนี และประวัติผูเขียน เวนหางจากขอบบน 1.5 นิ้ว ขอบซาย 1.5 นิ้ว ขอบขวาและขอบลาง 1 นิ้ว 2.1.4 การพิมพเลขหนา หนาแรกของแตละสวน และบทที่ ไมตองพิมพเลขหนา พิมพเลขหนาตั้งแตหนาที่ 2 เปน ตนไปของหนาบทคัดยอ หนาสารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ หนาสัญลักษณและคํายอ หนา เนื้อหา หนาบรรณานุกรม หนาภาคผนวก หนาดัชนี และหนาประวัติผูเขียน โดยพิมพไวที่กลาง หนากระดาษหางจากขอบบน 1 นิ้ว และนับเลขหนาตอเนื่องกัน แบงเลขหนาเปน 2 สวน ดังนี้ 2.1.4.1 สวนประกอบตอนตน เริ่มนับหนาแรกที่หนาชื่อเรื่อง (Title Page) วิทยานิพนธภาษาไทย พิมพตัวเลข อารบิก ในเครื่องหมายวงเล็บ (1) (2) (3) . . . วิทยานิพนธภาษาอังกฤษ พิมพตัวเลขโรมันตัวเล็ก i ii iii . . . ตามลําดับ 2.1.4.2 สวนเนื้อเรื่อง สวนอางอิง และสวนประกอบตอนทาย เริ่มนับหนาแรกของบทที่ 1 เปนตนไป โดยพิมพเลขหนา 1 2 3 . . . ตามลําดับ ทั้ง วิทยานิพนธภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2.1.5 การสะกดคํา การสะกดคําภาษาไทยที่ใชในวิทยานิพนธ ใหใชพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับลาสุด เปนเกณฑ การสะกดคําภาษาตางประเทศเปนภาษาไทย ซึงไมปรากฏในพจนานุกรม ่ ฉบับราชบัณฑิตยสถานฉบับลาสุดใหตรวจสอบการสะกดคําในประกาศของราชบัณฑิตยสถาน หรือแหลงอางอิงซึ่งเปนที่ยอมรับและเชื่อถือได ในกรณีที่เปนชื่อชาวตางประเทศใหเขียนตาม ตนฉบับเดิม โดยไมตองเขียนแปลเปนภาษาไทย
  • 12. 6 การสะกดคําภาษาอังกฤษที่ใชในวิทยานิพนธ ใหใชพจนานุกรมของเว็บสเตอร ฉบับ Webster’s New Twentieth Century Dictionary of the English Language หรือ Webster’s Seventh New Collegiate Dictionary เปนเกณฑ กรณีที่คาบางคําสามารถสะกดไดอยางถูกตองมากกวา 1 ํ แบบ ใหเลือกใชแบบใดแบบหนึ่งและใหใชเปนแบบเดียวกันตลอดเลม สวนการสะกดคํา ภาษาตางประเทศภาษาอื่น ใหใชพจนานุกรมฉบับมาตรฐานในภาษานัน ๆ เปนเกณฑ ้ 2.1.6 การใชตวยอ ั โดยทั่วไปใหพยายามหลีกเลี่ยงการใชตวยอในเนื้อเรื่องและผลงานวิจยที่เกียวของ ยกเวน ั ั ่ บางกรณีอาจจะใชไดแตตองมีคําอธิบายกํากับ ในการเขียนครั้งแรกใหเขียนคําเต็ม และเขียนคํายอ ไวในวงเล็บ เขียนครั้งตอไปใชคํายอได กรณีตารางหรือรูปภาพ อาจใชตัวยอได เพื่อประหยัดพื้นที่ และควรมีคําอธิบายไวใตตารางและรูปภาพ หามใชตวยอในบทคัดยอเพราะอาจทําใหเขาใจผิด ั หรือไมเขาใจได 2.2 หลักเกณฑการพิมพสวนประกอบตาง ๆ 2.2.1 การพิมพสวนประกอบตอนตน 2.2.1.1 สันปก 1) ตัวอักษร ขนาดตัวอักษรใหมีสัดสวนเหมาะสมกับขนาดสันปก ถาสันปกมีความหนา ไมพอและชื่อวิทยานิพนธมความยาวมาก อนุโลมไมตองใส ชื่อ ชื่อสกุลผูเขียน ี 2) การเวนระยะการพิมพ ชื่อวิทยานิพนธ พิมพอักษรตัวแรกของชื่อวิทยานิพนธ หางจากขอบบน ของสันปกประมาณ 1.5 นิ้ว ชื่อ ชื่อสกุลผูเขียน ใสเฉพาะชื่อ และชื่อสกุล ถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทิน นาม สมณศักดิ์ ใหระบุไวดวย พิมพตอจากชื่อวิทยานิพนธตามแนวนอน  ปการศึกษาพิมพเฉพาะตัวเลข วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชปคริสตศักราช (ค.ศ.) วิทยานิพนธภาษาไทยใชปพุทธศักราช (พ.ศ.) โดยพิมพหางจากขอบลางประมาณ 1 นิว ้ 2.2.1.2 หนาปกนอก และหนาชื่อเรื่อง หนาปกนอก และหนาชื่อเรื่อง มีรายละเอียดการพิมพเหมือนกัน ดังนี้
  • 13. 7 1) ตัวอักษร วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points วิทยานิพนธ ภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 points 2) การพิมพ ชื่อวิทยานิพนธ พิมพไวกลางหนากระดาษหางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว ถาชื่อเรื่องมีความยาวเกิน 1 บรรทัด ใหพิมพเปนรูปสามเหลี่ยมหัวกลับ และไมควรเกิน 3 บรรทัด ชื่อ ชื่อสกุลผูเขียนวิทยานิพนธ พิมพเฉพาะชื่อและชื่อสกุล ไวกลาง หนากระดาษ หางจากขอบบนไมนอยกวา 4.5 นิ้ว ถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม สมณศักดิให ์ ระบุไวดวย สวนลาง ประกอบดวย รายละเอียดของชือปริญญา ชื่อคณะ ชื่อสถาบัน ่ ปการศึกษาพิมพเฉพาะตัวเลข วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชปคริสตศักราช (ค.ศ.) วิทยานิพนธ ภาษาไทยใชปพุทธศักราช (พ.ศ.) โดยพิมพหางจากขอบลางประมาณ 1 นิ้ว  2.2.1.3 หนาอนุมัติ 1) สวนรายละเอียดของวิทยานิพนธ พิมพชื่อวิทยานิพนธ ชื่อ ชือสกุลผูเขียน และชื่อคณะ เรียงตามลําดับ หาง ่ จากขอบบนประมาณ 2 นิว วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points วิทยานิพนธ ้ ภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 point 2) สวนขอความและคณะกรรมการ พิมพเสนกัน เวนหางจากสวนบน 2 บรรทัดพิมพ ้ พิมพขอความและสวนคณะกรรมการลงนามหางจากเสนกั้น 2 บรรทัดพิมพ วิทยานิพนธภาษาไทยใชตัวอักษร 16 points วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชตัวอักษร 12 points พิมพชื่อคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ โดยระบุตําแหนงทางวิชาการ ถา ไมมีตําแหนงทางวิชาการใหเวนวางไว พิมพเสนประสําหรับลงนาม ระบุตําแหนงของกรรมการ ตอทาย ใตเสนประใหวงเล็บ ชื่อ ชื่อสกุล ของกรรมการ พรอมระบุชื่อยอปริญญาที่แสดงวุฒิ การศึกษาสูงสุดไวหนาชื่อสําหรับภาษาไทย สวนภาษาอังกฤษใหระบุชอยอปริญญาที่แสดงวุฒิ ื่ การศึกษาสูงสุดไวหลังชื่อสกุล ถาไมมีชื่อยอปริญญาใหใสคํานําหนานาม (นาย นาง นางสาว Mr., Miss, Mrs.) ไวหนาชื่อกรรมการทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สําหรับคณะ/สํานัก ที่กําหนดใหคณบดีหรือผูอํานวยการสํานักลงนาม กํากับในหนาอนุมัติ ใหคณบดีหรือผูอํานวยการสํานักลงนามตามขอกําหนดของคณะ
  • 14. 8 2.2.1.4 หนาบทคัดยอ วิทยานิพนธภาษาไทย ตองมีบทคัดยอทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยจัดเรียง บทคัดยอภาษาไทยไวกอนภาษาอังกฤษ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษมีเฉพาะบทคัดยอภาษาอังกฤษ การเขียนบทคัดยอแตละภาษามีความยาวไมเกิน 2 หนา มีรายละเอียดการพิมพ ดังนี้ 1) หัวขอ วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา บทคัดยอ สําหรับบทคัดยอภาษาไทยและพิมพคําวา ABSTRACT สําหรับบทคัดยอ ภาษาอังกฤษ โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา ABSTRACT โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว 2) สวนรายละเอียดของวิทยานิพนธ เวนหางจากหัวขอ 2 บรรทัดพิมพ พิมพดวยอักษรตัวหนา (Bold) 16 points  เฉพาะคําวา ชือวิทยานิพนธ ชื่อผูเขียน ชื่อปริญญา ปการศึกษา Title of Thesis, Author, Degree, ่ Year สําหรับวิทยานิพนธปริญญาโท และพิมพคําวา Title of Dissertation, Author, Degree, Year สําหรับวิทยานิพนธปริญญาเอก สวนรายละเอียดของชื่อไมตองพิมพตัวหนา 3) สวนเนื้อหาบทคัดยอ พิมพเสนกัน เวนหางจากสวนรายละเอียดของวิทยานิพนธ 2 บรรทัดพิมพ ้ พิมพเนื้อหาของบทคัดยอ เวนหางจากเสนกั้น 2 บรรทัดพิมพ ใชตวอักษร ั ขนาด 16 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และ 12 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ 2.2.1.5 หนากิตติกรรมประกาศ การเขียนกิตติกรรมประกาศทั้งวิทยานิพนธภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีความยาว ไมเกิน 1 หนา มีรายละเอียดการพิมพ ดังนี้ 1) หัวขอ วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอกษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา ั ACKNOWLEDGEMENTS โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
  • 15. 9 2) สวนเนื้อหาของกิตติกรรมประกาศ เขียนดวยภาษาราชการ พิมพหางจากหัวขอ 2 บรรทัดพิมพ วิทยานิพนธ ภาษาไทยใชตวอักษร 16 points วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชตัวอักษร 12 points ั 3) สวนทายของกิตติกรรมประกาศ พิมพชื่อ ชื่อสกุลผูเขียน หางจากบรรทัดสุดทายของเนื้อหา 2 บรรทัดพิมพ ใหระบุเพียงชือ ชื่อสกุล หากมียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม สมณศักดิ์ใหระบุไวดวย บรรทัด ่  ตอมาพิมพเดือน ปที่เขียนกิตติกรรมประกาศ 2.2.1.6 หนาสารบัญ 1) หัวขอ วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา สารบัญ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา TABLE OF CONTENTS โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว เวนหางจากหัวขอบรรทัดแรก 2 บรรทัดพิมพ และหางจากขอบขวา ประมาณ 1 นิว พิมพคําวา หนา ดวยอักษรตัวหนา (Bold) 18 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย ้ และพิมพคําวา Page ดวยตัวหนา (Bold) 13 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ 2) สวนรายละเอียด พิมพเนื้อหาของสารบัญบรรทัดแรกหางคําวา หนา หรือ Page 2 บรรทัด พิมพ แสดงรายการสวนประกอบที่สําคัญของวิทยานิพนธ (ยกเวนหนาปกในและหนาอนุมัติ) เรียงลําดับตามหมายเลขของหัวขอใหญ หรืออาจลงรายการหัวขอรองลําดับถัดไปไดตามความ เหมาะสม พรอมทั้งระบุเลขหนา ตามที่ปรากฏในวิทยานิพนธ สารบัญที่ยาวมากกวา 1 หนา ใหขึ้นหนาใหมพิมพรายการแรกหางจากขอบ บนประมาณ 1.5 นิ้ว 2.2.1.7 หนาสารบัญตาราง 1) หัวขอ วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา สารบัญตาราง วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา LIST OF TABLES โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว เวนหางจากหัวขอบรรทัดแรก 2 บรรทัดพิมพ หางจากขอบซายประมาณ 1.5 นิ้ว พิมพคําวา ตารางที่ และหางจากขอบขวาประมาณ 1 นิ้ว พิมพคําวา หนา ดวยอักษรตัวหนา
  • 16. 10 (Bold) 18 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และพิมพคําวา Tables และ Page ดวยอักษร ตัวหนา (Bold) 13 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ 2) สวนรายละเอียด เวนหางจากบรรทัดบน 2 บรรทัดพิมพ ยอหนาประมาณ 0.5 นิ้ว พิมพ หมายเลขตาราง ชื่อตาราง และเลขหนาของตารางทั้งหมด เรียงลําดับกอนหลังตามทีปรากฏใน ่ วิทยานิพนธ สารบัญตารางที่ยาวมากกวา 1 หนา ใหขึ้นหนาใหมพิมพรายการแรกหาง จากขอบบนประมาณ 1.5 นิว ้ 2.2.1.8 หนาสารบัญภาพ 1) หัวขอ วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา สารบัญภาพ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา LIST OF FIGURES โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว เวนหางจากหัวขอบรรทัดแรก 2 บรรทัดพิมพ หางจากขอบซายประมาณ 1.5 นิ้ว พิมพคาวา ภาพที่ และหางจากขอบขวาประมาณ 1 นิว พิมพคําวา หนา ดวยอักษรตัวหนา ํ ้ (Bold) 18 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และพิมพคําวา Figures และ Page ดวยอักษร ตัวหนา (Bold) 13 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ 2) สวนรายละเอียด เวนหางจากบรรทัดบน 2 บรรทัดพิมพ ยอหนาประมาณ 0.5 นิ้ว พิมพ หมายเลขภาพ ชื่อภาพ และเลขหนาของของภาพ (รวมกราฟ แผนภูมิ แผนที่ ฯลฯ) เรียงลําดับ กอนหลังตามที่ปรากฏในวิทยานิพนธ สารบัญภาพที่ยาวมากกวา 1 หนา ใหขึ้นหนาใหมพิมพรายการแรกหางจาก ขอบบนประมาณ 1.5 นิว ้ 2.2.1.9 หนาคําอธิบายสัญลักษณและคํายอ 1) หัวขอ วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา SYMBOLS AND ABBREVIATIONS โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว
  • 17. 11 เวนหางจากหัวขอบรรทัดแรก 2 บรรทัดพิมพ หางจากขอบซายประมาณ 1.5 นิ้ว พิมพคาวา สัญลักษณ หรือ คํายอ และหางจากขอบขวาประมาณ 1 นิว พิมพคําวา หนา ํ ้ ดวยอักษรตัวหนา (Bold) 18 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และพิมพคําวา Symbols หรือ Abbreviations และ Page ดวยอักษรตัวหนา (Bold) 13 points สําหรับวิทยานิพนธ ภาษาอังกฤษ 2) สวนรายละเอียด เวนหางจากบรรทัดบน 2 บรรทัดพิมพ ยอหนาประมาณ 0.5 นิ้ว พิมพ สัญลักษณหรือคํายอ เรียงลําดับตามตัวอักษร ถามีสัญลักษณหรือคํายอมากกวา 1 หนา ใหขึ้นหนาใหมพิมพรายการแรก หางจากขอบบนประมาณ 1.5 นิ้ว 2.2.2 การพิมพบทที่ หัวขอในบท และสวนเนื้อเรื่อง 2.2.2.1 บทที่ และชื่อบท (Chapters and Name of Chapters) 1) บทที่ เมื่อขึ้นบทใหม ใหขึ้นหนาใหม โดยพิมพลําดับที่ดวยเลขอารบิก วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา บทที่ และวิทยานิพนธ ภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา CHAPTER ไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว 2) ชื่อบท พิมพกลางหนากระดาษหางจากคําวา บทที่ 2 บรรทัดพิมพ ชื่อบทที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ใหขนบรรทัดใหมโดยพิมพเรียงลงมาเปนลักษณะสามเหลี่ยมหัวกลับ ใชอักษรตัวหนา ึ้ (Bold) 20 Points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และใชตวอักษรตัวใหญทุกตัวอักษร ตัวหนา (Bold) ั 14 Points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ 2.2.2.2 หัวขอใหญ (Main Headings) หัวขอใหญในแตละบท หมายถึง หัวขอซึ่งมิใชเปนชื่อเรื่องประจําบท ใหพิมพชดิ ซายหางจากบรรทัดบน 2 บรรทัดพิมพ ใชอักษรตัวหนา (Bold) 18 Points สําหรับภาษาไทย และ อักษรตัวหนา (Bold) 13 Points สําหรับภาษาอังกฤษ โดยเลขที่ของหัวขอใหญใหขึ้นตนดวยเลขที่ ของบทแลวตามดวยลําดับหมายเลขของหัวขอ ดังนี้ 1.1 1.2 1.3 . . .
  • 18. 12 สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของทุก ๆ คําตองพิมพดวยอักษรตัว ใหญเสมอ ยกเวนคําบุพบท (Preposition) คําสันธาน (Conjunction) และคํานําหนานาม (Article) ไม ตองพิมพดวยอักษรตัวใหญ เวนแตคําบุพบท คําสันธาน และคํานําหนานามดังกลาวเปนคําแรกของ  หัวขอ 2.2.2.3 หัวขอรอง (Sub-headings) 1) หัวขอรองลําดับที่ 1 ใช อั ก ษรตั ว หนา (Bold) 16 points สํ า หรั บ ภาษาไทย และอั ก ษรตั ว หนา (Bold) 12 points สําหรับภาษาอังกฤษ พิมพหัวขอรองโดยเวน หา งจากหัว ขอ ใหญ 2 บรรทัด พิมพ ยอหนา 0.5 นิ้ว เลขที่ของหัวขอรองใหขึ้นดวยเลขที่ของบท แลวตามดวยเลขที่ของหัวขอใหญและ หมายเลขของหัวขอรองลําดับที่ 1 ตามลําดับ ดังนี้ 1.1.1 1.1.2 1.1.3 … 2) หัวขอรองลําดับที่ 2 ใชตัวอักษร 16 points สําหรับภาษาไทย และ 12 points สําหรับภาษาอังกฤษ พิมพตรงกับอักษรตัวแรกของหัวขอรองลําดับที่ 1 พิมพเลขที่ของบท ตามดวยเลขที่ของหัวขอใหญ หัวขอรองลําดับที่ 1 และหมายเลขของหัวขอรองลําดับที่ 2 ตามลําดับ ดังนี้ 1.1.1.1 1.1.1.2 1.1.1.3 ... 3) หัวขอรองลําดับที่ 3 ใชตัวอักษร 16 points สําหรับภาษาไทย และ 12 points สําหรับภาษาอังกฤษ พิมพตรงกับอักษรตัวแรกของหัวขอรองลําดับที่ 2 พิมพตัวเลข และตามดวยวงเล็บเดียว ดังนี้ 1) 2) ่ 3) ... 4) หัวขอรองลําดับที่ 4 ใชตัวอักษร 16 points สําหรับภาษาไทย และ 12 points สําหรับภาษาอังกฤษ พิมพตรงกับอักษรตัวแรกของหัวขอรองลําดับที่ 3 พิมพตัวเลขในวงเล็บคู ดังนี้ (1) (2) (3) … 2.2.2.4 ขอแนะนําสําหรับการพิมพบทและหัวขอในบท ในกรณีที่ขนหัวขอใหม แตมีบรรทัดเหลือที่จะพิมพบรรทัดเนื้อความเพียง 1 บรรทัด ึ้ ใหขนหัวขอใหมนนในหนาถัดไป ึ้ ั้ การพิมพบท ชื่อบท หัวขอในบท และ/หรือหัวขอรองลําดับที่ 1 ใหใชอักษรตัวหนา หามขีดเสนใต หามใชตวเอียง ั ถาเรื่องที่ตองการเขียนบางบท ไมสามารถจัดพิมพตามแบบแผนที่กําหนดไดครบอาจ ปรับไดตามความจําเปน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความเห็นของอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ หรือกรรมการ วิทยานิพนธ
  • 19. 13 2.2.2.5 การพิมพขอความทีคัดลอกมาโดยตรง (Direct Quotations) ่ 1) ขอความทีคัดลอกมาไมเกิน 3 บรรทัด ่ พิมพขอความในเนื้อหาวิทยานิพนธโดยไมตองขึ้นบรรทัดใหม แตใหใส ขอความในเครื่องหมายอัญประกาศ (Quotation Marks) “. . . ” กรณีที่ตองการใชเครื่องหมายอัญประกาศซอนในขอความที่อยูใน อัญประกาศคูอยูแลวใหเปลียนเปนเครื่องหมายอัญประกาศเดียว ‘. . . ’ ่ ่ 2) ขอความทีคัดลอกมาเกิน 3 บรรทัดพิมพ ่ พิมพขอความโดยขึ้นบรรทัดใหม เวนหางระหวางเนื้อหากับขอความที่ คัดลอกมาทั้งดานบนและดานลาง 2 บรรทัดพิมพ และเวนหางจากขอบซายและขอบขวา 0.5 นิ้ว ถาขอความที่คัดลอกมามีการยอหนาภายในขอความนั้นใหยอหนาเพิ่มอีก 0.5 นิ้ว 3) ขอความทีคัดลอกมาไมตอเนื่อง ่ ขอความที่คัดลอกมามีการเวนหรือตัดขอความมาบางสวนใหพิมพ เครื่องหมายจุด (Ellipsis Points) จํานวน 3 จุด โดยเวนระยะ 1 ชวงตัวอักษรระหวางจุด “. . .” แทนขอความที่ตัดหรือเวนไว กรณีท่ผูเขียนวิทยานิพนธตองการเพิ่มเติมความคิดเห็น หรือ ี ขอความของตนเองลงไป ใหทําเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] กํากับ เพื่อใหแตกตางจากขอความที่ คัดลอกมาโดยตรง 2.2.3 การพิมพตาราง และภาพประกอบ สวนประกอบของตาราง และภาพประกอบ ไดแก เลขที่ตารางหรือภาพ ชื่อตารางหรือ ชื่อภาพ ขอความในตาราง ภาพ แหลงที่มา หมายเหตุ การอางถึงตาราง และภาพประกอบใหเขียนเลขที่ตารางหรือภาพ เชน ตามตารางที่ ... ดังตารางที่ ... ตามตารางที่ ... ดังภาพที่ ... ไมควรเขียนวา ตามตารางขางบน ตามตารางขางลาง ตามตารางหนา ... ตามภาพขางบน ตามภาพขางลาง ตามภาพหนา ... 2.2.3.1 ตาราง (Tables) 1) การพิมพเลขที่ตาราง และชื่อตาราง เลขที่ตาราง ใหพิมพชิดซาย เหนือตาราง เลขที่ตารางใหใชเลขที่บทตามดวย ลําดับที่ของตาราง วิทยานิพนธภาษาไทย พิมพคําวา ตารางที่ เวน 1 ระยะตัวอักษร พิมพเลขที่ของ ตารางดวยอักษรตัวหนา (Bold) 16 points เชน ตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.3 วิทยานิพนธภาษาอังกฤษ
  • 20. 14 พิมพ คําวา Table เวน 1 ระยะตัวอักษร พิมพเลขที่ของตารางดวยอักษรตัวหนา (Bold) 12 points เชน Table 1.2 Table 1.3 ชื่อตาราง พิมพดวยตัวอักษรธรรมดา เวนหางจากเลขทีตาราง 2 ตัวอักษร ถา ่ เปนวิทยานิพนธภาษาอังกฤษใหพิมพอักษรตัวแรกตัวใหญทุกคํา ยกเวนคําบุพบท คําสันธาน และ คํานําหนานาม ถาชื่อตารางยาวมากกวา 1 บรรทัด ขึ้นบรรทัดใหมพิมพตรงกับอักษรตัวแรกของชือ ่ ตารางบรรทัดแรก 2) การพิมพขอความในตาราง  ขนาดความกวางของตาราง ไมควรเกินกรอบของหนาวิทยานิพนธ สําหรับ ตารางขนาดใหญ ใหพยายามลดขนาดของตารางลงโดยใชการถายยอสวน หรืออาจใชตัวพิมพขนาด เล็กลงไดตามความเหมาะสม สวนตารางที่กวางเกินกวาหนาของวิทยานิพนธก็อาจจัดพิมพตามแนว ขวางของหนาได ตารางควรพิมพอยูในหนาเดียวกัน ถาตารางสั้นมาก อาจพิมพอยูในเนือเรื่อง ้ ถาตารางที่มีความยาวเกิน 1 หนา ใหขึ้นหนาใหม โดยระบุเลขที่ตาราง และคําวา (ตอ) หรือ (Continued) ในเครื่องหมายวงเล็บ เชน ตารางที่ 1.1 (ตอ) หรือ Table 1.1 (Continued) 2.2.3.2 ภาพประกอบ (Figures) ภาพประกอบ ไดแก กราฟ แผนภูมิ แผนที่ ภาพเขียน ภาพถาย ภาพถายที่อางอิงมาจากที่อื่น ใหใชการถายสําเนา ถาเปนผลการวิจัย ใหใชภาพจริง ทั้งหมดและติดดวยกาวที่มีคณภาพดี ุ การพิมพใหพมพชิดซาย ใตภาพ หางจากภาพ 2 บรรทัดพิมพ เลขทีภาพใหใชเลขที่ ิ ่ บทตามดวยลําดับที่ของภาพ วิทยานิพนธภาษาไทยพิมพคําวา ภาพที่ เวน 1 ระยะตัวอักษร พิมพ เลขที่ภาพดวยอักษรตัวหนา (Bold) 16 points เชน ภาพที่ 3.5 วิทยานิพนธภาษาอังกฤษพิมพคําวา Figure เวน 1 ระยะตัวอักษร พิมพเลขที่ภาพ ดวยอักษรตัวหนา (Bold) 12 points เชน Figure 2.3 รายละเอียดของภาพ พิมพดวยตัวอักษรปกติ 2.2.3.3 แหลงที่มา (Source) การพิมพแหลงที่มาของตารางใหพิมพชดซาย ใตตาราง หางจากตาราง 2 บรรทัด ิ พิมพ การพิมพแหลงที่มาของภาพประกอบใหพมพชิดซาย ใตภาพ หางจากคําวา ภาพที่ ... ิ 1 บรรทัดพิมพ
  • 21. 15 วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 16 points พิมพคําวา แหลงที่มา: วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 12 points พิมพคําวา Source: และเวน 1 ระยะ ตัวอักษร จึงบอกแหลงที่มา การเขียน แหลงที่มา ใหเขียนในลักษณะเดียวกับการเขียนเอกสารอางอิง ถามีทั้ง แหลงที่มา และ หมายเหตุ ใหระบุ แหลงที่มา กอน หมายเหตุ 2.2.3.4 หมายเหตุ (Note) พิมพชิดซาย ใตภาพหรือใตตาราง หางจากตารางหรือภาพ 2 บรรทัดพิมพ ถามี แหลงที่มา ใหพิมพหาง 1 บรรทัดพิมพ วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 16 points พิมพคําวา หมายเหตุ: วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 12 points พิมพคําวา Note: และเวน 1 ระยะ ตัวอักษร จึงพิมพขอความดวยตัวอักษรปกติ 2.2.4 การพิมพบรรณานุกรม 2.2.4.1 หัวขอ ใหพิมพคําวา บรรณานุกรม หรือ BIBLIOGRAPHY โดยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาไทย และ 14 points สําหรับวิทยานิพนธภาษาอังกฤษ โดยพิมพไวกลางหนากระดาษหางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว 2.2.4.2 รายละเอียด ใหเริ่มพิมพรายการบรรณานุกรมรายการแรกหางจากหัวขอบรรณานุกรม 2 บรรทัด พิมพ จัดรูปแบบการพิมพชดซาย และใหพิมพขอความบรรทัดถัดไป โดยเวนระยะยอหนาเขาไป ิ 0.75 นิ้ว ตั้งแตหนาที่ 2 ของบรรณานุกรมไมตองพิมพคําวา บรรณานุกรม พิมพเลขหนา ตอเนื่องจากเนือเรื่อง เริ่มพิมพรายการแรกหางจากขอบบนประมาณ 1.5 นิ้ว ้ วิทยานิพนธภาษาไทยที่มีบรรณานุกรมภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใหพิมพ บรรณานุกรมภาษาไทยกอน แลวจึงพิมพบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ โดยพิมพตอเนื่องกันไปไมตอง เวนระยะหาง ไมตองมีหัวขอคั่น 2.2.4.3 การจัดเรียง บรรณานุกรมแตละภาษาใหเรียงลําดับตามอักษรชื่อผูแตง/ชื่อหนวยงาน สําหรับ บรรณานุกรมภาษาอังกฤษจัดเรียงตามอักษรชื่อสกุล
  • 22. 16 กรณีเปนชื่อหนวยงานที่ขึ้นตนวา A An The คําเหลานี้ไมใชในการจัดเรียง ใหเรียง ดวยคําถัดไป เชน The Institute of Accreditation ใหจดเรียงที่อักษร I = Institute ั ถาผูเขียนคนเดียวกันเขียนเอกสารหลายรายการ ปพิมพตางกัน ชื่อเอกสารตางกัน ให เรียงลําดับตามปที่พิมพ จากปเกาไปหาปใหม แลวจึงเรียงตามชื่อเอกสาร ถาผูเขียนคนเดียวกัน พิมพปเดียวกัน ใหเรียงตามชื่อเรื่อง และใสอักษร ก ข ค สําหรับภาษาไทย หรือ a, b, c สําหรับภาษาอังกฤษ กํากับตอจากป เชน 2543ก 2543ข บรรณานุกรมรายการเดียวกันใหพมพอยูในหนาเดียวกัน ถาพิมพไมหมดรายการให ิ  ยกไปพิมพหนาถัดไป กรณีที่มีบรรณานุกรมหลายรายการ มีผูแตงคนเดียวกัน หรือผูแตงมากกวา 1 คน เหมือนกัน ใหพิมพผูแตงซ้ําใหมทุกคน การพิมพรายการบรรณานุกรมแตละรายการ ใหพิมพหางจากเครื่องหมายมหัพภาค (.) 2 ตัวอักษร สวนการพิมพหลังเครื่องหมายอื่น ๆ เชน จุลภาค (,) อัฒภาค (;) มหัพภาคคู (:)ใหเวน 1 ตัวอักษร ชื่อหนังสือ ชื่อวารสาร ชื่อวิทยานิพนธ สารนิพนธ ภาคนิพนธ เอกสารที่ไมไดมีการ ตีพิมพเผยแพร เอกสารประเภทอัดสําเนา ถายเอกสารหรือจุลสาร ใหพิมพดวยอักษรตัวหนา (Bold) 2.2.5 การพิมพภาคผนวก 2.2.5.1 หนานํา พิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนไมนอยกวา 4.5 นิ้ว วิทยานิพนธ ภาษาไทยใชอกษรตัวหนา (Bold) 20 Points พิมพคําวา ภาคผนวก วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใช ั อักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา APPENDIX กรณีมีหนึ่งภาคผนวก และพิมพคําวา APPENDICES กรณีมีมากกวาหนึ่งภาคผนวก 2.2.5.2 สวนเนื้อหา ถามีหนึ่งภาคผนวก ใหพมพหนาแรกหางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว ิ ถามีมากกวาหนึ่งภาคผนวก ใหแบงเปน ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค… หรือ Appendix A Appendix B Appendix C… ตามลําดับ พิมพโดยขึ้นหนาใหมทกครั้งเมื่อขึ้นภาคผนวกใหม และพิมพเปนหนานําภาคผนวกยอยหรือไม ุ พิมพก็ได ถามีการอางอิงใหพิมพไวทหนานําภาคผนวกยอย หรือไวทายภาคผนวกก็ได ี่
  • 23. 17 2.2.6 การพิมพประวัตผูเขียน ิ การเขียนประวัติผูเขียนทั้งวิทยานิพนธภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีความยาวไมเกิน 2 หนา มีรายละเอียดการพิมพ ดังนี้ 2.2.6.1 หัวขอ วิทยานิพนธภาษาไทยใชอักษรตัวหนา (Bold) 20 points พิมพคําวา ประวัติ ผูเขียน วิทยานิพนธภาษาอังกฤษใชอักษรตัวหนา (Bold) 14 Points พิมพคําวา BIOGRAPHY โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบนประมาณ 2 นิ้ว 2.2.6.2 สวนรายละเอียด ชื่อ ชื่อสกุล (NAME) พรอมคํานําหนานาม ถามียศ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนาม สมณศักดิ์ หรือตําแหนงทางวิชาการ ใหใสไวดวย  ประวัติการศึกษา (ACADEMIC BACKGROUND) ใหระบุวฒิการศึกษา ุ สถานศึกษา ปที่สําเร็จการศึกษา เริ่มตั้งแตระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทาขึ้นไป ตําแหนงและสถานที่ทํางาน (POSITION AND OFFICE) (ถามี) ประสบการณทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการ รางวัลหรือทุนการศึกษา (EXPERIENCE) เฉพาะที่สําคัญ (ถามี)
  • 24. บทที่ 3 การเขียนเอกสารอางอิง การทําวิทยานิพนธ จะตองมีการระบุแหลงที่มาของขอมูลประเภทตาง ๆ เพื่อเปนการให เกียรติแกเจาของความคิดและถือเปนจรรยาบรรณของผูเขียนดวย นอกจากนี้ ยังเปนประโยชนใน การใหผูอานไดพิจารณาความถูกตอง ความนาเชื่อถือของวิทยานิพนธ และสามารถนําไปศึกษา คนควาเพิ่มเติมตอไป การทําวิทยานิพนธของสถาบันกําหนดใหใชการอางอิงระบบนาม ป (Author Year System) เปนการอางอิงโดยการแทรกเอกสารที่อางอิงไวในเนื้อเรื่องวิทยานิพนธ ดวยการระบุชื่อ ชื่อสกุล ของผูแตงและปที่พิมพ พรอมทั้งเลขหนาที่อางอิงในเอกสารนั้น โดยใหใสไวในวงเล็บแทรกอยู กับเนื้อหาวิทยานิพนธกอนหรือหลังขอความที่ตองการอางอิงเปนการอางอิงเพียงยอ ๆ สวนขอมูล อื่น ๆ ของเอกสารที่อางอิง เชน ชื่อเอกสาร สถานที่พิมพและสํานักพิมพจะตองมีปรากฏอยูใน บรรณานุกรมทายเลมของวิทยานิพนธดวย  3.1 หลักการเขียนรายการอางอิง 3.1.1 การเขียนชื่อ ชื่อสกุลผูแตง คนไทยเขียนชื่อ ชื่อสกุล สวนคนตางชาติเขียนเฉพาะชื่อ  สกุล ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) ปที่พิมพ เครื่องหมายมหัพภาคคู (:) เลขหนาที่อางอิง ทั้งนี้ ปที่พิมพ ใหใชป พ.ศ. สําหรับเอกสารภาษาไทย และป ค.ศ. สําหรับเอกสารภาษาอังกฤษ ดังนี้ รูปแบบ (ชื่อผูแตง,/ปที่พิมพ:/หนาที่อางอิง)  ตัวอยาง (เสาวนีย เหลืองขมิ้น, 2546: 13) (กฤช เพิ่มทันจิตต, 2545: บทคัดยอ) (วรเดช จันทรศร และไพโรจน ภัทรนรากุล, 2541: 52) (Garvey and Williamson, 2002: 13)
  • 25. 19 3.1.2 เอกสารอางอิงที่ไมปรากฏชื่อผูแตง 3.1.2.1 เอกสารออกในนามหนวยงานของรัฐ หรือภาคเอกชน หรือองคการระหวาง ประเทศ ใหระบุชื่อผูแตงเปนชื่อหนวยงาน และใหเขียนอางอิงหนวยงานระดับสูงกอน (ระดับกรม) แลวตามดวยหนวยงานระดับรองลงมาเพียงระดับเดียว ตัวอยาง (กรมราชทัณฑ, 2545: 20) (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร, 2545: 10) (บริษัทศูนยวจยกสิกรไทย จํากัด, 2546: 10) ิั (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ, 2546: 9) (United Nations (UN). Asian Development Institute, 1975: 3-5) 3.1.2.2 เอกสารที่อางอิงไมปรากฏชื่อผูแตง แตมีชื่อบรรณาธิการ ผูรวบรวม หรือผู วิจารณใหระบุชื่อเหลานี้แทน ตัวอยาง (เจิมศักดิ์ ปนทอง, บรรณาธิการ, 2547: 12) (เจตนา นาควัชระ, ผูวิจารณ, 2535: 5) (Hirono, ed., 2003: 51) (Wulf and Kokol, eds., 2004: 33-35) 3.1.2.3 เอกสารที่อางอิงไมปรากฏชื่อผูแตง ใหระบุชื่อเรื่องหรือชื่อเอกสารแทน ตัวอยาง (กรุงเทพธุรกิจ 2547, 12 และ 23 เมษายน: 2) (ฐานเศรษฐกิจ 2545, 23-26 มิถุนายน: 38) (สิ่งแวดลอมกับการพัฒนา, 2535: 9-12) (Sustainable Transport, 1996: 8) 3.1.3 การอางอิงเอกสารหลายเรื่องพรอม ๆ กัน ใหเขียนอางอิงตามลําดับปที่พิมพจากปเกา ไปหาปใหม โดยใชเครื่องหมายอัฒภาค (;) คั่นระหวางรายการ ตัวอยาง (อัจฉรา จันทรฉาย, 2546: 18; วีรเดช เชื้อนาม, 2547: 16) (Bosman, 1970: 2; Cherlin, 1988: 3-9; Hellrieqel, 2004: 17) 3.1.4 การอางอิงเอกสารที่ไมปรากฏปที่พิมพ ใหระบุคําวา “ม.ป.ป.” หรือ “n.d.” แทนปทพิมพ ี่ ตัวอยาง (เดชา แกวชาญศิลป, ม.ป.ป.: 19) (ศรีสมบูรณ อังคสิงห, ม.ป.ป.: 9) (Ministry of Education. Office of the Higher Education Commission, n.d.: 7)
  • 26. 20 3.2 วิธีการเขียนนามผูแตง 3.2.1 กรณีผูแตงเปนคนธรรมดา ไมตองใสคํานําหนาชือ ถาเปนคนไทยใหใสชื่อ และชื่อ ่ สกุล ถาเปนคนตางชาติใหใสเฉพาะชื่อสกุลเทานั้น ตัวอยาง (สิปปนนท เกตุทัต, 2541: 30) (อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา, 2540: 10) (Purachai Piumsombun, 1985: 50) (Suchitra Punyaratabandhu, 1992: 10) (Porter, 2000: 65) (Wadsworth, 2001: 5) 3.2.2 กรณีผูแตงมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ ใหใสฐานันดรศักดิ์ หรือบรรดาศักดิ์ ไวขาง ทาย โดยนําหนาดวยเครื่องหมาย “,” ตัวอยาง (เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ, 2546: 22) (เสนีย ปราโมช, ม.ร.ว., 2515: 7) (ประดิษฐมนูธรรม, หลวง, 2542: 8-17) (พระเสด็จสุเรนทราธิบดี, เจาพระยา, 2541: 14) 3.2.3 กรณีผูแตงมียศ ตําแหนง ไมตองใสยศทางทหาร ตํารวจ หรือตําแหนงทางวิชาการ หรือคําเรียกทางวิชาชีพนัน เชน นายแพทย ทันตแพทย ้ ตัวอยาง (เจิมศักดิ์ ปนทอง, 2547: 19) (ทักษิณ ชินวัตร, 2545: 9) (ประเวศ วะสี , 2547: 21) (เสรี เตมียเวส, 2539: 79) 3.2.4 หนังสือแปล ใหลงชื่อผูแตงเดิม ถาไมทราบชื่อผูแตง จึงระบุชื่อผูแปล ตัวอยาง (เกิรสตเนอร, 2547: 90) (Shimomura, tr., 2003: 65-66) (กอปรเชษฐ ตยัคคานนท, ผูแปล, 2547: 20)
  • 27. 21 3.3 วิธีการอางอิงโดยผูแตง 3.3.1 ผูแตงคนเดียว 3.3.1.1 ระบุชื่อผูแตงแลววงเล็บปที่พิมพและเลขหนาไวกอนขอความที่อางอิง ตัวอยาง การอางอิงเอกสารสิ่งพิมพ กวี วงศพุฒ (2539: 107) คุณลักษณะของความเปนผูนํา คือ ลักษณะอันมีคุณคาอยางยิ่งซึ่ง นับเปนปจจัยสําคัญในการปฏิบัติหนาที่ เพื่อใหผูใตบังคับบัญชาเกิดความเชื่อถือ เชื่อมั่น เชื่อฟง และใหความรวมมืออยางจริงใจ ตัวอยาง การอางอิงเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่ไมระบุเลขหนา Blue (1996: ยอหนาที่ 11) ใหขอคิดวา การเรียนเพื่อใหรเู รื่องใดเรื่องหนึ่งอยางแทจริงตองใชเวลา ตลอดภาคการศึกษานัน การอานหนังสือกอนสอบเพียงไมกี่ชั่วโมงจะไมกอใหเกิดความรูอยาง ้ แทจริง 3.3.1.2 ระบุชื่อผูแตง ปที่พิมพ เลขหนาไวในวงเล็บทายขอความที่อางอิง ตัวอยาง การอางอิงเอกสารสิ่งพิมพ “ผลประโยชนของประชาชนนั้นนับเปนสิ่งที่รัฐบาลจะตองกอใหเกิดขึ้น สําหรับผลที่จะเกิดขึ้น ตอรัฐบาลเองนั้น จะตองมีความสําคัญนอยกวาเสมอ” (ไพศาล ชัยมงคล, 2517: 15-16) . . . . . .In economic terms the state is part of problem , not the solution. . .(Green, 1995: 245) ตัวอยาง การอางเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่ไมระบุเลขหนา เนื่องจากการเรียนเพื่อใหรูเรืองใดเรื่องหนึงอยางแทจริงตองใชเวลาตลอดภาคการศึกษานั้น การอาน ่ ่ หนังสือกอนสอบเพียงไมกี่ชวโมงจะไมกอใหเกิดความรูอยางแทจริง (Blue, 1996: ยอหนาที่ 11) ั่  3.3.1.3 ผูแตงคนเดียวเขียนเอกสารหลายเลม พิมพปตางกัน แตตองการอางถึง พรอม ๆ กัน ใหเรียงลําดับปที่พิมพ ตัวอยาง (สมพงษ เฟองอารมย, 2531: 7, 2545: 39) (Kotler, 2003: 40, 2004: 19) ตัวอยาง การบริการขาวสารเชิงกลยุทธ เปนวิธีการประชาสัมพันธที่คอนขางใหม และยังไมคอยใชกนอยาง ั แพรหลายนัก กลาวคือเปนการบริหารขาวสารที่เกี่ยวของกับองคการหรือสินคาอยางเปนระบบ มี การวางแผนลวงหนา เพื่อใหเกิดประโยชนกับองคการมากที่สุด (เสรี วงษมณฑา, 2540: 94, 2542: 175)